ข้าวหนัก | น. กลุ่มพันธุ์ข้าวที่ได้ผลช้ากว่ากลุ่มพันธุ์ข้าวอื่น ออกรวงประมาณเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนธันวาคม และเก็บเกี่ยวได้ในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคม เช่น พันธุ์ข้าวขาวตาแห้ง ๑๗ พันธุ์ข้าวพวงนาก ๑๖. |
ล่า | มาช้ากว่าปรกติ เช่น ฝนล่า ทุเรียนล่า. |
ล่า | ว. ช้ากว่าเวลาที่กำหนด เช่น มาล่า |
สามชั้น | จังหวะของดนตรีไทยที่มีระดับช้า คือช้ากว่าสองชั้นเท่าตัว หรือช้ากว่าชั้นเดียว ๔ เท่า เรียกเต็มว่า อัตราสามชั้น, ชื่ออัตราจังหวะหน้าทับและทำนองเพลงประเภทหนึ่ง มีความยาวเป็น ๒ เท่า ของอัตราสองชั้น. |
สาย ๑ | ว. ช้ากว่าเวลาที่กำหนด, ล่าช้า, เช่น มาทำงานสาย, โดยปริยายหมายความว่า พ้นเวลาที่จะแก้ไข, สุดที่จะแก้ไขได้ เช่น เรื่องนี้ทำอะไรไม่ได้ สายเกินไปเสียแล้ว. |
หนัก | ที่ให้ผลช้ากว่าปรกติ เช่น ทุเรียนหนัก ข้าวหนัก. |
Styrene-butadiene rubber | ยางเอสบีอาร์เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งผลิตโดยการเตรียมโคพอลิ เมอร์ระหว่างสไตรีนและบิวทาไดอีนด้วยวิธีพอลิเมอไรเซชั่นแบบอิมัลชัน (Emulsion polymerization) มีชื่อเรียกว่า Buna-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1) และ GR-S (สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2) เป็นยางที่ใช้ในงานทั่วไป ราคาไม่แพง มีหลายเกรดขึ้นกับกระบวนการสังเคราะห์ ยางเอสบีอาร์เมื่อเปรียบเทียบกับยางธรรมชาติจะมีคุณภาพสม่ำเสมอกว่า มีสิ่งเจือปนน้อยกว่า และที่สำคัญคือ ไม่ต้องบดยางให้นิ่มก่อนทำการผสมเคมียางเนื่องจากยางชนิดนี้ถูกสังเคราะห์มา ให้มีน้ำหนักโมเลกุลที่ไม่สูงมากนัก จึงมีความหนืดที่เหมาะสมทำให้สารเคมีกระจายตัวได้ดี ไหลได้ง่ายในระหว่างการขึ้นรูป มีแนวโน้มที่จะเกิดยางตายในระหว่างกระบวนการผลิตน้อยกว่า มีอัตราเร็วในการคงรูปช้ากว่าและถูกออกซิไดซ์ได้ช้ากว่ายางธรรมชาติ ทำให้สามารถผสมยางในเครื่องผสมระบบปิดที่อุณหภูมิสูงกว่าได้ แม้ว่ายางเอสบีอาร์จะมีค่าความทนต่อแรงดึงและความทนต่อการฉีกขาดต่ำกว่ายาง ธรรมชาติ เนื่องจากไม่สามารถเกิดการตกผลึกได้เมื่อถูกยืด แต่ถ้ามีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงลงไปก็สามารถทำให้ค่าดังกล่าวสูงใกล้ เคียงหรือต่ำกว่ายางธรรมชาติเพียงเล็กน้อย สามารถนำไปใช้งานได้หลากหลาย เช่น การผลิตสายพาน พื้นรองเท้า ฉนวนหุ้มสายไฟ และส่วนมากจะถูกนำไปใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยางล้อยานพาหนะขนาดเล็กโดยใช้ผสมกับ ยางชนิดอื่นๆ เช่น ยางธรรมชาติ ยางบิวทาไดอีน [เทคโนโลยียาง] |
Awakening, Early Morning | ตื่นเช้ากว่าธรรมดา [การแพทย์] |
Bone Age, Delayed | อายุกระดูกช้ากว่าปกติ [การแพทย์] |
cretinism | เครทินิซึม, โรคที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนไทรอกซินในวัยเด็ก มีผลทำให้ร่างกายและสติปัญญาเจริญช้ากว่าเด็กปกติ เช่น มีรูปร่างเตี้ยแคระและถ้าเป็นมากจะทำให้ปัญญาอ่อนด้วย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Insomnia, Terminal | นอนหลับตื่นเช้ากว่าปกติ, นอนไม่หลับตอนปลาย, ตื่นเช้ากว่าธรรมดา [การแพทย์] |
