พัฒนา | (v) develop, Syn. ปรับปรุง, เจริญ, ปฏิรูป, Example: ที่อยู่อาศัยของมนุษย์พัฒนาขึ้นเรื่อยๆ จากกระท่อมใบไม้ใบหญ้าก็กลายเป็นบ้านเรือนที่สวยงาม, Thai Definition: ทำให้เจริญขึ้น, ทำให้ดีขึ้น |
พัฒนากร | (n) developer, Example: เขาเริ่มการทำงานในตำแหน่งพัฒนากร แล้วจึงไต่เต้าขึ้นมาเป็นหัวหน้าแผนงานและโครงการของจังหวัด, Thai Definition: ผู้ทำความเจริญ, ผู้ทำการพัฒนา |
การพัฒนา | (n) development, See also: progress, Example: ทุกวันนี้ดิสเกตต์ได้รับการพัฒนาให้มีขนาดเล็กลง ในขณะที่ความจุข้อมูลกลับเพิ่มขึ้น, Thai Definition: การทำให้ดีขึ้น, การทำให้เจริญ |
ผู้พัฒนา | (n) developer, Example: งานคอมพิวเตอร์ที่มีขีดความสามารถมากถึงระดับนี้ มีผู้พัฒนาขึ้นมาใช้กันนานพอสมควรแล้ว, Count Unit: คน, Thai Definition: คนที่ทำให้เจริญขึ้น |
พัฒนาการ | (n) development, See also: growth, progress, Syn. ความเจริญ, ความก้าวหน้า, Example: ระบบการเมืองที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเป็นตัวฉุดพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ, Thai Definition: การทำความเจริญ, การเปลี่ยนแปลงในทางเจริญขึ้น, การคลี่คลายไปในทางดี |
ด้อยพัฒนา | (v) underdeveloped, Syn. ด้อยความเจริญ, ล้าหลัง, Ant. เจริญ, พัฒนา, Example: นคอร์รัปชั่นเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างยิ่งในประเทศที่พัฒนาแล้วกำลังพัฒนาและด้อยพัฒนา |
การพัฒนาภาษา | (n) language development, Syn. การพัฒนาทางด้านภาษา |
ค่ายอาสาพัฒนา | (n) volunteer for rural development camp, Example: ปีนี้นักศึกษาไปออกค่ายอาสาพัฒนาที่พะเยา, Count Unit: ค่าย, Thai Definition: ค่ายเยาวชนที่จัดตั้งขึ้นโดยมีความมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมหรือฝึกฝนให้เยาวชนได้ร่วมใจกันบำเพ็ญประโยชน์ต่างๆ ให้แก่ชุมชน |
วิจัยและพัฒนา | (n) research and development, See also: R&D |
กรมพัฒนาที่ดิน | (n) Land Development Department, Example: กรมพัฒนาที่ดินได้มีเป้าหมายดำเนินการศึกษาความเหมาะสมของดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจ |
ประเทศด้อยพัฒนา | (n) underdeveloped country, Syn. ประเทศล้าหลัง, Example: ประเทศลาวเป็นประเทศด้อยพัฒนา, Count Unit: ประเทศ |
ประเทศพัฒนาแล้ว | (n) developed country, Example: ความเป็นอยู่ของประชากรในประเทศพัฒนาแล้วอยู่ในระดับดี |
กรมการพัฒนาชุมชน | (n) Community Development Department, See also: Department of Community Development, Example: กรมการพัฒนาชุมชนมีหน้าที่สำคัญคือพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนชนบท, Count Unit: กรม |
ประเทศกำลังพัฒนา | (n) developing country, Example: ประเทศไทยเป็นประเทศกำลังพัฒนา |
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน | (n) Department of Skill Development, Example: กรมพัฒนาฝีมือแรงงานผลิตสินค้าที่มีคุณภาพออกจำหน่ายแก่ประชาชนทั่วไป |
การวิจัยและการพัฒนา | (n) research and development, Example: สินค้าได้ผ่านการวิจัยและการพัฒนาและเตรียมออกวางตลาดในเร็วๆ นี้ |
สำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท | (n) the Office of Accelerated Rural Development, See also: ARD, Syn. รพช., Example: สำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบทได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายปี พ.ศ. 2545 เป็นจำนวนเงิน 12, 077, 148, 700 บาท |
กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน | (n) Department of Energy Development and Promotion |
มูลนิธิกองทุนการศึกษาเพื่อการพัฒนา | (n) The Education for Development Foundation, See also: EDF, Example: มูลนิธิกองทุนการศึกษาเพื่อการพัฒนาได้มีการจัดการประชุมสรุปผลการทำงานประจำปีขึ้น ที่สวนเพชรรีสอร์ท จังหวัดเพชรบุรี, Thai Definition: องค์กรอาสาสมัครที่ไม่แสวงหาผลกำไร ให้ทุนการศึกษาเพื่อช่วยเหลือเยาวชนที่ต้องการเรียนต่อในชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แต่ครอบครัวไม่สามารถจะสนับสนุนให้เรียนต่อได้ อันเนื่องมาจากความยากจน |
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ | (n) Office of the National Economic and Social Development Board |
กังหันน้ำชัยพัฒนา | น. ชื่อเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอยแบบหนึ่ง เป็นอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียชนิดหนึ่ง มีลักษณะการทำงานคล้ายกังหันวิดน้ำขึ้นเหนือผิวน้ำเพื่อเติมอากาศหรือออกซิเจนในแหล่งน้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาและประดิษฐ์อุปกรณ์เติมอากาศขึ้นแล้วทรงมอบหมายมูลนิธิชัยพัฒนา ศึกษาวิจัยเพื่อทำต้นแบบพร้อมสนับสนุนงบประมาณให้กรมชลประทานสร้าง นำไปใช้งานตามแหล่งน้ำเสียทั่วประเทศ กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่ ๓๑๒๗ และองค์กรนักประดิษฐ์โลกจากประเทศเบลเยียมได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลในฐานะที่ทรงสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม. |
การจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ | น. การดำเนินการพัฒนาที่ดินหลายแปลงโดยการวางผังจัดรูปที่ดินใหม่ ปรับปรุงหรือจัดสร้างโครงสร้างพื้นฐาน และการร่วมรับภาระและกระจายผลตอบแทนอย่างเป็นธรรม ทั้งนี้ โดยความร่วมมือระหว่างเอกชนกับเอกชนหรือเอกชนกับรัฐ เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ในที่ดินที่เหมาะสมยิ่งขึ้นในด้านต่าง ๆ. |
ค่ายอาสาพัฒนา | น. ค่ายเยาวชนที่จัดตั้งขึ้นโดยมีความมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมหรือฝึกฝนให้เยาวชนได้ร่วมมือร่วมใจกันบำเพ็ญประโยชน์ต่าง ๆ ให้แก่ชุมชน. |
โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานที่ดินและพระราชทรัพย์สำหรับจัดทำแปลงเกษตรผสมผสาน สนับสนุนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อทดลองค้นคว้าหารูปแบบการประกอบอาชีพของชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และเป็นสถานที่ฝึกอบรมการเกษตรภาคปฏิบัติให้นักศึกษาและประชาชนที่สนใจนำไปประยุกต์ใช้ เช่น โครงการพัฒนาส่วนพระองค์เขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ชุมพร อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร. |
พัฒนา | (พัดทะ-) ก. ทำให้เจริญ. |
พัฒนากร | น. ผู้ทำความเจริญ, ผู้ทำการพัฒนา. |
พัฒนาการ | น. การทำความเจริญ, การเปลี่ยนแปลงในทางเจริญขึ้น, การคลี่คลายไปในทางดี. |
พัฒนา | ดู พัฒน-, พัฒนะ. |
พัฒนากร | ดู พัฒน-, พัฒนะ. |
พัฒนาการ | ดู พัฒน-, พัฒนะ. |
กองทุนฟื้นฟู | น. กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินตามกฎหมายว่าด้วยธนาคารแห่งประเทศไทย. |
การจัดรูปที่ดิน | น. การดำเนินงานพัฒนาที่ดินที่ใช้เพื่อเกษตรกรรมให้สมบูรณ์ทั่วถึงที่ดินทุกแปลงเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต โดยทำการรวบรวมที่ดินหลายแปลงในบริเวณเดียวกัน เพื่อวางผังจัดรูปที่ดินเสียใหม่และสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกและพัฒนาที่ดินนั้น. |
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม | น. การปรับปรุงเกี่ยวกับสิทธิ และการถือครองในที่ดินเพื่อเกษตรกรรม รวมตลอดถึงการจัดที่อยู่อาศัยในที่ดินเพื่อเกษตรกรรมนั้น โดยรัฐนำที่ดินของรัฐ หรือที่ดินที่รัฐจัดซื้อหรือเวนคืนมาจัดให้แก่เกษตรกรผู้ยากจน โดยรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม. |
เกษตรและสหกรณ์ | น. ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการเกษตร การเศรษฐกิจการเกษตร การปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร การชลประทาน การประมง การปศุสัตว์ การป่าไม้ การพัฒนาที่ดิน และการสหกรณ์. |
เกี่ยวเนื่อง | ก. เกี่ยวพันติดต่อกัน เช่น โครงการนี้เกี่ยวเนื่องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. |
ขุนพัฒน์ | น. บุคคลที่ได้รับอนุญาตผูกขาดอากรการพนัน เพื่อส่งรายได้ให้แก่รัฐ, มาจากทินนามที่มีคำขึ้นต้นว่า พัฒน เช่น ขุนพัฒนสมบัติ ขุนพัฒนาภิรมย์. |
คณะกรมการจังหวัด | น. คณะบุคคลซึ่งทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัดนั้น และให้ความเห็นชอบในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด กับปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือมติของคณะรัฐมนตรีกำหนด. |
คหกรรมศาสตร์ | (คะหะกำมะสาด) น. วิชาที่เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ โดยมุ่งพัฒนาครอบครัวด้วยการจัดการทรัพยากรบุคคล วัสดุและสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาอาชีพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความมั่นคงของสถาบันครอบครัวและสังคม. |
โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานข้อเสนอและแนวทางให้หน่วยงานเอกชนรับไปดำเนินงานและติดตามผลอย่างต่อเนื่อง เช่น โครงการพัฒนาหมู่บ้านสหกรณ์เนินดินแดง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. |
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแนวทางแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับพระราชดำริไปพิจารณาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการร่วมกันดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน หรือบรรเทาปัญหาต่าง ๆ ตามสภาพสังคมและภูมิประเทศ เดิมเรียกว่า โครงการตามพระราชดำริ มีสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เรียกย่อว่า กปร. มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการประสานงานโครงการ. |
