256 ผลลัพธ์ สำหรับ *วิชาการ*
หรือค้นหา: วิชาการ, -วิชาการ-

Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
วิชาการขายเบื้องต้น(n, phrase) Introduction to Sales
วิชาการพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและการเพิ่มผลผลิต(n, phrase) Work Development with Quality Management System and Productivity
วิชาการอ่านภาษาอังกฤษธุรกิจ(n, phrase) Business English Reading
วิชาการเขียนภาษาอังกฤษธุรกิจ(n, phrase) Business English Writing
วิชาการใช้เครื่องใช้สำนักงาน(n, phrase) Office Equipment Usage

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
วิชาการ(adj) academic, See also: technical, Example: หนังสือที่พิมพ์แจกไปนั้นมีคุณค่าในงานวิชาการเป็นอย่างยิ่ง, Thai Definition: ที่เกี่ยวกับวิชาความรู้โดยเฉพาะ
วิชาการ(n) academic matter, See also: technical matter, Example: ผมได้มีโอกาสไปร่วมประชุมวิชาการเรื่องการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรม, Thai Definition: การที่เกี่ยวกับวิชาความรู้โดยเฉพาะ
กรมวิชาการ(n) Department of Curriculum and Instruction Development, Example: ตำราทางการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาส่วนใหญ่จัดทำขึ้นโดยกรมวิชาการ
ทางวิชาการ(adj) academic, Example: การวิจัยทางวิชาการเป็นกิจกรรมทางปัญญา เพื่อค้นหาความจริง
นักวิชาการ(n) technocrat, Example: บริษัทผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ชั้นนำต่างพยายามหลบเลี่ยงกลบเกลื่อน หรือสรรหานักวิชาการมายืนยันถึงความปลอดภัย, Count Unit: คน, ท่าน
นักวิชาการ(n) academician, See also: scholar, academic, Example: งานนี้เหมาะกับพวกนักวิชาการมากกว่าศิลปินอย่างเรา, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้มีความรู้ ความชำนาญ และศึกษาลึกซึ้งในสาขาวิชานั้นๆ
ด้านวิชาการ(n) academic, Example: ผู้บริหารการศึกษาควรให้ความสนใจงานด้านวิชาการมากกว่านี้
ฝ่ายวิชาการ(n) academic section, See also: technical side, academic administration, technical office, Example: ท่านเข้ามาทำงานวิจัยในฝ่ายวิชาการของกองอนุรักษ์สัตว์ป่าในปีพ.ศ.2526, Count Unit: ฝ่าย, Thai Definition: กลุ่มที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับวิชาความรู้โดยเฉพาะ
หลักวิชาการ(n) theory, See also: principle, Example: ระดับการปนเปื้อนของสารตะกั่วในน้ำดื่มตามหลักวิชาการไม่ควรเกิน 0.01 มิลลิกรัมต่อลิตร, Thai Definition: ทฤษฎีของวิชาการ
กรมวิชาการเกษตร(n) Department of Agriculture
กรมวิชาการเกษตร(n) Department of Agriculture
นักวิชาการพิเศษ(n) technical specialist, Example: อาจารย์อัญชลีได้รับเชิญให้ไปเป็นนักวิชาการพิเศษที่โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญพิเศษในสาขาวิชานั้น
เสรีภาพทางวิชาการ(n) academic freedom, See also: academic independence, Thai Definition: ความเป็นอิสระในทางวิชาการ
เสรีภาพทางวิชาการ(n) academic freedom, See also: academic independence, Thai Definition: ความเป็นอิสระในทางวิชาการ

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
นักวิชาการน. ผู้เชี่ยวชาญวิชาความรู้สาขาใดสาขาหนึ่งหรือหลายสาขา.
วิชาการน. วิชาความรู้สาขาใดสาขาหนึ่งหรือหลายสาขา เช่น บทความวิชาการ สัมมนาวิชาการ การประชุมวิชาการ.
การเมืองน. งานที่เกี่ยวกับรัฐหรือแผ่นดิน เช่น วิชาการเมือง ได้แก่วิชาว่าด้วยรัฐ การจัดส่วนแห่งรัฐ และการดำเนินการแห่งรัฐ.
ครุศาสตร์(คะรุสาด) น. วิชาว่าด้วยการสร้างพื้นฐานและความรู้ของการเป็นครู ประกอบด้วยวิชาการศึกษาเป็นต้น.
คันธรรพเวท, คานธรรพเวท(คันทันพะเวด, คันทับพะเวด, คานทันพะเวด, คานทับพะเวด) น. วิชาการดนตรี เป็นสาขาหนึ่งของสามเวท.