Intrauterine Growth Retard | ทารกเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ [การแพทย์] |
Lid Lag | เปลือกตาปิดลงช้ากว่าลูกตาเวลามองลง, การดึงของหนังตาบน, มองตามจากข้างบนลงมาช้าๆ [การแพทย์] |
at the latest | (idm) ไม่ช้ากว่า |
behind | (prep) ล้าหลังกว่า, See also: ช้ากว่า, ตามหลัง |
beyond | (prep) ช้ากว่า (แสดงถึงเวลา), See also: หลัง |
be after | (phrv) ช้ากว่า, See also: หลังจาก |
be past | (phrv) มากกว่า, See also: ช้ากว่า, Syn. get past |
canter | (n) การวิ่ง (เร็วกว่าการวิ่งเหยาะและช้ากว่าการควบวิ่ง) |
canter | (vt) วิ่ง (เร็วกว่าการวิ่งเหยาะและช้ากว่าการควบวิ่ง) |
canter | (vi) วิ่ง (เร็วกว่าการวิ่งเหยาะและช้ากว่าการควบวิ่ง), Syn. jog, trot |
get behind | (phrv) ทำ / จ่ายช้ากว่ากำหนด (เงินหรือเวลา), See also: จ่ายช้ากว่ากำหนด เงินหรือเวลา, Syn. be behind, drop behind |
get past | (phrv) ช้ากว่า (เวลา), Syn. be past |
go-slow | (n) การประท้วงโดยทำงานล่าช้ากว่าปกติของคนงาน |
in arrears | (idm) เกินกำหนด, See also: สาย, ช้ากว่ากำหนด |
keep behind | (phrv) ทำให้อยู่ล้าหลัง, See also: ทำให้ล่าช้ากว่า, Syn. keep in |
keep off | (phrv) ล่าช้า, See also: มาช้ากว่ากำหนด, Syn. hang up, hold back |
lag behind | (phrv) ล้าหลัง, See also: ล่าช้า, อยู่ด้านหลัง, ช้ากว่า, Syn. be benind, drag behind, drop back, drop behind, fall back, fall behind, get behind |
late | (adj) สาย, See also: ล่าช้า, ช้ากว่าปกติ, Syn. tard, behindhand, overdue, Ant. early |
postdate | (vt) ลงวันที่ช้ากว่าวันจริง, Syn. overdate, date after |
slow | (adj) ช้ากว่าเวลาจริง, See also: ล่าช้า, Syn. time-lapse |
slow | (adv) ช้ากว่าเวลาจริง |
subsonic | (adj) ซึ่งช้ากว่าความเร็วเสียง |
tardily | (adv) ช้ากว่ากำหนด, Syn. late |
tardy | (adj) สาย, See also: ช้า, ล่าช้า, ช้ากว่ากำหนด, Syn. late, slow, Ant. prompt, punctual |
behind | (บิไฮดฺ') adv., prep. ข้างหลัง, หลัง, ล้าหลังกว่า, ช้ากว่า n. ผู้สนับสนุน, ก้น, Syn. aback -Conf. at the back of |
ccd memory | หน่วยความจำแบบซีซีดีย่อมาจาก charge coupled device memory (หน่วยความจำแบบอุปกรณ์ถ่ายเทประจุ) หมาย ถึงหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ที่ทำจากซิลิคอนชิป (silicon chip) ซึ่งสามารถเปลี่ยนสนามแม่เหล็กไฟฟ้าไปเป็นประจุไฟฟ้า และสามารถบันทึกข้อมูลลงในจานแม่เหล็ก (disk) ได้ เหมาะสำหรับงานที่เรียกใช้ข้อมูลในหน่วยความจำตามลำดับ (sequential) หน่วยความจำชนิดนี้ทำงานช้ากว่าแรม (RAM) แต่เร็วกว่าแบบแม่เหล็ก |
direct access | การเข้าถึงโดยตรงหมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากดู indirect access เทียบ |