จับมือ | ก. ทักทายตามธรรมเนียมตะวันตกโดยบุคคล ๒ คน ประสานมือขวาของกันและกันแล้วเขย่า, เรียกอาการที่ครูสอนโดยจับมือผู้เริ่มเรียนให้ทำตามในการสอนบางวิชาเช่น ฟ้อนรำ ดนตรี หรืองานฝีมือบางอย่าง เช่น จับมือรำ จับมือตีระนาด, โดยปริยายหมายถึงร่วมมือกัน เช่น ชาวบ้านจับมือกันพัฒนาแหล่งน้ำ. |
ตีบ ๒ | น. ชื่อกล้วยพันธุ์หนึ่งซึ่งพัฒนามาจากลูกผสมระหว่างกล้วยป่ากับกล้วยตานี. |
ทฤษฎีใหม่ | น. หลักวิชาการจัดการเกษตรที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงคิดค้นขึ้นเพื่อเป็นทางเลือกให้เกษตรกรพึ่งพาตนเองได้อย่างเข้มแข็ง มี ๓ ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นต้น คือ ครอบครัวเกษตรกรรายย่อยบริหารจัดการพื้นที่ทำกินให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยแบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วน คือ พื้นที่ขุดสระ พื้นที่ปลูกข้าว พื้นที่ปลูกพืชไร่พืชสวน และพื้นที่อยู่อาศัย เพื่อให้เกิดการผลิตที่พออยู่พอกิน ขั้นกลาง คือ รวมเป็นกลุ่มหรือสหกรณ์ ร่วมเพิ่มผลผลิตและจำหน่ายอย่างมีพลังต่อรอง และขั้นก้าวหน้า คือ สร้างเครือข่ายนอกชุมชนเพื่อหาแหล่งทุนมาร่วมลงทุนและพัฒนา ทุกขั้นตอนเน้นความมัธยัสถ์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง. |
ธนาคารโลก | น. คำสามัญเรียกธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและการพัฒนา ซึ่งทำหน้าที่ให้กู้ยืมเงินแก่ประเทศที่เป็นสมาชิกของธนาคาร เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศของตนและให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ ธนาคารนี้ไม่รับฝากเงิน. |
น้ำว้า | น. ชื่อกล้วยพันธุ์หนึ่งซึ่งพัฒนามาจากลูกผสมระหว่างกล้วยป่ากับกล้วยตานี, นํ้าละว้า ก็เรียก, พายัพเรียก กล้วยกะลิอ่อง กล้วยปาลิอ่อง กล้วยมะลิอ่อง หรือกล้วยอ่อง เว้นเชียงใหม่เรียก กล้วยใต้. |
นิคมที่ดิน | น. ที่ดินที่รัฐจัดสรรให้ประชากรอพยพครอบครัวเข้าไปตั้งถิ่นฐานเพื่อประกอบอาชีพและอยู่อาศัยอย่างเป็นระเบียบ โดยมีการวางแผนเพื่อพัฒนาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคม และวิชาชีพ รวมทั้งบริการสาธารณูปโภคต่าง ๆ ไว้ล่วงหน้า. |
ปัญญาอ่อน | น. ภาวะที่มีระดับสติปัญญาด้อยหรือตํ่ากว่าปรกติ มักมีสาเหตุเกิดขึ้นในระหว่างพัฒนาการ ทำให้เด็กมีความสามารถจำกัดในด้านการเรียนรู้และมีพฤติกรรมปรับตัวไม่อยู่ในระดับที่ควรเป็น. |
ผังเมือง | น. แผนผัง นโยบาย และโครงการที่ใช้เป็นแนวทางในการสร้างหรือพัฒนาเมืองหรือส่วนของเมืองในด้านต่าง ๆ เช่น สุขลักษณะ ความสะดวกสบาย ความสวยงาม ความปลอดภัยของประชาชน. |
พลศึกษา | (พะละ-) น. การศึกษาที่จะนำไปสู่ความเจริญงอกงามและพัฒนาการทางร่างกาย. |
มหาดไทย | น. ชื่อกรมที่ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือในสมัยโบราณ มีสมุหนายกเป็นประธาน, ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการปกครองท้องที่ บำบัดทุกข์บำรุงสุข การพัฒนาชนบทและชุมชน การส่งเสริมการศึกษาและการประกอบอาชีพ การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การป้องกันสาธารณภัย การผังเมือง การโยธา และการราชทัณฑ์. |
ยุทธศาสตร์ | น. วิชาว่าด้วยการพัฒนาและการใช้อำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ จิตวิทยา และกำลังรบทางทหารตามความจำเป็นทั้งในยามสงบและยามสงคราม. |
รากฐาน | น. หลักสำคัญอันเป็นพื้นฐานรองรับ, ส่วนที่เป็นพื้นรองรับสำหรับพัฒนาต่อไป, เช่น วางรากฐานการศึกษา วิชาคณิตศาสตร์เป็นรากฐานของวิชาวิทยาศาสตร์ |
รุก ๑ | เริ่มดำเนินการโดยวางแผนล่วงหน้า เช่น ทำงานในเชิงรุกเพื่อพัฒนาองค์กร นโยบายเชิงรุก |
รูปธรรม | สิ่งที่สามารถแสดงออกมาให้ปรากฏเป็นจริงเป็นจังมิใช่เป็นเพียงทฤษฎีเท่านั้น, สิ่งที่สามารถปฏิบัติได้, เช่น ต้องทำโครงการพัฒนาชนบทให้เป็นรูปธรรมด้วยการจัดให้มีนํ้ากินนํ้าใช้เป็นต้น. |
แรงงาน | น. คนงาน, ผู้ใช้แรงในการทำงาน, เช่น การพัฒนาชนบทต้องอาศัยแรงงานจากท้องถิ่น งานก่อสร้างต้องการแรงงานเพิ่ม, ประชากรในวัยทำงาน ไม่รวมถึงคนพิการ คนวิกลจริต นักเรียน นักศึกษา แม่บ้าน นักบวช ทหาร ผู้ต้องขัง และผู้ประกอบกิจการเพื่อหากำไร เช่น วันแรงงาน, แรงที่ใช้ในการทำงาน เช่น ถนนนี้สร้างสำเร็จด้วยแรงงานของชาวบ้าน |
แรงงานและสวัสดิการสังคม | น. ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารแรงงาน การจัดหางาน การประชาสงเคราะห์ การพัฒนาฝีมือแรงงาน การสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน และการประกันสังคม. |
โรงรับจำนำ | น. สถานที่รับจำนำสิ่งของ, ถ้าเป็นของเทศบาลหรือกรุงเทพมหานคร เรียกว่า สถานธนานุบาล, ถ้าเป็นของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ เรียกว่า สถานธนานุเคราะห์. |
โลกาภิวัตน์ | การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นต้น. |
วงจรชีวิต | น. การเวียนว่ายตายเกิด, ลักษณาการของชีวิตที่มีพัฒนาการเป็นขั้น ๆ ไปตามลำดับและในที่สุดก็จะเวียนมาบรรจบ ณ จุดเริ่มต้นใหม่ แล้วเวียนซ้ำต่อไปอีก เช่น ผีเสื้อออกไข่ แล้วไข่กลายเป็นตัวหนอน หนอนกลายเป็นดักแด้ ดักแด้กลายเป็นผีเสื้อ แล้วผีเสื้อก็ออกไข่ ฯลฯ. |
วางผังเมือง | ก. ควบคุมและกำหนดแนวทางในการพัฒนาเมืองและสภาพแวดล้อม โดยคำนึงถึงความสุข ความสะดวกสบาย ความปลอดภัย ความประหยัด และความสวยงามของชุมชนเป็นส่วนรวม. |
ศักยภาพ | (สักกะยะพาบ) น. ภาวะแฝง, อำนาจหรือคุณสมบัติที่มีแฝงอยู่ในสิ่งต่าง ๆ อาจทำให้พัฒนาหรือให้ปรากฏเป็นสิ่งที่ประจักษ์ได้ เช่น เขามีศักยภาพในการทำงานสูง น้ำตกขนาดใหญ่มีศักยภาพในการให้พลังงานได้มาก. |
ศิลปะประยุกต์ | น. กรรมวิธีในการนำทฤษฎีและหลักการทางศิลปะไปใช้ในภาคปฏิบัติ เพื่อพัฒนาศิลปะให้มีความงามหรือเป็นประโยชน์แก่สังคมยิ่งขึ้นเป็นต้น อย่างในการออกแบบเครื่องแต่งกาย. |
ศิลปะพื้นบ้าน | น. ศิลปะแขนงต่าง ๆ เช่น วรรณกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม นาฏศิลป์ หัตถกรรม ที่ชาวบ้านได้สร้างสรรค์ขึ้นจากการเรียนรู้และฝึกปรือในครอบครัวหรือในหมู่บ้าน เป็นงานสร้างสรรค์ของสังคมชาวบ้าน และได้พัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่องกันมาหลายชั่วคน. |
ศุลกากร | ชื่อกรมที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีอากรจากของที่นำเข้ามาและส่งออกไปนอกราชอาณาจักร และพัฒนาส่งเสริมด้านการค้าระหว่างประเทศและการส่งออก. |
สมุดรายงาน | น. สมุดบันทึกผลการเรียนและพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของนักเรียน, เดิมเรียกว่า สมุดพก. |
หัวหอก | น. บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ทำหน้าที่นำผู้อื่นไปก่อนในการต่อสู้หรือการพัฒนาสังคมเป็นต้น เช่น ส่งทหารพรานเป็นหัวหอกไปค้นหาผู้ก่อการร้าย. |
political development | การพัฒนาทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
less developed country | ประเทศพัฒนาน้อย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
less developed country | ประเทศที่พัฒนาน้อย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
level of development | ระดับการพัฒนา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
least developed country | ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
retardation | ๑. การเชื่องช้า๒. การพัฒนาล่าช้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
organization development | การพัฒนาองค์การ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ontogeny | พัฒนาการของพืช [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
administration, development | การบริหารการพัฒนา, พัฒนบริหาร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
bank, development | ธนาคารเพื่อการพัฒนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
materialism, dialectical | วัตถุนิยมปฏิพัฒนาการ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
more developed country | ประเทศที่พัฒนามาก [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
measured reserves; developed reserves | ปริมาณสำรองที่พัฒนาได้ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
country, developed | ประเทศพัฒนา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
country, developing | ประเทศกำลังพัฒนา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
country, underdeveloped | ประเทศด้อยพัฒนา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
developed reserves; measured reserves | ปริมาณสำรองที่พัฒนาได้ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
developing country | ประเทศกำลังพัฒนา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
developing country | ประเทศที่กำลังพัฒนา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
development | การพัฒนา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
development administration | การบริหารการพัฒนา, พัฒนบริหาร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
development bank | ธนาคารเพื่อการพัฒนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
development system | ระบบช่วยการพัฒนา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
development tool | เครื่องมือช่วยการพัฒนา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
dialectic | ๑. วิภาษวิธี๒. ปฏิพัฒนาการ๓. ตรรกศาสตร์ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