คำนำหน้าชื่อน. คำที่ใช้นำหน้าชื่อบุคคลเพื่อแสดงสถานภาพ ตำแหน่งทางวิชาการ ยศ บรรดาศักดิ์ หรือฐานันดรศักดิ์, คำนำหน้านาม ก็เรียก.
คำนำหน้านามน. คำที่ใช้นำหน้าชื่อบุคคลเพื่อแสดงสถานภาพ ตำแหน่งทางวิชาการ ยศ บรรดาศักดิ์ หรือฐานันดรศักดิ์, คำนำหน้าชื่อ ก็เรียก.
ชำนัญพิเศษน. เรียกนักวิชาการผู้มีความเชี่ยวชาญเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ ว่า ผู้ชำนัญพิเศษ
ด้าน ๑น. ฝ่าย, ข้าง, ทาง, ส่วน, เช่น ด้านซ้าย ด้านหัว ด้านหน้า ด้านวิชาการ ด้านศิลปกรรม ด้านวิทยาศาสตร์.
ติดยาเสพติดให้โทษน. เสพเป็นประจำติดต่อกันและตกอยู่ในสภาพที่จำเป็นต้องพึ่งยาเสพติดให้โทษนั้น โดยสามารถตรวจพบสภาพเช่นว่านั้นได้ตามหลักวิชาการ.
ทฤษฎี(ทฺริดสะดี) น. หลักการทางวิชาการที่ได้ข้อสรุปมาจากการค้นคว้าทดลองเป็นต้น เพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์หรือข้อมูลในภาคปฏิบัติ เช่น ทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของโลก ทฤษฎีแสง. (ส.; ป. ทิฏฺ ิ).
ทฤษฎีใหม่น. หลักวิชาการจัดการเกษตรที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงคิดค้นขึ้นเพื่อเป็นทางเลือกให้เกษตรกรพึ่งพาตนเองได้อย่างเข้มแข็ง มี ๓ ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นต้น คือ ครอบครัวเกษตรกรรายย่อยบริหารจัดการพื้นที่ทำกินให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยแบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วน คือ พื้นที่ขุดสระ พื้นที่ปลูกข้าว พื้นที่ปลูกพืชไร่พืชสวน และพื้นที่อยู่อาศัย เพื่อให้เกิดการผลิตที่พออยู่พอกิน ขั้นกลาง คือ รวมเป็นกลุ่มหรือสหกรณ์ ร่วมเพิ่มผลผลิตและจำหน่ายอย่างมีพลังต่อรอง และขั้นก้าวหน้า คือ สร้างเครือข่ายนอกชุมชนเพื่อหาแหล่งทุนมาร่วมลงทุนและพัฒนา ทุกขั้นตอนเน้นความมัธยัสถ์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง.
ธนาคารโลกน. คำสามัญเรียกธนาคารระหว่างประเทศเพื่อการบูรณะและการพัฒนา ซึ่งทำหน้าที่ให้กู้ยืมเงินแก่ประเทศที่เป็นสมาชิกของธนาคาร เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศของตนและให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ ธนาคารนี้ไม่รับฝากเงิน.
ธุรการน. การจัดกิจการงานโดยส่วนรวมของแต่ละหน่วย ซึ่งมิใช่งานวิชาการ.
ฝึกสอนก. ฝึกหัดการสอนในโรงเรียนตามหลักสูตรวิชาการศึกษา
แพทยศาสตร์วิชาการป้องกันและบำบัดโรค.
ภาษาราชการน. ภาษาที่ใช้สื่อสารในราชการและวิชาการเป็นต้น เช่น จดหมายติดต่อราชการ รายงานการประชุมของหน่วยงาน รายงานการวิจัย รายงานวิชาการสาขาต่าง ๆ, ภาษาระดับทางการ หรือ ภาษากึ่งแบบแผน ก็เรียก
มหาวิทยาลัย(มะหาวิดทะยาไล) น. สถาบันอุดมศึกษาที่มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลายสาขาวิชา หรือหลายกลุ่มสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา ปริญญา และประกาศนียบัตรบัณฑิตแก่ผู้สำเร็จการศึกษา รวมทั้งดำเนินการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ.
ระบบน. กลุ่มของสิ่งซึ่งมีลักษณะประสานเข้าเป็นสิ่งเดียวกันตามหลักแห่งความสัมพันธ์ที่สอดคล้องกัน ด้วยระเบียบของธรรมชาติหรือหลักเหตุผลทางวิชาการ เช่น ระบบประสาท ระบบทางเดินอาหาร ระบบจักรวาล ระบบสังคม ระบบการบริหารประเทศ.