drum | (ดรัม) { drummed, drumming, drums } n. กลอง, เสียงกลอง, เยื่อแก้วหู vt., vi. ตีกลอง, เคาะจังหวะ. ดรัม <คำอ่าน>หมายถึงสื่อเก็บข้อมูลชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นวัสดุรูปทรงกระบอกที่หมุนรอบแกนด้วยความเร็ว ที่ผิวนอกฉาบด้วยสารแม่เหล็ก การบันทึกข้อความลงเก็บ จะต้องบันทึกลงบนผิวดรัม ผ่านหัวบันทึก (write head) และอ่านข้อความออกโดยหัวอ่าน (read head) จึงเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูล (input) และหน่วยแสดงผล (output) มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล สูงกว่าเทปแม่เหล็ก (magnetic tape) แต่ยังช้ากว่าจานแม่เหล็ก (magnetic disk) โดยปกติจะต้องเรียกเต็ม ๆ ว่า magnetic drum |
finder | (ไฟ'เดอะ) n. ผู้ค้นหา, สิ่งที่ใช้ค้นหา, กล้องโทรทรรศน์, กล้องส่องทางไกล, กล้องดูภาพ, เครื่องวัด, เครื่องตรวจสอบ ตัวหาเป็นชื่อโปรแกรมที่อยู่ในระบบปฏิบัติการของเครื่องแมคอินทอช (ดูใน System Folder) ที่ทำหน้าที่จัดการ ในเรื่องสัญรูป (icon) การแสดงรายการต่าง ๆ ตลอดถึงการแสดงวินโดว์ การคัดลอก การย้าย และการลบแฟ้มข้อมูล หากไม่มี โปรแกรมนี้ การทำงานจะช้ากว่านี้ มาก เครื่องแมคอินทอช รุ่นใหม่ ๆ จะแสดงเป็นเมนูดัง ที่เห็นในภาพข้าง ๆ |
immediate access | หมายถึง การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้เวลาในการค้นหาข้อมูลได้เร็วเท่ากันหมด ไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่เก็บ หมายความว่า ไม่ว่าข้อมูลจะเก็บอยู่ที่ส่วนใดของสื่อที่ใช้บันทึก หัวอ่าน (read head) ก็จะเจาะตรงลงไปอ่านได้เลย เช่น การอ่านข้อมูลจากจานบันทึก ซึ่งผิดกับการอ่านข้อมูลจากแถบบันทึก (tape) ที่ต้องอ่านเรียงไปตามลำดับตั้งแต่ต้นเทปไปจนกว่าจะถึงข้อมูลที่ต้องการทุกครั้ง ทำให้ช้ากว่ากันมากมีความหมายเหมือน direct access |
magnetic drum | ดรัมแม่เหล็กหมายถึง วัสดุรูปทรงกระบอกที่หมุนรอบแกนด้วยความเร็ว ที่ผิวนอก ฉาบด้วยสารแม่เหล็ก ในการบันทึกข้อมูลลงบนพื้นผิวของดรัม จะบันทึกผ่านหัวบันทึก (write head) และอ่านข้อความออกโดยหัวอ่าน (read head) ดรัมจึงเป็นได้ทั้งหน่วยรับข้อมูล (input) และหน่วยแสดงผล (output) มีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลน้อยกว่าแถบบันทึก (tape) แต่ยังช้ากว่าจานบันทึก (disk) |
postdate | (โพสทฺเดท') vt. ลงวันที่ช้ากว่าวันจริง n. วันที่ที่ลงช้ากว่าความจริง |
print buffer | บัฟเฟอร์เครื่องพิมพ์หมายถึง ส่วนหนึ่งของหน่วยความจำที่ถูกกันไว้ให้มีหน้าที่เก็บผลที่จะพิมพ์ ออกไว้ชั่วคราว ทั้งนี้เป็นเพราะเครื่องพิมพ์ทำงานช้ากว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อคอมพิวเตอร์ประมวลผลเสร็จแล้ว ก็จะส่งผลมารอเก็บไว้ที่นี่ก่อน แล้วเครื่องพิมพ์ก็จะค่อย ๆ ทยอยพิมพ์ออกไป |
serial port | ช่องอนุกรมหมายถึง ช่องที่อยู่ด้านหลังของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่มีไว้สำหรับเสียบสายไฟ ต่อไปยังอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เมาส์ การถ่ายโอนข้อมูลผ่านทางช่องนี้ จะช้ากว่าผ่านทางช่องขนาน (pararell port) มาก เพราะจะสามารถส่งถ่ายข้อมูลได้ครั้งละ 1 บิตเท่านั้น ดู pararell port เปรียบเทียบ |
underdevelop | (อัน'เดอะดิเวล'เลิพ) vt. พัฒนาช้ากว่าหรือน้อยกว่าที่ควร, ด้อยพัฒนา., See also: underdevelopment n. |