development, organization | การพัฒนาองค์การ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
development, political | การพัฒนาทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
developed country | ประเทศพัฒนา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
developed country | ประเทศที่พัฒนาแล้ว [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
dialectical materialism | วัตถุนิยมปฏิพัฒนาการ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
economic development | การพัฒนาเศรษฐกิจ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
European Strategic Program for Research and Development in Information Technology (ESPRIT) | แผนงานกลยุทธ์ของยุโรปเพื่องานวิจัยและพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (เอสปรี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ESPRIT (European Strategic Program for Research and Development in Information Technology) | เอสปรี (แผนงานกลยุทธ์ของยุโรปเพื่องานวิจัยและพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
integrated development environment (IDE) | สิ่งแวดล้อมสำหรับการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ (ไอดีอี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
underdeveloped country | ประเทศด้อยพัฒนา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
underdeveloped country | ประเทศด้อยพัฒนา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
Innovation | นวัตกรรม, นวัตกรรม หรือนวกรรม หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่และเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลองพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดย มีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการ ที่จัดเป็นหลักพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาหรือไม่ คือ <ul><li>สิ่งนั้นควรเป็นสิ่งที่ค้นพบ หรือประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือการปรับปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัยมาใช้ในวงการศึกษา เพื่อให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ</li><li>ได้ผ่านการทดลอง การปรับปรุงพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับกับอย่างแพร่หลาย</li><li>ได้มีการนำมาปฏิบัติจริงในวงการนั้น</li></ul> [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Collection development | การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Collection Development (Libraries) | การพัฒนาทรัพยากรห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Web site development | การพัฒนาเว็บไซต์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Web site development | การพัฒนาเว็บไซต์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Development Well | หลุมพัฒนา, Example: หมายถึง หลุมที่เจาะเพื่อต้องการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ หลังจากที่ได้ทำการเจาะหลุมประเมินผลเพื่อพิสูจน์ว่ามีปริมาณสำรองมากเพียงพอที่จะพัฒนาขึ้นมาได้ [ปิโตรเลี่ยม] |
Agricultural development | การพัฒนาการเกษตร [เศรษฐศาสตร์] |
Export development | การพัฒนาการส่งออก [เศรษฐศาสตร์] |
Developed country | ประเทศพัฒนา [เศรษฐศาสตร์] |
Developed market economy | เศรษฐกิจแบบตลาดพัฒนา [เศรษฐศาสตร์] |
Developing area | พื้นที่กำลังพัฒนา [เศรษฐศาสตร์] |
Developing country | ประเทศกำลังพัฒนา [เศรษฐศาสตร์] |
Developing island country | ประเทศเกาะกำลังพัฒนา [เศรษฐศาสตร์] |
Development | การพัฒนา [เศรษฐศาสตร์] |
Development administration | การบริหารการพัฒนา [เศรษฐศาสตร์] |
Development assistance | ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา [เศรษฐศาสตร์] |
Development bank | ธนาคารเพื่อการพัฒนา [เศรษฐศาสตร์] |
Development credit | สินเชื่อเพื่อการพัฒนา [เศรษฐศาสตร์] |
Development finance | การเงินเพื่อการพัฒนา [เศรษฐศาสตร์] |
Development finance company | บริษัทการเงินเพื่อการพัฒนา [เศรษฐศาสตร์] |
Development indicator | สิ่งชี้การพัฒนา [เศรษฐศาสตร์] |
Development model | แบบจำลองการพัฒนา [เศรษฐศาสตร์] |
Development policy | นโยบายการพัฒนา [เศรษฐศาสตร์] |
Development potential | ศักยภาพในการพัฒนา [เศรษฐศาสตร์] |
Economic development | การพัฒนาเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] |
Community development | การพัฒนาชุมชน [เศรษฐศาสตร์] |
North-South relations | ความสัมพันธ์เหนือ-ใต้ (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศพัฒนากับประเทศกำลังพัฒนา) [เศรษฐศาสตร์] |
Urban development | การพัฒนาเมือง [เศรษฐศาสตร์] |
Advanced Gas-cooled Reactor | เครื่องปฏิกรณ์ขั้นสูงระบายความร้อนด้วยแก๊ส, เอจีอาร์, <em>เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์</em>ผลิตไฟฟ้าแบบหนึ่ง ใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ระบายความร้อน โดยพัฒนามาจากแบบที่ระบายความร้อนด้วยน้ำ ตัวอย่างของเครื่องปฏิกรณ์ชนิดนี้คือเครื่องปฏิกรณ์ Hinkley Point B อยู่ทางตะวันตกของประเทศอังกฤษ ใช้ยูเรเนียมไดออกไซด์ (มียูเรเนียม-235 ร้อยละ 1.4 ถึง 2.6) เป็นเชื้อเพลิง และใช้แกรไฟต์เป็น<strong>สารลดความเร็วนิวตรอน</strong> เครื่องปฏิกรณ์นี้ สามารถผลิตไอน้ำที่มีอุณหภูมิสูงถึง 540 องศาเซลเซียส และความดัน 16 เมกะพาสคัล ทำให้มีประสิทธิภาพในการผลิตพลังงานไฟฟ้าได้สูงถึงร้อยละ 40 ซึ่งสูงเท่ากับโรงไฟฟ้าพลังเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในปัจจุบัน [นิวเคลียร์] |
Human Resources Development | การพัฒนาบุคลากร [การจัดการความรู้] |
Organization Development | การพัฒนาองค์กร [การจัดการความรู้] |
globalization | โลกาภิวัตน์, การแพร่กระจายไปทั่วโลก; การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นต้น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
globalisation | โลกาภิวัตน์, การแพร่กระจายไปทั่วโลก; การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นต้น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
National Science and Technology Development Agency | สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
supercomputer | ซูเปอร์คอมพิวเตอร์, คอมพิวเตอร์ที่มีขีดความสามารถสูง คิดคำนวณได้เร็วมากกว่าคอมพิวเตอร์ประเภทอื่นๆ ชื่อซูเปอร์คอมพิวเตอร์นี้เดิมที่ตั้งขึ้นเพื่อเรียกคอมพิวเตอร์ Cray-1 ซึ่งเป็นเครื่องที่ผลิตโดยบริษัท Cray Research และต่อมามีผู้พัฒนาเครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์อีกมาก รวมทั้งบริษัทคอมพิวเตอร์ในญี่ปุ่นด้วย ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีความเร็วสูงมาก และโดยทั่วไปถือว่าจะต้องเร็วกว่า 300 MFLOPS คือคำนวณเลขจุดลอยตัวได้เกินกว่า 300 ล้านคำสั่งต่อวินาที ซูเปอร์คอมพิวเตอร์นั้นอาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เป็นคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงยิ่ง (high performance computer) [คอมพิวเตอร์] |
Nuclear fuel cycle | วัฏจักรเชื้อเพลิงนิวเคลียร์, การปฏิบัติการทุกขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ เริ่มตั้งแต่การทำเหมืองแร่ยูเรเนียมหรือทอเรียม ผ่านกระบวนการทางเคมีเพื่อให้มีความบริสุทธิ์ และการเสริมสมรรถนะยูเรเนียม การประกอบชุดเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ การใช้ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ การแปรสภาพเชื้อเพลิงใช้แล้ว การวิจัยและพัฒนาใดๆ ที่เกี่ยวข้อง และการจัดการกากกัมมันตรังสี รวมถึงการเลิกดำเนินงานด้วย [นิวเคลียร์] |
Mutant variety | พืชพันธุ์กลาย, พืชพันธุ์ใหม่ที่พัฒนาขึ้นจากการใช้รังสีหรือสารเคมีเหนี่ยวนำให้เกิดการกลายพันธุ์ เป็นที่ยอมรับและมีการปลูกอย่างกว้างขวาง, Example: [นิวเคลียร์] |
Mutant cultivar | พืชพันธุ์กลาย, พืชพันธุ์ใหม่ที่พัฒนาขึ้นจากการใช้รังสีหรือสารเคมีเหนี่ยวนำให้เกิดการกลายพันธุ์ เป็นที่ยอมรับและมีการปลูกอย่างกว้างขวาง [นิวเคลียร์] |
Lethal mutation | การกลายถึงตาย, การเปลี่ยนแปลงของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอของเซลล์สิ่งมีชีวิตส่วนที่ควบคุมกระบวนการทำงานที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตและการพัฒนา แล้วมีผลกระทบทำให้สิ่งมีชีวิตนั้นไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ หรือเกิดการตายในรุ่นถัดไป [นิวเคลียร์] |
integration | บูรณาการ, การรวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, บูรณาการ มี ๒ ความหมาย <p>ความหมายที่ ๑ คือ ทำให้เป็นเนื้อเดียวกันโดยรวมหรือผสมผสานส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เช่น การสอนภาษาแบบบูรณาการ หมายถึง การรวมทักษะการพูด ฟัง อ่าน เขียน ไว้ในวิชาเดียวกัน, หลักสูตรแบบบูรณาการสำหรับภิกษุสามเณร เป็นหลักสูตรที่รวมหลักสูตรธรรมศึกษา บาลีศึกษา และสามัญศึกษา ให้เป็นหลักสูตรเดียว <p>ความหมายที่ ๒ หมายถึงเชื่อมหรือประสานกับสิ่งอื่นหรือหน่วยงานอื่น เช่น โรงเรียนหลายแห่งบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ากับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ที่มีรากฐานจากความเป็นไทยและนำไปสู่การ พัฒนาประเทศที่ยั่งยืน [การจัดการความรู้] |