เรียบเรียงก. แต่ง เช่น เรียบเรียงข้อความ เรียบเรียงถ้อยคำ, ตกแต่งถ้อยคำให้สละสลวยและเรียงลำดับความให้ชัดเจน เช่น แปลและเรียบเรียงหนังสือ, จัดเสียงเพิ่มเติมจากทำนองที่มีอยู่แล้วตามหลักวิชาการดนตรีเพื่อให้บทเพลงไพเราะขึ้น ในความว่า เรียบเรียงเสียงประสาน.
วารสารน. หนังสือที่ออกตามกำหนดเวลา พิมพ์เรื่องที่เป็นงานวิจัยหรือบทความทางวิชาการ มีผู้ตรวจรับรองคุณภาพทางวิชาการ เช่น วารสารราชบัณฑิตยสถาน วารสารศิลปากร วารสารกรมการแพทย์.
วิชาน. ความรู้, ความรู้ที่ได้ด้วยการเล่าเรียนหรือฝึกฝน, เช่น วิชาภาษาไทย วิชาช่าง วิชาการฝีมือ.
ศาสตราจารย์(สาดตฺรา-, สาดสะตฺรา-) น. ตำแหน่งทางวิชาการชั้นสูงสุดของสถาบันระดับอุดมศึกษา.
ศิลปวิทยาน. ศิลปะและวิชาการ.
ศิลปศาสตร์ตำราว่าด้วยวิชาความรู้ต่าง ๆ ในสมัยก่อนพุทธกาล มี ๑๘ ประการ ได้แก่ ๑. สูติ วิชาฟังเสียงคนเสียงสัตว์รู้ว่าดีหรือร้าย ๒. สัมมติ วิชาเข้าใจในกฎธรรมเนียม ๓. สังขยา วิชาคำนวณ ๔. โยคยันตร์ วิชาการช่าง ๕. นีติ วิชาแบบแผนราชการ ๖. วิเสสิกา วิชาการค้า ๗. คันธัพพา วิชานาฏศิลป์ ๘. คณิกา วิชากายบริหาร ๙. ธนุพเพธา วิชายิงธนู ๑๐. ปุราณา วิชาโบราณคดี ๑๑. ติกิจฉา วิชาการแพทย์ ๑๒. อิติหาสา วิชาตำนานหรือประวัติศาสตร์ ๑๓. โชติ วิชาดาราศาสตร์ ๑๔. มายา วิชาตำราพิชัยสงคราม ๑๕. ฉันทสา วิชาการประพันธ์ ๑๖. เกตุ วิชาพูด ๑๗. มันตา วิชาร่ายมนตร์ ๑๘. สัททา วิชาไวยากรณ์.
สถาปัตยเวท(สะถาปัดตะยะเวด) น. วิชาการก่อสร้าง เป็นสาขาหนึ่งของอุปเวท. (ส. สฺถาปตฺย + เวท). (ดู อุปเวท ประกอบ).
สืบเสาะและพินิจน. การค้นหาและรวบรวมข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคลและนำมาวิเคราะห์วินิจฉัยตามหลักวิชาการทางสังคมสงเคราะห์ แพทย์ จิตวิทยา กฎหมาย และหลักวิชาการอื่นที่เกี่ยวข้องกับบุคคลและครอบครัวของบุคคลนั้น.
อักษรศาสตร์(อักสอระสาด, อักสอนสาด) น. วิชาการหนังสือ เน้นในด้านภาษาและวรรณคดี.
อายุรศาสตร์น. ตำราหมอ, วิชาการรักษาโรคทางยา.
อุปเวท(อุปะเวด, อุบปะเวด) น. คัมภีร์ “พระเวทรอง” ของอินเดียโบราณ เนื้อหามีลักษณะเป็นวิทยาการ ไม่นับว่าเป็นคัมภีร์ศาสนา ได้แก่ อายุรเวท (วิชาแพทย์ ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์อถรรพเวทหรืออาถรรพเวท) ธนุรเวท (วิชายิงธนูและการใช้อาวุธอื่น ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์ยชุรเวท) คันธรรพเวทหรือคานธรรพเวท (วิชาการดนตรี ถือว่าเป็นสาขาของคัมภีร์สามเวท) และสถาปัตยเวท (วิชาการก่อสร้าง ไม่ระบุว่าเป็นสาขาของคัมภีร์พระเวทใด).