BRIC | คำย่อที่ใช้แทน 4 ประเทศกำลังพัฒนาที่ใหญ่ที่สุด, Example: 4 ประเทศกำลังพัฒนาที่ใหญ่ที่สุด ได้แก่ บราซิล (Brazil) รัสเซีย (Russia) อินเดีย (India) และจีน (China) คำนี้บัญญัติโดย Goldman Sachs ในปี 2003 และบางครั้งได้ถูกนำไปใช้เรียกรวมประเทศ เม็กซิโก (BRIMC) และ เกาหลี (BRICK) [ธุรกิจ] |
The Organisation for Economic Co-operation and Development | องค์กรเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ, Example: ประเทศสมาชิกได้แก่ สหรัฐฯ แคนาดา เม็กซิโก ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสมาชิกสหภาพยุโรป เช่น ฝรั่งเศส เยอรมนี และสเปน [ธุรกิจ] |
Assistive Technology | เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก, เครื่องมือ อุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือบริการที่ใช้สำหรับคนพิการหรือผู้สูงวัย หรือที่มีการดัดแปลงหรือปรับใช้ให้ตรงกับความต้องการจำเป็นพิเศษของแต่ละบุคคล เพื่อเพิ่ม รักษา คงไว้ หรือพัฒนาความสามารถและศักยภาพที่จะเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร การสื่อสาร รวมถึงกิจกรรมอื่นใดในชีวิตประจำวันเพื่อการดำรงชีวิตอิสระ [Assistive Technology] |
Augmentative and Alternative Communication Program | ซอฟต์แวร์ช่วยในการสื่อสารสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด, ซอฟต์แวร์ช่วยในการสื่อสารสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด โดยใช้รูปภาพหรือข้อความเป็นรูปแทนการสื่อความหมาย เมื่อเลือกรูปแทนแล้ว โปรแกรมจะเล่นเสียงที่บันทึกไว้ของรูปแทนดังกล่าวออกมา โปรแกรมชนิดนี้พัฒนาขึ้นในประเทศไทย ชื่อ "ปราศรัย" ทำหน้าที่เป็นเสมือนกล่องที่บรรจุเสียงพูดที่ใช้ในการสนทนาไว้อย่างไม่จำกัดจำนวน โดยจัดเก็บเสียงเป็นแฟ้มเสียงไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ [Assistive Technology] |
Speech recognition | เทคโนโลยีการรู้จำเสียงพูด, การพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าใจภาษามนุษย์และสามารถจดจําคําพูดของมนุษย์ได้อย่างต่อเนื่อง [Assistive Technology] |
Visual Strategies | กลวิธีผ่านการมอง, วิธีการที่ช่วยพัฒนาการสื่อสารของบุคคลออธิซึมหรือผู้ที่มีปัญหาการรับรู้ภาษาพูด โดยช่วยให้เด็กเข้าใจการสื่อสารจากภาษาพูดเป็นสื่อการรับรู้ด้วยภาพ เพื่อให้สามารถมีปฏิสัมพันธ์ในสังคมได้ [Assistive Technology] |
Fuel cycle | วัฏจักรเชื้อเพลิงนิวเคลียร์, การปฏิบัติการทุกขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ เริ่มตั้งแต่การทำเหมืองแร่ยูเรเนียมหรือทอเรียม ผ่านกระบวนการทางเคมีเพื่อให้มีความบริสุทธิ์ และการเสริมสมรรถนะยูเรเนียม การประกอบชุดเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ การใช้ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ การแปรสภาพเชื้อเพลิงใช้แล้ว การวิจัยและพัฒนาใดๆ ที่เกี่ยวข้อง และการจัดการกากกัมมันตรังสี รวมถึงการเลิกดำเนินงานด้วย [นิวเคลียร์] |
Thailand Securities Institute | สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน, Example: เป็นสถาบันที่จัดตั้งโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความรู้ด้านการเงินและการลงทุนให้ เยาวชน นิสิต นักศึกษา ผู้ลงทุน ประชาชนทั่วไป ตลอดจนผู้ประกอบวิชาชีพในธุรกิจหลักทรัพย์ เพื่อเพิ่มความเข้าใจและความสามารถในการบริหารจัดการด้านการเงินและการลงทุน รวมทั้ง เป็นสถาบันจัดทดสอบความรู้แก่บุคลากรในธุรกิจหลักทรัพย์ [ตลาดทุน] |
Ajax (Web site development technology) | เอแจ็กซ์ (เทคโนโลยีการพัฒนาเว็บไซต์) [คอมพิวเตอร์] |
โลกาภิวัตน์ | การแพร่กระจายไปทั่วโลก การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นต้น, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ โลกาภิวัฒน์ [คำที่มักเขียนผิด] |
ด้อยพัฒนา | [dǿi phatthanā] (adj) EN: underdeveloped |
จิตวิทยาการพัฒนาทีมงาน | [jittawitthayā kān phatthanā thīm ngān] (n, exp) EN: teamwork development psychology |
จิตวิทยาพัฒนาการ | [jittawitthayā phatthanākān] (n, exp) EN: developmental psychology |
การเอื้อประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจ | [kān eūa prayōt nai kān phatthanā sētthakit] (n, exp) EN: promotion of trade |
การพัฒนา | [kān phatthanā] (n) EN: development ; progress FR: développement [ m ] ; progression [ f ] |
การพัฒนาบุคลิกภาพ | [kān phatthanā bukkhalikkaphāp] (n, exp) EN: personality development FR: développement de la personnalité [ m ] |
การพัฒนาบุคคล | [kān phatthanā bukkhon] (n, exp) EN: individual development |
การพัฒนาชนบท | [kān phatthanā chonnabot] (n, exp) EN: rural development FR: développement rural |
การพัฒนาชุมชน | [kān phatthanā chumchon] (n, exp) EN: community development |
การพัฒนาเด็ก | [kān phatthanā dek] (n, exp) EN: child development |
การพัฒนามนุษย์ | [kān phatthanā manut] (n, exp) EN: human development FR: développement humain [ m ] |
การพัฒนาในด้านบวก | [kān phatthanā nai dān būak] (n, exp) EN: positive development |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ | [kān phatthanā phalittaphan] (n, exp) EN: product development |
การพัฒนาภาษา | [kān phatthanā phāsā] (n, exp) EN: language development |
การพัฒนาศักยภาพมนุษย์ | [kān phatthanā sakkayaphāp manut] (n, exp) EN: human potential development |
การพัฒนาสังคม | [kān phatthanā sangkhom] (n, exp) EN: social development FR: développement social [ m ] |
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ | [kān phatthanā sapphayākøn manut] (n, exp) EN: human resource development |
การพัฒนาเศรษฐกิจ | [kān phatthanā sētthakit] (n, exp) EN: economic development FR: développement économique [ m ] |
การพัฒนาตลาด | [kān phatthanā talāt] (n, exp) EN: market development |
การพัฒนาทางการเมือง | [kān phatthanā thāng kānmeūang] (n, exp) EN: political development |
การพัฒนาที่ยั่งยืน | [kān phatthanā thī yangyeūn] (n, exp) EN: sustainable development FR: développement durable [ m ] ; développement soutenable [ m ] |
การพัฒนาตน | [kān phatthanā ton] (n, exp) EN: self-development |
การพัฒนาอุตสาหกรรม | [kān phatthanā utsāhakam] (n, exp) EN: industrial development ; industry development FR: développement industriel [ m ] |
การพัฒนาอย่างยั่งยืน | [kān phatthanā yāng yangyeūn] (n, exp) EN: sustainable development FR: développement durable [ m ] ; développement soutenable [ m ] |
การวิจัยและพัฒนา | [kān wijai lae phatthanā] (n, exp) EN: Research and Development ; R&D FR: recherche et développement ; R&D |
โครงการพัฒนาแนวราบ | [khrōngkān phatthanā naēorāp] (n, exp) EN: horizontal development project |
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ | [Krasūang Kān Phatthanā Sangkhom lae Khwām Mankhong khøng Manut] (org) EN: Ministry of Social Development and Human Security |
นักพัฒนาที่ดิน | [nak phatthanā thīdin] (n, exp) EN: property developer |
องค์กรพัฒนาเอกชน = อพช. (abv) | [ongkøn phatthanā ēkkachon] (n, exp) EN: Non Government Organization ; NGO (abbr.) FR: organisation non gouvernementale [ f ] ; ONG [ f ] (abrév.) |
แผนพัฒนา | [phaēn phatthanā] (n, exp) EN: development plan |
แผนพัฒนาคุณภาพ | [phaēn phatthanā khunnaphāp] (n, exp) EN: improvement plan ; quality improvement plan |
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา | [phaēn phatthanā khunnaphāp kānseuksā] (n, exp) EN: school improvement |
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ | [phaēn phatthanā sētthakit] (n, exp) EN: economic development plan |
พัฒนา | [phatthanā] (v) EN: develop ; advance ; progress ; evolve ; improve FR: développer ; faire progresser ; faire évoluer |
พัฒนาได้ | [phatthanā dāi] (adj) EN: expandable |
พัฒนาการ | [phatthanākān] (n) EN: development ; growth ; progress FR: développement [ m ] ; progrès [ m ] |
พัฒนาการมนุษย์ | [phatthanākān manut] (n, exp) EN: human development FR: développement humain [ m ] |
พัฒนาการผลิต | [phatthanā kān phalit] (v, exp) EN: develop production ; expand production FR: développer la production |
พัฒนาขึ้น | [phatthanā kheun] (v, exp) EN: develop FR: développer |
พัฒนาคุณภาพชีวิต | [phatthanā khunnaphāp chīwit] (v, exp) EN: improve the quality of live FR: améliorer la qualité de vie |
พัฒนากร | [phatthanākøn] (n) EN: developer |
พัฒนาแล้ว | [phatthanā laēo] (adj) EN: developped FR: développé |
พัฒนาโปรแกรม | [phatthanā prōkraēm] (v, exp) FR: développer un programme ; développer une application |
พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ | [phatthanā sapphayākøn thammachāt] (v, exp) EN: utilize the natural ressources |
ประเทศด้อยพัฒนา | [prathēt døi phatthanā] (n, exp) EN: underdeveloped country FR: pays sous-développé [ m ] |
ประเทศกำลังพัฒนา | [prathēt kamlang phatthanā] (n, exp) EN: developing country FR: pays en développement [ m ] |
ประเทศพัฒนาแล้ว | [prathēt phatthanā laēo] (n, exp) EN: developed country ; advanced economies FR: pays développés [ mpl ] |
ประเทศที่พัฒนาแล้ว | [prathēt thī phatthanā laēo] (n, exp) EN: developed country FR: pays développé [ m ] |
สำนักวิจัยและพัฒนา | [samnak wijai lae phatthanā] (n, exp) EN: Research and Development Office |
ธนาคารเพื่อการพัฒนา | [thanākhān pheūa kān phatthanā] (n, exp) EN: development bank FR: banque de développement [ f ] |
PHP | (n) ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาหนึ่ง (เป็นแบบ intepreter) เป็นที่นิยมใช้กันมาก โดยเฉพาะในงานพัฒนาเว็บ แต่ก็สามารถใช้ในงานอื่นๆ ได้ รายละเอียดเพิ่มเติมดูได้ที่ http://www.php.net |
memory stick | (n) อุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ชนิดหนึ่ง ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท SONY และใช้กับผลิตภัณฑ์ต่างๆของ SONY มีขนาดเล็กประมาณเท่าแผ่นหมากฝรั่ง magic gate memory stick คือ memory stick ที่มีหมายเลขรหัสประจำในแต่ละแผ่น เพื่อให้สามารถควบคุมการทำสำเนาข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์ (เช่น ข้อมูลเพลง หรือภาพ) ได้ คือ ข้อมูลที่บันทึกจะนำมาใช้ได้เมื่ออ่านจากแผ่นที่มีหมายเลขที่กำหนดเท่านั้น และจะใช้ไม่ได้เมื่อทำสำเนาข้อมูลนั้นไปยังแผ่นหรืออุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่น, See also: flash memory |
CompactFlash memory | (n, uniq) หรือ CF memory เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ที่พัฒนาโดยสมาคม CompactFlash (http://www.compactflash.org/) และผลิตจำหน่ายโดยผู้ผลิตหลายราย หลายยี่ห้อ, See also: flash memory, memory stick |
Silent Wave Motor | (n) มอเตอร์ที่หมุนโดยอาศัยหลักคลื่นเสียงความถี่สูง Ultra-Sound ซึ่งสามารถออกแบบให้มีขนาดเล็ก พัฒนาโดยบริษัท Nikon เพื่อให้หมุนปรับโฟกัสในเลนส์รุ่นที่มีอักษร AF-S, See also: SWF, USM |
Ultra Sonic Motor | (n) มอเตอร์ที่หมุนโดยอาศัยหลักคลื่นเสียงความถี่สูง Ultra-Sound ซึ่งสามารถออกแบบให้มีขนาดเล็ก พัฒนาโดยบริษัท Canon เพื่อให้หมุนปรับโฟกัสในเลนส์รุ่นที่มีอักษร USM, See also: USM, SWF |
MFC | (name) ย่อมาจากคำว่า Microsoft Foundation Classes เป็นชื่อของชุดโปรแกรมพื้นฐานชุดหนึ่ง ประกอบด้วย class ของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ สำหรับใช้เพื่อพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนระบบปฏิบัติการ Windows, See also: ATL WTL |
ADB | (abbrev) ADB ย่อมาจาก Asian Development Bank หมายถึง ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย |
nstda | (org) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ National Science and Technology Development Agency |
off the shelf | (adj) มีจำหน่ายทั่วไป ไม่ต้องพัฒนาประดิษฐ์ใหม่ด้วยตนเอง |
Firefox | (n) ซอฟต์แวร์อินเทอร์เน็ต Browser ตัวหนึ่ง, พัฒนามาจาก Mozilla, ดู <A href=https://dict2013.longdo.com/http://www.mozilla.org/products/firefox/>Firefox</A>, <A href=https://dict2013.longdo.com/http://www.mozilla.org>Mozilla</A> |
Perl | (n, jargon, name) ชื่อภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง เขียนโดยคุณ Larry Wall ในช่วงทศวรรษ 1980 เริ่มเป็นที่นิยมใช้ ในการประมวลผลข้อความ (Text) และใช้เขียน CGI program, หลังจากนั้นได้พัฒนาความสามารถในหลายๆ ด้าน จนสามารถใช้ในงานคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย |
AJAX | (abbrev) ย่อมาจาก Asynchronous JavaScript and XML เป็นชื่อเทคนิคการพัฒนา web application แบบหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วยเทคนิคย่อยๆ คือ JavaScript และ DOM ในฝั่ง client browser และใช้การติดต่อกับ server ในแบบ asynchrounous (แทนที่จะเป็น synchronous ในการเปิดเว็บแบบเดิมๆ) และส่งข้อมูลกลับมาในแบบ XML ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ <a href=https://dict2013.longdo.com/http://en.wikipedia.org/wiki/AJAX>Wikipedia</a> |
curfew | (n) ในยุโรปสมัยกลางบ้านเรือนทำมาจากท่อนซุง ตรงพื้นกลางบ้านมักจะขุดเป็นหลุมเพื่อเอาไว้ใช้เป็นเตา เพราะกลัวไฟไหม้ ตอนดึกๆ จึงต้องมียามเดินไปให้สัญญาว่าได้เวลานอนแล้ว ขอให้กลบไฟซะให้เรียบร้อยด้วย ซึ่งภาษาฝรั่งเศสว่า cuevre-feu แปลเป็นอังกฤษว่า to cover the fire เมื่อพระเจ้าวิลเลี่ยมแห่งฝรั่งเศสตีอังกฤษได้ ก็เอามาใช้ในอังกฤษ ให้ทุกบ้านดับไฟและห้ามออกจากบ้าน Curfew ก็จึงพัฒนามาเป็นคำที่หมายถึง มาตรการห้ามออกนอกเคหสถานในเวลากำหนด |
stonefly | (n, name) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: plecoptera |
Ubuntu | (n) ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งที่พัฒนาบนพื้นฐานของระบบ Linux |
acquisition | (n) การพัฒนาทักษะ |
adolescence | (n) ขั้นกลางของการพัฒนา |
advance | (n) การพัฒนา, See also: การรุดหน้า, การเดินหน้า, การก้าวหน้า, Syn. development |
advancement | (n) การพัฒนา, See also: การรุดหน้า, ความเติบโต, ความคืบหน้า, ความรุ่งโรจน์ |
age | (n) ระดับการพัฒนา |
amended | (adj) ที่พัฒนาดีขึ้น |
amendment | (n) การพัฒนาขึ้น, See also: การปรับปรุงขึ้น, Syn. improvement |
backlash | (n) ปฏิกิริยาที่รุนแรงและไม่เอื้อประโยชน์ (ทางด้านการพัฒนาของสังคมและการเมือง), Syn. revolt |
better | (adj) ปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น, See also: เหนือกว่า, พัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้น |
better | (vt) พัฒนาตัวเอง |
block | (n) การหยุดชะงักของพัฒนาการของกระบวนการทางความคิดหยุดชะงัก |
blossom | (vi) พัฒนา, See also: เติบโต, Syn. bloom |
breakthrough | (n) การพัฒนาหรือการค้นพบที่ยิ่งใหญ่, See also: โดยเฉพาะทางวิทยาศาสต์ เทคโนโลยี หรือทางการแพทย์, Syn. discovery |
buildup | (n) การพัฒนา, See also: กระบวนการเจริญเติบโต |
be looking up | (phrv) กำลังดีขึ้น (คำไม่เป็นทางการ), See also: กำลังปรับปรุง, กำลังพัฒนา |
blossom out | (phrv) พัฒนา, See also: เจริญเติบโต, มีพัฒนาการ, เจริญก้าวหน้า |
build on | (phrv) ใช้(บางสิ่ง)เป็นพื้นฐานสำหรับพัฒนาต่อ, See also: ใช้บางสิ่งให้เป็นประโยชน์กับ, Syn. build upon |
build upon | (phrv) ใช้(บางสิ่ง)เป็นพื้นฐานสำหรับพัฒนาต่อ, Syn. build on |
calcification | (n) สภาพที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง (คำเป็นทางการ), See also: การไม่พัฒนา, Syn. unchanging stage |
civilise | (vt) ทำให้มีความศิวิไลซ์, See also: ให้การศึกษาจนมีการพัฒนาทางวัฒนธรรม, Syn. civilize, cultivate |
civilize | (vt) ทำให้มีความศิวิไลซ์, See also: ให้การศึกษาจนมีการพัฒนาทางวัฒนธรรม, Syn. civilise, cultivate |
constructive | (adj) ที่ช่วยให้พัฒนาขึ้น, See also: ที่เป็นไปในทางสร้างสรรค์, Syn. formative, positive |
creole | (n) ภาษาครีโอล, See also: ภาษาที่พัฒนามาจากภาษาสองภาษา, Syn. creolized language, mixed language |
crude | (adj) ที่ไม่มีการพัฒนา |
crudely | (adv) อย่างไม่พัฒนา |
cultivate | (vt) ทำให้พัฒนาขึ้น, Syn. advance, encourage |
cultivation | (n) การพัฒนา, See also: การให้ความรู้, Syn. improvement |
culture | (n) การพัฒนา, See also: การปรับปรุง, Syn. improvement |
develop from | (phrv) พัฒนาจาก, See also: เติบโตจาก |
develop into | (phrv) พัฒนาเป็น, See also: กลายเป็น, เติบโตเป็น |
educe from | (phrv) พัฒนา...มาจาก (โดยเฉพาะจากสิ่งที่ไม่สมบูรณ์) |
evolve from | (phrv) ค่อยๆ พัฒนาจาก, See also: วิวัฒนาการมาจาก, Syn. evolve out of |
evolve out of | (phrv) ค่อยๆ พัฒนาจาก, See also: วิวัฒนาการมาจาก, Syn. evolve from |
derivative | (n) สิ่งที่พัฒนามาจากสิ่งอื่น |
develop | (vi) พัฒนา, See also: เติบโต, เจริญ, วิวัฒนาการ |
develop | (vt) พัฒนา, See also: ทำให้เติบโต, ทำให้เจริญ, ทำให้ดีขึ้น, วิวัฒนาการ, Syn. enlarge, expand, strengthen, advance, improve, progress |
developed | (adj) ที่พัฒนาแล้ว, See also: ที่ปรับปรุงแล้ว, ที่เจริญก้าวหน้า, Syn. industrialized, advanced |
developer | (n) ผู้พัฒนา, See also: นักพัฒนา, Syn. builer, projector |
developing | (adj) ที่กำลังพัฒนา, Syn. underdeveloped, agricultural, Ant. advanced, developed |
development | (n) การเจริญเติบโต, See also: การพัฒนา, ความก้าวหน้า, พัฒนาการ, วิวัฒนาการ, Syn. advancement, growth, progress |
elephantiasis | (n) การเติบโตอย่างมากเกินไป, See also: การพัฒนาอย่างผิดปกติ |
embryology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการเติบโตและพัฒนาการของตัวอ่อนของมนุษย์ |
embryology | (n) วิชาว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับตัวอ่อนของสิ่งมีชีวิตและพัฒนาการ |
epidemiology | (n) ต้นกำเนิดและการพัฒนาของเชื้อโรค |
estrogen | (n) ฮอร์โมนเอสโตรเจนที่ผลิตจากรังไข่ ช่วยกระตุ้นความรู้สึกทางเพศและช่วยพัฒนาลักษณะเฉพาะทางเพศของเพศหญิง, Syn. oestrogen |
etymology | (n) นิรุกติศาสตร์, See also: วิชาที่ว่าด้วยกำเนิดและการพัฒนาของคำ |
evolve | (vt) ค่อยๆ พัฒนา, Syn. develop |
form | (vt) สร้างขึ้น, See also: พัฒนาขึ้น |
formation | (n) การพัฒนา |
grow from | (phrv) พัฒนาจาก, See also: เป็นผลมาจาก |