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
refrigeration๑. การทำความเย็น๒. วิชาการทำความเย็น [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕]
academicismคตินิยมวิชาการ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
academyสำนักวิชาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
academic freedomเสรีภาพทางวิชาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
journal papersบทความวิชาการวารสาร [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
biomedical instrumentationวิชาการอุปกรณ์ชีวเวช [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
computing๑. การคำนวณ, การคณนา [ มีความหมายเหมือนกับ computation ]๒. -คอมพิวเตอร์๓. การคอมพิวเตอร์๔. วิชาการคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
diagnosticsวิชาการวินิจฉัยโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
freedom, academicเสรีภาพทางวิชาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
therapeusisวิชาการรักษาโรค [ มีความหมายเหมือนกับ therapeutics ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
therapeutics๑. วิชาการรักษาโรค [ มีความหมายเหมือนกับ therapeusis ]๒. ตำราการรักษาโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
technocracyคตินิยมนักวิชาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
technocratนักวิชาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
nursing๑. การพยาบาล๒. วิชาการพยาบาล [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Conference paperเอกสารการประชุมทางวิชาการ, Example: <p>เอกสารการประชุมทางวิชาการ คือ เอกสารหรือบทความที่นำเสนอต่อที่ประชุมทางวิชาการหรือวิชาชีพ ที่จัดขึ้นทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ โดยสมาคม หน่วยงาน หรือองค์กร จัดให้มีการประชุม เพื่อเป็นการพบปะระหว่างนักวิทยาศาสตร์ นักวิชาชีพ ในสาขาวิชาเดียวกันอย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และความร่วมมือกัน มีการนำเสนอผลการค้นคว้าวิจัยใหม่ในที่ประชุม โดยต้องส่งเอกสารหรือบทความ หรือสาระสังเขป (บทคัดย่อ) ของเรื่องที่จะนำเสนอในที่ประชุมล่วงหน้า ในช่วงที่ประกาศรับการเสนอบทความ (Call for papers) และงานต้องมีคุณภาพมากเพียงพอที่กรรมการพิจารณาบทความจะยอมรับให้ได้ตีพิมพ์และนำเสนอบทความในการประชุมครั้งนั้น <p>ตัวอย่างการประชุมทางวิชาการ เช่น IFLA Conference (International Federation of Library Associations and Institutions : สหพันธ์ระหว่างประเทศว่าด้วยสมาคมและสถาบันห้องสมุด) ในกลุ่มวิชาชีพบรรณารักษศาสตร์และ สารนิเทศศาสตร์ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Journalวารสารวิชาการ, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110307-journal.jpg" alt="Journal"> <p>วารสารวิชาการจัดเป็นสิ่งพิมพ์ที่มีกำหนดออกที่แน่นอนและต่อเนื่อง โดยมีการนำเสนอเนื้อหาในลักษณะบทความและเรื่องราวทางวิชาการซึ่งเขียนโดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ขนาดส่วนใหญ่ประมาณ A4 มีความยาวของเนื้อหามากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับหนังสือพิมพ์ซึ่งเป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทหนึ่ง อีกทั้งมีการออกแบบและเทคนิคการจัดพิมพ์เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้อ่านด้วยภาพและสี <p>วารสารจัดเป็นแหล่งค้นคว้าและติดตามเรื่องราวและผลการศึกษาวิจัยใหม่ๆ ทางด้านวิชาการและความรู้ที่ทันสมัย ตลอดจนทัศนะและความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ รวดเร็วกว่าหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์อื่นๆ ดังนั้น สารสนเทศจากวารสารจึงมีความทันสมัยกว่าสารสนเทศจากแหล่งอื่นๆ <p>ส่วนประกอบหลักในวารสาร <p>ปก ส่วนใหญ่มักเป็นปกอ่อน และมีภาพที่สื่อถึงเนื้อหาในฉบับนั้นๆ โดย พิมพ์สี เพื่อความสวยงามและดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน ข้อมูลที่นำเสนอในหน้าปก คือ ชื่อวารสาร ชื่อผู้รับผิดชอบในการจัดทำ ข้อความระบุตัวเลขและ/หรือตัวอักษร คือ ปีที่ ฉบับที่ เดือน ปี พ.