a. a. a. s. | abbr. American Association for the Advancement of Science สมาคมเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์แห่งอเมริกา |
add-on program | โปรแกรมเสริมหมายถึง โปรแกรมที่เขียนเพิ่มขึ้น เพื่อให้โปรแกรมเดิมเพิ่มประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น โปรแกรมสำเร็จทุกโปรแกรมที่ออกสู่ตลาดแล้ว จะต้องมีการพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา และจะมีโปรแกรมเสริมออกมาเสนอให้ลูกค้าอยู่เสมอ ๆ (add-on อาจหมายถึงอุปกรณ์ที่เสริมเข้าไปภายหลังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่อง เช่น แผ่นวงจรโมเด็ม เป็นต้น) |
apple computer inc. | บริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ <คำแปล>เป็นชื่อบริษัทที่ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแอปเปิล ชุดที่โด่งดังมาก ได้แก่ แอปเปิลทู (Apple II) และ แมคอินทอช (Macintosh) ฯ คอมพิวเตอร์แอปเปิลที่วางขาย ในตลาดรุ่นแรก ๆ นั้นเป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้างความฮือฮาอย่างมากในวงการคอมพิวเตอร์ เพราะเป็นครั้งแรก (ราว ค.ศ.1977) ที่มีการผลิตคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กในราคาที่คนทั่วไปจะหาไว้ใช้เป็นสมบัติส่วนตัวได้ ผู้ที่ช่วยกันริเริ่มคิดประดิษฐ์ได้แก่ Steve Jobs กับ Steve Wozniak สองสหายวัยรุ่นที่สร้างเครื่องต้นแบบเครื่องแรกในโรงรถ ส่วนเครื่องรุ่นแมคอินทอชนั้นเป็นคอมพิวเตอร์ยี่ห้อแรกที่เริ่มนำสัญรูป (icon) รายการคำสั่ง แบบดึงลง (pull down menu) กรอบสนทนา (dialog box) เมาส์ (mouse) ฯลฯ มาใช้ ทำให้คนทั่วไปเริ่มรู้สึกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ไม่ใช่ของยากอะไรเลย ปัจจุบันได้มีการพัฒนาให้หนักไปในด้านการผลิตสิ่งพิมพ์ (desktop publishing) อย่างไรก็ตาม หาใช่มีแต่เครื่องแอปเปิลแมคอินทอชเท่านั้นไม่ที่ใช้ระบบการทำงานดังที่กล่าวแล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์พีซีก็เลียนแบบ โดยการนำเอาระบบวินโดว์มาใช้ |
autocad | (ออโตแคด) เป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จที่ใช้ในการออกแบบที่โด่งดังมากที่สุดในยุคนี้ ได้รับการ พัฒนาอย่างต่อเนื่องมากว่าสิบปีแล้ว สามารถสร้างแบบ 2 มิติ หรือ 3 มิติได้ สร้างแบบจำลอง (model) ได้โดยทำให้เหมือนจริง หมุนดูทิศทางต่าง ๆ ได้ นิยมใช้ในการออกแบบโครงสร้างอาคาร รถยนต์ เรือ เครื่องบิน ฯ เมื่อจะแสดงผลในกระดาษ ต้องใช้กับเครื่องวาด (plotter) ดู CAD ประกอบ |
aviation | (เอวิเอ' เชิน) n. วิธีการบิน, วิชาการบิน, การออกแบบ พัฒนาและสร้างเครื่องบิน (flying) |
basic | (เบ'ซิค) 1. adj. เกี่ยวกับฐาน, เกี่ยวกับด่าง 2. เป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่งใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษาเบสิกนี้เขียนง่าย ๆ เหมาะกับผู้เริ่มต้นเรียน คำว่า BASIC นั้นย่อมาจาก Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code แปลได้ว่า รหัสคำสั่งที่เป็นสัญลักษณ์เอนกประสงค์สำหรับผู้เริ่มต้นใช้คอมพิวเตอร์ เมื่อเริ่มนำออกใช้ใหม่ ๆ ภาษานี้มีข้อจำกัดมาก ในปัจจุบันแม้จะมีการพัฒนาภาษานี้ไปไกลแล้ว แต่นักทำโปรแกรมทั่วไปมักจะดูถูกว่า เป็นภาษาสำหรับผู้เริ่มต้น และไม่นิยมนำมาใช้ในการเขียนโปรแกรมใหญ่ ๆ ข้อดีของภาษานี้ก็คือ จะทราบที่ผิดและแก้ไขได้ทันที |
blossom | (บลอส'เซึม) n. ดอกไม้, ภาวะที่ดอกกำลังบาน vt. ทำให้ดอกบาน, ดอกบาน, พัฒนา, เจริญเติบโต, See also: blossomy adj. ดูblossom, Syn. flower, Ant. fade |
boom | (บูม) { boomed, booming, booms } n. เสียงดังสนั่นหวั่นไหว, การขึ้นสูงอย่างรวดเร็วของราคาหรือการขาย, ระยะการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว vi., vt. (ทำให้) เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว, มีเสียงดังสนั่น, (เจริญรุ่งเรืองพัฒนา) มีชื่อเสียงอย่างรวดเร็ว, ยกยอ, สนับสนุน |
breakthrough | (เบรค'ธรู) n. การพัฒนาอย่างมากมายยิ่ง, การก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ครั้งสำคัญยิ่ง, การฝ่าอุปสรรค, การบุกทะลวง, Syn. advance -Conf.break through |
bud | (บัด) { budded, budding, buds } n. หน่อไม้, หน่อ, ช่อ, ดอกตูม, ตาต้นไม้, ส่วนยื่น, การแตกเนื้อหนุ่มสาว vi. เกิดหน่อ, แตกหน่อ, แตกช่อ, เจริญ, พัฒนา. vi. ทำให้แตกหน่อ, แตกหน่อ, See also: budder n. ดูbud |
build-up | n. การเสริมกำลัง, การพัฒนา |
buildup | n. การเสริมกำลัง, การพัฒนา |
cat | 1. (แคท) n. แมว, สัตว์ในตระกูลแมว, หญิงที่มีใจอำมหิต, บุคคล 2. (ซีเอที) ย่อมาจาก computer-aided translation แปลว่า การแปลภาษาใช้คอมพิวเตอร์ช่วย หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ รวมทั้งบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ (บางตำราว่า CAT ย่อมาจาก computer aided training แปลว่า การอบรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) |
cga | (ซีจีเอ) ย่อมาจาก color gragphic adapter แปลว่า ตัวปรับสำหรับภาพกราฟิก ที่จะมองเห็นบนจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวปรับนี้เป็นมาตรฐานจอภาพของเครื่องไอบีเอ็ม แต่ภาพที่ปรากฏให้เห็นบนจอนั้นยังดูแข็ง ๆ ไม่ได้ผสมกลมกลืนสนิท ดูแล้วอาจจะปวดศรีษะได้ คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ จึงพัฒนาตัวปรับสีนี้ใหม่ มีชื่อ เรียกว่า EGA หรือ VGA ดู EGA และ VGA ประกอบ |
color graphic adapter | ตัวปรับต่อภาพสีใช้ตัวย่อว่า CGA หมายถึง ตัวปรับสำหรับภาพกราฟิกที่จะมองเห็นบนจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวปรับนี้เป็นมาตรฐานจอภาพของเครื่องไอบีเอ็ม แต่ภาพที่ปรากฏให้เห็นบนจอนั้นยังดูแข็ง ไม่ได้ผสมกลมกลืนสนิท ดูแล้วพาลจะปวดศรีษะได้ง่าย ๆ คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ จึงพัฒนาตัวปรับสีนี้ใหม่ มีชื่อ เรียกว่า EGA หรือ VGA |
computer-aided translatio | การแปลใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAT (อ่านว่า ซีเอที) หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอม พิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ และบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ |
cultivate | (คัล'ทะเวท) { cultivated.cultivating, cultivates } vt. เพาะปลูก, เพาะ, ปลูก (พืช) , เลี้ยง, พัฒนาหรือทำให้ดีขึ้น อุทิศตัวให้กับ |
dbase | (ดีเบส) เป็นชื่อโปรแกรมสำเร็จที่ได้รับความนิยมมากสมัยหนึ่งในด้านการจัดการฐานข้อมูล (database management) ได้รับการพัฒนาติดต่อกันมาหลายรุ่น (version) |
develop | (ดีเวล'เลิพ) { developed, developing, develops } vt. พัฒนา, ทำให้เจริญ, ทำให้ปรากฎชัดขึ้นมา, ล้างรูป, ค่อย ๆ ปรากฎชัดขึ้นมาตามลำดับ. vi. พัฒนา, วิวัฒนา, See also: developability n. ดูdevelop, Syn. mature |
developer | (ดีเวล'ละเพอะ) n. ผู้พัฒนา, สิ่งที่พัฒนา, น้ำยาล้างฟิล์มถ่ายรูป, ผู้บุกเบิก |
development | (ดิเวล'เลิพเมินทฺ) n. ความก้าวหน้า, การพัฒนา, พัฒนาการ, วิวัฒนาการ, ภาวะที่ค่อย ๆ ปรากฎชัดขึ้น, Syn. growth, evolution |
dynamics | (ไดแนม'มิคซฺ) n. สาขาวิชากลศาสตร์ที่เกี่ยวกับความเคลื่อนที่และความสมดุลของระบบการเคลื่อนที่, แรงผลักดัน, พลศาสตร์, ลักษณะหรือประวัติการเปลี่ยนแปลง, การเจริญเติบโตและการพัฒนา, การแปรผันและระดับสูงต่ำของเสียงดนตรี |
ega | (อีจีเอ) ย่อมาจาก enhanced graphics adapter (แปลว่า ตัวปรับต่อภาพเพิ่มความคม) เป็นมาตรฐานการแสดงภาพกราฟิกบนจอภาพซึ่งบริษัทไอบีเอ็มพัฒนาใช้อยู่ก่อน ในปัจจุบัน จอภาพได้รับการพัฒนาให้ดีขึ้นเรื่อย ๆ ที่มีชื่อเป็นที่นิยม เรียกกันว่า วีจีเอ (VGA) และ ซุเปอร์วีจีเอ (SVGA) ซึ่งจะสามารถแสดงสีที่สวยกว่า กับทั้งมีความคมชัดมากกว่า ดู CGA, VGA และ SVGA ประกอบ |
egg | (เอก) { egged, egging, eggs } n. ไข่, สิ่งที่คล้ายไข่, เซลล์สืบพันธุ์ของเพศตัวเมีย, บุคคล. vt. ใส่ไข่, จุ่ม (อาหาร) ลงในไข่ที่ตีแล้ว -Phr. (in the egg ในระยะแรกเริ่ม, ซึ่งยังไม่เจริญ, ซึ่งยังไม่พัฒนา) vt. กระตุ้น, ให้กำลังใจ -Phr. (a bad egg คนเลว, คนไม่ซื่อ) คำที่ |
eisa | (อีซา) ย่อมาจาก extended industry standard architecture (แปลว่า การออกแบบมาตรฐานแบบขยาย) คอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็มจะออกแบบและใช้บัส (bus) แบบ ISA (industry standard archi- tecture) เป็นมาตรฐาน แต่เครื่องที่เทียบเคียงกับเครื่องไอบีเอ็ม (IBM compatibles) นั้น แทนที่จะใช้ตามมาตรฐานนี้ กลับออกแบบบัสให้เพิ่มความเร็วขึ้น เรียกว่า อีซา เมื่อไอบีเอ็มผลิตคอมพิวเตอร์ PS/2 จึงได้กำหนดมาตรฐานของบัสใหม่ โดยพัฒนาให้เร็วยิ่งขึ้นไปอีก เรียกว่า MCA ซึ่งย่อมาจาก micro channel architecture ดู MCA ประกอบ |
electronics | n. วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับการพัฒนาและการใช้อุปกรณ์และระบบที่เกี่ยวกับการวิ่งของอิเล็กตรอนในสูญญากาศ หรือในสื่อที่เป็นแก๊ส |
emerge | (อีเมิร์จฺ') vi. โผล่ออกมา, ปรากฎออกมา, พัฒนา, มีตัวตน |
enhanced graphic adaptor | enhanced graphics adapterตัวปรับภาพเพิ่มความคมใช้ตัวย่อว่า EGA (อ่านว่า อีจีเอ) เป็นมาตรฐานของจอภาพได้รับการพัฒนามาขั้นหนึ่งแล้ว ปัจจุบัน จอภาพยังคงได้รับการพัฒนาให้คมชัด และมีสีสวยขึ้นเรื่อย ๆ จอที่ดีกว่า คือจอ VGA หรือ Super VGA หรือที่เรียกว่า SVGA ดู VGA และ SVGA ประกอบ |
enhanced graphics adapter | ตัวปรับภาพเพิ่มความคมEnhanced Graphic Adaptorใช้ตัวย่อว่า EGA (อ่านว่า อีจีเอ) เป็นมาตรฐานของจอภาพได้รับการพัฒนามาขั้นหนึ่งแล้ว ปัจจุบัน จอภาพยังคงได้รับการพัฒนาให้คมชัด และมีสีสวยขึ้นเรื่อย ๆ จอที่ดีกว่า คือจอ VGA หรือ Super VGA หรือที่เรียกว่า SVGA ดู VGA และ SVGA ประกอบ |
ethernet | (อีเทอร์เนท) เครือข่ายการสื่อสารที่ส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์โดยการใช้โคแอคเซียลเคเบิลสายเดียวเดินผ่านไปตามเครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ที่อยู่ในเครือข่าย ซึ่งใช้สัญญาณความถี่คลื่นวิทยุที่ส่งผ่านสายเคเบิล บริษัทซีร็อกซ์ (Xerox) เป็นผู้เริ่มพัฒนานำมาใช้ก่อน |
explicate | (เอคซ'พลิเคท) vt. พัฒนา, อธิบาย, ชี้แจง, สร้างทฤษฎี, สร้างหลักการ., See also: explicator n., Syn. explain |
extended industry standar | extended industry standard architecture การออกแบบมาตรฐานแบบขยายใช้ตัวย่อว่า EISA (อ่านว่า อีซา) คอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็มจะออกแบบและใช้บัส (bus) แบบ ISA (Industry Standard Architecture) เป็นมาตรฐาน แต่เครื่องที่เทียบเคียงกับเครื่องไอบีเอ็ม (IBM compatibles) นั้น แทนที่จะใช้ตามมาตรฐานนี้ กลับออกแบบบัสให้เพิ่มความเร็วขึ้น เรียกว่า อีซา เมื่อไอบีเอ็มผลิตคอมพิวเตอร์พีเอสทู (PS/2) จึงได้กำหนดมาตรฐานของบัสใหม่ โดยพัฒนาให้เร็วยิ่งขึ้นไปอีก เรียกว่า MCA ซึ่งย่อมาจาก micro channel architecture ดู MCA ประกอบ |
featuritis | การเพิ่มประสิทธิภาพเฉพาะด้านหมายถึง การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้มีประสิทธิภาพ เพิ่มขึ้นในแต่ละด้าน |
first generation computer | คอมพิวเตอร์ยุคที่หนึ่งนับตั้งแต่เริ่มมีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้ มนุษย์ได้พัฒนาเครื่องมือนี้ติดต่อกันมาตลอด ทำให้มีการแบ่งวิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ออกเป็นยุค (generation) พัฒนาการของคอมพิวเตอร์ยุคแรกถือว่าเริ่มตั้งแต่ ค.ศ.1951 ถึงต้น ค.ศ.1960 คอมพิวเตอร์สมัยนั้นสามารถเก็บโปรแกรมได้ ใช้หลอดสุญญากาศเป็นหน่วยความจำ ทำให้มีขนาดใหญ่ กินเนื้อที่มาก ระหว่างทำงาน จะทำให้เกิดความร้อนสูงตลอดเวลา การทำงานจะทำได้ทีละอย่าง และจะเรียงกันไปตามลำดับคำสั่งอย่างเคร่งครัด ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมก็มีแต่ภาษาแอสเซมบลี (assembly language) ดู generation ประกอบ |
high tech | เทคโนโลยีขั้นสูงเป็นคำที่แสดงถึงคุณภาพที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เพื่อแสดงให้เห็นว่าสิ่งนั้น ๆ หรืองานนั้น ๆ ได้มีการค้นคว้าและพัฒนากันมามากมายแล้ว |
ibm xt | ไอบีเอ็ม เอ็กซ์ทีเป็นชื่อเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ที่บริษัทไอบีเอ็มพัฒนาหลังจากที่ผลิตพีซีแล้วเป็นไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่มีฮาร์ดดิสก์ (hard disk) อยู่ในตัวเครื่องเลย (ไม่แยกออกต่างหากจากตัวเครื่องแบบแต่ก่อน) คำว่า XT ย่อมาจาก extended technology ซึ่งก็แปลว่าเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าขึ้นไปอีกขั้นหนึ่งนั่งเอง บริษัทไอบีเอ็มผลิต XT หลังจาก PC แล้วต่อไปก็ผลิต AT ดู IBM AT ประกอบ |
ieee | (ไอทริพเพิลอี) ย่อมาจาก Institute of Electrical and Electronic Engineers แปลว่า สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลdเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐานต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป |
ifips | (ไอฟิปส์) ย่อมาจาก International Federation of Information Processing Societies แปลว่า สหพันธ์สมาคมระหว่างประเทศเพื่อการประมวลผลสารสนเทศ เป็นองค์กรหนึ่งที่เกิดจากการรวมตัวกัน ในอันที่จะพัฒนาวิทยาการสารสนเทศ (information science) และการประมวลผลข้อมูลให้ก้าวหน้า |
image processing | การประมวลผลภาพเป็นเทคนิคในการประมวลผลที่มีข้อมูลเป็นภาพ คอมพิวเตอร์จะอ่านภาพที่ถูกส่งเข้าไป แล้วแปลงเป็นตัวเลข เราสามารถดัดแปลง แก้ไข ปรับขยาย หมุน ฯ เพื่อการวิเคราะห์บางอย่างได้ ปัจจุบัน ถือเป็นสาขาหนึ่งของคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาไปไกลมากจนเป็นที่ยอมรับ และมีผู้สนใจมาก การมีภาพประกอบในเอกสารต่าง ๆ หรือในการแสดงผลงาน จะช่วยทำให้งานนั้นน่าสนใจขึ้น |
institute of electrical a | สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า IEEE (อ่านว่า ไอทริพเพิลอี) เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐาน ต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป |
mat | (แมท) n. พรมเช็ดเท้า, เสื่อ, ที่รองจานอาหาร (หรือตะเกียง แจกันหรืออื่น ๆ) , พรมปูพื้น. vt. ปูพรม, ปูเสื่อ, ทำเป็นเสื่อหรือพรม. vi. พัวพัน, ยุ่งเกี่ยว- adj. ด้าน, ไม่เป็นเงา, n. ผิวหน้าที่ด้าน เอ็มเอที <คำอ่าน>ย่อมาจาก machine aided translation (การแปลใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ รวมทั้งบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ |
microsoft disk operating | ใช้ตัวย่อว่า MS-DOS (อ่านว่า เอ็มเอสดอส) เป็นชื่อระบบปฏิบัติการที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีที่บริษัทไมโครซอฟต์เป็นผู้ผลิตขึ้น และได้พัฒนาให้ดีขึ้นอยู่เรื่อย ๆ จนปัจจุบันเป็นรุ่น (version) 6.21 แล้ว รุ่นใหม่นี้สามารถป้องกันไวรัสได้ถึงกว่า 8, 000 ชนิด ไมโครคอมพิวเตอร์ตระกูลไอบีเอ็ม และเครื่องเทียบเคียงไอบีเอ็ม (IBM compatibles) เกือบทั้งหมดใช้ระบบปฏิบัติการ MS-DOS นี้ (ระบบปฏิบัติการของบริษัทไอบีเอ็มเอง มีชื่อเรียกว่า IBM DOS แต่ไม่ได้รับความนิยมเท่า MS-DOS) |
ms-dos | เอ็มเอสดอสย่อมาจากคำว่า Microsoft disk operating system เป็นชื่อระบบปฏิบัติการที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีที่บริษัทไมโครซอฟต์เป็นผู้ผลิตขึ้น และได้พัฒนาให้ดีขึ้นอยู่เรื่อย ๆ จนปัจจุบันเป็นรุ่น (version) 6.21 แล้ว รุ่นใหม่นี้สามารถป้องกันไวรัสได้ถึงกว่า 8, 000 ชนิด ไมโครคอมพิวเตอร์ตระกูลไอบีเอ็ม และเครื่องเทียบเคียงไอบีเอ็ม (IBM compatibles) เกือบทั้งหมดใช้ระบบปฏิบัติการ MS-DOS นี้ (ระบบปฏิบัติการของบริษัทไอบีเอ็มเอง มีชื่อเรียกว่า IBM DOS แต่ไม่ได้รับความนิยมเท่า MS-DOS) |
natural language processi | การประมวลผลภาษาธรรมชาติหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำการประมวลผลได้โดยใช้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาธรรมชาติ พูดง่าย ๆ ก็คือ สามารถใช้ภาษาธรรมดา ๆ สั่งการให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามได้ ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์จะใช้ภาษาเฉพาะที่มีกฎเกณฑ์ ไวยากรณ์ และศัพท์ของตนเอง ที่เรียกว่า ภาษาเชิงมนุษย์ (human oriented language) เช่น ภาษา C ภาษา BASIC ภาษา COBOL ฯ ส่วนภาษาธรรมชาตินั้น หมายถึง ภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย แม้ว่าในปัจจุบัน จะมีการ พัฒนาด้านนี้กันไปไกลมาแล้ว แต่ก็สรุปได้ว่า ยังใช้การไม่ได้ดีเท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเป็นเพราะภาษานั้นมีความสลับซับซ้อนเป็นอย่างมาก ยากที่จะแปลหรือตีความให้ตาย ตัวได้ |
nrtrx13 | ผู้เพัฒนาโปรแกรม drug data for pharmacist xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx |
ontogeny | (ออนทอจ'จีนี) n. การพัฒนาเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต |
open architecture | สถาปัตยกรรมเปิดหมายถึง แนวคิดที่จะทำให้การออกแบบและการสร้างคอมพิวเตอร์เป็นความรู้ที่เป็นสาธารณะโดย ยินยอมให้บริษัทต่าง ๆ นำไปผลิตขายได้ ทั้งนี้เพื่อช่วยให้การพัฒนาการสร้างคอมพิวเตอร์ให้ดีขึ้นไปเรื่อย ๆ |
os | (โอเอส) ย่อมาจาก operating system (ระบบปฏิบัติการ) หมายถึง ซอฟต์แวร์ระบบ (systems software) ที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ทั้งหมด รวมทั้งการปฏิบัติงานของโปรแกรมด้วย เปรียบเสมือนเป็นแม่บ้าน ที่คอยดูแลให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ทำงานประสานกัน ระบบปฏิบัติการของโมโครคอมพิวเตอร์ จะเรียกว่า ระบบปฏิบัติการแบบใช้จาน (disk operating systemหรือที่ใช้ตัวย่อว่า DOS) ที่มีชื่อโด่งดังอยู่ในขณะนี้ ก็คือ MS DOS (ใช้กับพีซี) และ System 8 (ใช้กับแมคอินทอช) หลังจากดอสแล้ว ก็มานิยมใช้ระบบวินโดว์ (Windows) แทน ระบบเหล่านี้ได้รับการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา เช่น ขณะนี้ ในขณะที่แมคใช้ System 8 หรือ 8.5 พีซีกำลังนิยมใช้ วินโดว์ 95 และ98 |
pc-dos | (พีซี ดอส) ย่อมาจาก personal computer disk operating system หมายถึง ระบบปฏิบัติการแบบใช้จาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือไมโครคอมพิวเตอร์ ลักษณะและวิธีใช้ก็เหมือน ๆ กับ MS DOS ที่บริษัทไมโครซอฟต์นำมาดัดแปลงจนใช้กันทั่วไปนั่นเอง ปัจจุบัน พีซีดอสได้มีการพัฒนาไปมากแล้ว แต่พอวินโดว์ 95 เป็นที่นิยม ระบบดอสก็ดูเหมือนจะไม่เป็นที่นิยมอีกต่อไป ไม่ว่าจะเป็นพีซีดอส หรือเอ็มเอสดอสดู MS DOS ประกอบ |
pcmcia | (พีซีเอ็มซีไอเอ) ย่อมาจาก Personal Computer Memory Card International Association (สมาคมระหว่างประเทศเพื่อบัตรความจำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล) แต่เดิมหมายถึงแผ่นวงจรที่ใช้บันทึกข้อมูล มีลักษณะเหมือนการ์ด ขนาดเท่าบัตรเครดิต (ยาว 8.5 ซม. กว้าง 5.4 ซม.) ต่อมาได้มีการพัฒนาให้นำมาใช้สอยได้มากขึ้น เช่น ใช้เป็นฮาร์ดดิสก์ก็ได้ เป็นการ์ดเพิ่มหน่วยความจำก็ได้ เป็นการ์ดแฟกซ์ หรือโมเด็มก็ได้ โครงสร้างของการ์ดนี้เป็นชิป (chip) ใช้เสียบเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมาก ๆ เช่น โน้ตบุ๊ก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในด้านต่าง ๆ บางด้าน |
Marketing development guidelines of Wang Suan Sunandha Hote | แนวทางการพัฒนาการตลาดของโรงแรมวังสวนสุนันทา |
Marketing development guidelines of Wang Suan Sunandha Hote | แนวทางการพัฒนาการตลาดของโรงแรมวังสวนสุนันทา |
Marketing development guidelines of Wang Suan Sunandha Hote | แนวทางการพัฒนาการตลาดของโรงแรมวังสวนสุนันทา |
*benchmarking* | (n, adv, abbrev) การพัฒนาองค์กรโดยเปรียบเทียบกับองค์กรอื่น |
amblyopia | (n) ตาขี้เกียจ ตาที่มีความชัดเจนในการมองเห็นน้อยกว่าปกติ เกิดจากการพัฒนาที่ไม่สมบูรณ์ของระบบการมองเห็น สามารถรักษาได้ในเด็กที่อายุไม่เกิน 6 ปี |
Backdoor account | (n) บัญชีลับหรือประตูหลัง ในภาษาทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง รูรั่วของระบบหรือซอฟแวร์ นักพัฒนาระบบจงใจสร้างทิ้งไว้ เพื่อให้ซอฟแวร์คอยส่งข้อมูลจากอุปกรณ์ที่มันติดตั้งอยู่ กลับไปหาโปรแกรมเมอร์ผู้พัฒนา หรือเป็นการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลภายในได้ |
CDM | [ซี ดี เอ็ม] (n) กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) เป็นกลไกที่กำหนดขึ้นภายใต้พิธีสารเกียวโต เพื่อช่วยให้ประเทศอุตสาหกรรมที่มีพันธกรณีในการลดก๊าซเรือนกระจกสามารถบรรลุพันธกรณีได้ และเพื่อส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศกำลังพัฒนา แนวความคิดของกลไกการพัฒนาที่สะอาดคือ โครงการที่เกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนาและสามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ผู้ดำเนินโครงการจะได้รับ Certified Emission Reduction (CERs) จากหน่วยงานที่เรียกว่า CDM Executive Board (CDM EB) และ CERs ที่ผู้ดำเนินโครงการได้รับนี้ สามารถนำไปขายให้กับประเทศอุตสาหกรรม ที่สามารถใช้ CERs ในการบรรลุถึงพันธกรณี่ตามพิธีสารเกียวโตได้ |
cern | [Organisation Européenne pour la Recherche Nucléaire] (n) เป็นองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปยุโรปเพื่อวิจัยและพัฒนาทางด้านนิวเคลียร์, Syn. European Organization for Nuclear Research |
Clostridium difficile | [คลอสตริเดียม ดิฟฟิไซล] แบคทีเรียหนึ่งในสาเหตุที่พบมากที่สุดของการติดเชื้อของลำไส้ใหญ่ ในสหรัฐอเมริกามีผลต่อผู้คนนับล้านต่อปี ผู้ป่วยที่ใช้ยาปฏิชีวนะอยู่ในความเสี่ยงของการกลายเป็นติดเชื้อกับการรักษาได้ยาก. ยาปฏิชีวนะจะรบกวนแบคทีเรียปกติของลำไส้, ช่วยให้ดื้อยาแบคทีเรียที่จะกลายเป็นตัวต้านที่อยู่ภายในลำไส้ใหญ่. หลายคนติดเชื้อแบคทีเรียรักษาลำบากเพราะไม่มีอาการ. คนเหล่านี้กลายเป็นผู้ให้บริการของเชื้อแบคทีเรียและสามารถติดเชื้อผู้อื่น ในคนอื่นๆ, สารพิษที่มีผลก่อให้เกิดโรคอุจจาระร่วง, อาการปวดท้อง, การอักเสบอย่างรุนแรงของลำไส้ใหญ่ (ไส้ใหญ่), ไข้, การตรวจนับเม็ดเลือดขาว, อาเจียนและการคายน้ำ. ในผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง, เยื่อบุภายในของลำไส้ใหญ่จะกลายเป็นที่รุนแรงอักเสบ (สภาพที่เรียกว่าเยื่อแผ่นบาง ๆ รอบเซลล์ผิดปกติ). ไม่ค่อยมีผนังและหลุมพัฒนา (ลำไส้ใหญ่จะไม่ค่อยมีผนังกั้นแต่จะเป็นรูพรุน) ซึ่งสามารถนำไปสู่การติดเชื้อที่คุกคามชีวิตของช่องท้อง |
compute | (vt) compute vt. คึ่มพิ้วท์ (พบบ่อย) 1. คำนวณ nc. ค็อมพิ้วเตอร์ (บังคับ) 1. (comp.) คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ประมวลผลที่มีความจำ ตามชุดคำสั่ง และสามารถบันทึกผลการประมวลได้ 2. (comp.) พนักงานคำนวณ ในแง่ที่ทำกันเป็นร้อยคน ในสมัยโบราณ ในงานดาราศาสตร์ (ความหมายโบราณ) nc. 1. (comp.) ศิลปะโดยคอมพิวเตอร์ คือ ศิลปที่สร้างหรือทำขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพ หรือระบายสี เป็นต้น nc. 1. (comp.) คอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง คือ ได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดเมนเฟรม หรือมินิคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางเครือข่ายทำหน้าที่บริการด้านประมวลผลข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการในเครือข่าย nc. 1. (comp.) สกุลของคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในกลุ่มที่สร้างขึ้นจาก microprocessor ชนิดเดียวกัน หรือ คล้ายกัน ตัวอย่างสกุลของคอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของบริษัทไอบีเอ็ม และแบบ PS /2 nc. 1. (comp.) เกมคอมพิวเตอร์ คือ การเล่นเกมโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ การเล่นเกมในคอมพิวเตอร์ มักควบคุมการเล่นโดยคันโยก (joystick)หรือ แป้นพิมพ์ (keyboard) ก็ได้ nc. 1. (comp.) ชุดคำสั่งที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งเพื่อจะนำไปใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานตามคำสั่งนั้น ๆ nc. 1. (comp.) ระบบคอมพิวเตอร์ คือ ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยชุดฮาร์ดแวร์ และเครื่องอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ร่วมกันของระบบ เช่น ระบบไมโครคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยตัวเครื่อง ดิสก์ไดร้ว์ จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ และเมาส์ nc. 1. (comp.) ยุคพัฒนาการคอมพิวเตอร์ ในช่วงระหว่างกลางปี พ.ศ. 2503 - 2513 เป็นยุคที่คอมพิวเตอร์เปลี่ยนมาใช้ IC หรือวงจรรวม ชื่อเต็มว่า integrated circuit หรือ IC n. (ศัพท์คอม) 1. (comp.) ความสามารถที่ใช้งานคอมพิวเตอร์ให้เป็นประโยชน์ nc. 1. (comp.) การใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสอน มีความหมาย เช่นเดียวกับ computer-assisted instruction สามารถดูคำอธิบายใน CAI n. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ศัพท์ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ v. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยทำงาน |
constructionism | [คันสทรัค'เชินนิซึม] (n) ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอ "ความรู้ไม่ ใช่มาจากการสอนของครูหรือผู้สอนเพียงอย่างเดียว แต่ความรู้จะเกิดขึ้นและสร้างขึ้นโดยผู้เรียนเอง การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง (Learning by doing) นอกจากนั้นมองลึกลงไปถึงการพัฒนาการของผู้เรียนในการเรียนรู้ซึ่งจะมี มากกว่าการได้ลงมือปฏิบัติสิ่งใดสิ่งหนึ่งเท่านั้น " |
Cystic kidney | โรคไตเรื้อรังเกิดขึ้นเมื่อไตของคนพัฒนาถุงที่เต็มไปด้วยของเหลวที่เรียกว่าซีสต์เมื่อเวลาผ่านไป โรคไตเรื้อรังที่ได้รับไม่เหมือนกับโรคไตกลายเป็นถุงน้ำ, โรคอื่นที่ทําให้เกิดไตในการพัฒนากลายเป็นซีสต์ |
Department of Business Development | (n) กรมพัฒนาธุรกิจการค้า |
hackathon | กิจกรรมสร้างสรรค์และพัฒนา มากจากกลุ่มนักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาร่วมชุมนุมกันในการเจาะทดสอบระบบคอมพิวเตอร์ว่ามีจุดอ่อนหรือควรแก้ไขอย่างไรบ้าง |
hard code | (vi, slang) เป็นข้อปฏิบัติในการพัฒนาซอฟท์แวร์ โดยการแนบอินพุทและการตั้งค่าต่างๆเอาไว้ใน source code ของโปรแกรมโดยตรงเลย, See also: hardcode, hardcoding, hard-code, hard-coding |
industrialized | (adj) ที่มีการพัฒนาทางอุตสาหกรรม |
Perl | (n, jargon, name) ชื่อภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง เขียนโดยคุณ Larry Wall ในช่วงทศวรรษ 1980 เริ่มเป็นที่นิยมใช้ ในการประมวลผลข้อความ (Text) และใช้เขียน CGI program, หลังจากนั้นได้พัฒนาความสามารถในหลายๆ ด้าน จนสามารถใช้ในงานคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย |
Perl | (n, jargon, name) ชื่อภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง เขียนโดยคุณ Larry Wall ในช่วงทศวรรษ 1980 เริ่มเป็นที่นิยมใช้ ในการประมวลผลข้อความ (Text) และใช้เขียน CGI program, หลังจากนั้นได้พัฒนาความสามารถในหลายๆ ด้าน จนสามารถใช้ในงานคอมพิวเตอร์ต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย |
Silverman | [ซิล-เวอร์-แมน] (org) Silverman เป็นแพลตฟอร์มด้านการบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย์, ก่อตั้งขึ้นในปี 2018 ได้สร้างและพัฒนาระบบแบบ all-in-1 ที่ดีที่สุด ที่พร้อมรองรับทุกความต้องการทั้งการจัดการอสังหาริมทรัพย์และการจัดการที่อยู่อาศัยสำหรับโครงการอสังหาริมทรัพย์ทุกประเภท ได้แก่ บ้านจัดสรร คอนโดมิเนียม อพาร์ตเมนต์ เซอร์วิสอพาร์ตเมนต์ หอพักและอาคารสำนักงาน |
state of the art | (adj) - ศาสตร์แห่งศิลป์ เป็นคำที่ใช้ในการอธิบายถึงขั้นตอนการพัฒนา ที่ล้ำสมัยและมีคุณค่าที่จะแยกแยะจากสิ่งอื่น ๆ ทั่วไปในปัจจุบันได้ ส่วนใหญ่จะมักจะนำไปใช้กับนามอะไรก็ได้ที่ต้องถูก "พัฒนาขึ้น" เช่นการบินไทยชอบใช้คำว่า The state-of-the-art inflight entertainment system. - ล่าสุด ส่วนใหญ่จะใช้กับ เทคโนโลยีที่พัฒนาไปเรื่อยๆ เช่น มือถือ คอมพิวเตอร์ เครื่องเสียง เป็นต้น, Syn. lastest |
Stoneflies | (n) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: Stonefly, Plecoptera, Stonefly, Syn. Plecoptera |
sustainable development | การพัฒนาอย่างยั่งยืน |
Teratogenic effects | (n) ผลต่อการผิดปกติของการพัฒนาการร่างกายทารกในครรภ์ ฤทธิ์การส่งถ่ายสารเคมีสู่ทารก |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
สบทร | (n, name, org, uniq) สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ (สบทร) ภายใต้การกำกับของ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช), See also: GITS |