ศ. ของวารสารฉบับนั้นๆ ข้อความที่ระบุกำหนดออก ราคา เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร หรือ ISSN และ ชื่อบทความเด่นในวารสารฉบับนั้นๆ <p>หน้าปกใน ข้อมูลที่นำเสนอในหน้าปก คือ ชื่้อวารสาร ผู้รับผิดชอบในการจัดทำในส่วนต่างๆ เช่น บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ ผู้ช่วยบรรณาธิการ เจ้าของ เป็นต้น ข้อความระบุตัวเลขและ/หรือตัวอักษร คือ ปีที่ ฉบับที่ เดือน ปี พ.ศ. ของวารสารฉบับนั้นๆ กำหนดออก ราคาค่าบอกรับ ISSN วัตถุประสงค์ในการจัดทำ สำนักงาน หรือสถานที่ติดต่อ <p>หน้าบรรณาธิการ เป็นการพูดคุยระหว่างบรรณาธิการกับผู้อ่านเกี่ยวกับวารสารฉบับนั้นๆ <p>สารบัญ แสดงรายชื่อบทความ ผู้เขียน พร้อมหมายเลขหน้าที่เริ่มต้นบทความนั้นๆ เรียงลำดับตามเลขหน้า <p>เนื้อหา คือ ส่วนที่เป็นบทความ และคอลัมน์ โดยจัดเรียงลำดับตามที่สารบัญระบุไว้ อาจเป็นเรื่องสั้น หรือเรื่องยาว ทั้งที่จบในฉบับ หรืออ่านต่อเนื่องกันหลายฉบับ <p>รายละเอียดการพิมพ์ท้ายเล่ม คือ แหล่งข้อมูลสถานที่พิมพ์ โรงพิมพ์ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา <p>อื่นๆ วารสารวิชาการบางชื่อในส่วนท้ายเล่ม อาจมี ระเบียบการเขียนบทความที่จะลงพิมพ์ในวารสาร คำแนะนำการเตรียมต้นฉบับ รูปแบบการพิมพ์บทความ การส่งต้นฉบับ แบบฟอร์มใบสมัครสมาชิกวารสาร เป็นต้น <p>วารสารแต่ละชื่อมีกำหนดการออกทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน โดยแบ่งได้ดังนี้ <p>รายสัปดาห์ (Weekly) คือ 7 วัน : ครั้ง <p>รายปักษ์ (Bi-weekly) คือ 15 วัน : ครั้ง หรือ ครึ่งเดือน : ครั้ง <p>รายเดือน (Monthly) คือ 1 เดือน : ครั้ง <p>รายสองเดือน (Bi-monthly) คือ 2 เดือน : ครั้ง <p>รายสามเดือน (Quarterly) คือ 3 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 4 ฉบับ <p>รายสี่เดือน (Quarterly) คือ 4 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 3 ฉบับ <p>รายหกเดือน (Two times a year) คือ 6 เดือน : ครั้ง หรือ ปีละ 2 ฉบับ <p>รายชื่อวารสารสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย เข้าถึงที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/images/l_menu_S&T%20journal_02.png <p>รายชื่อวารสารสาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดย ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย เข้าถึงที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/list%20journal.php?branch=H <p>แหล่งข้อมูล <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา 13312 การวิเคราะห์สารสนเทศ. นนทบุรี : สาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Monographหนังสือ, เอกสารทางวิชาการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Transactionsรายงานของสมาคมหรือสถาบันทางวิชาการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
cybernaticsไซเบอร์เนติกส์ วิชาการเกี่ยวกับระบบควบคุม, Example: เช่น ระบบประสาทของสิ่งมีชีวิต เพื่อนำไปใช้พัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกส์ หรือระบบกลไกที่ทำงานคล้ายคลึงกัน วิชานี้เปรียบเทียบความคล้ายคลึง และต่างกันระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต และยึดหลักการพื้นฐาน ทางด้านการสื่อสารและการควบคุมที่สามารอธิบายการทำงานของทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตได้ ชื่อของวิชานี้มาจากคำภาษากรีก หมายความว่า นำ หรือ ปกครอง [คอมพิวเตอร์]
Scholarนักวิชาการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Agriculturisนักวิชาการเกษตร [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Fishery scientistนักวิชาการประมง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
clinical professorศาสตราจารย์คลินิก, ตำแหน่งทางวิชาการที่สภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งบุคลากรฝ่ายเวชกรรมที่มีความรู้ ความชำนาญในด้านการสอน การวิจัย การค้นคว้าทดลอง และวิธีบำบัดรักษาในภาคเวชปฏิบัติ ซึ่งมีคุณค่าทางวิชาการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Academic freedomเสรีภาพทางวิชาการ [TU Subject Heading]
Academic writingการเขียนทางวิชาการ [TU Subject Heading]
Agriculturistsนักวิชาการเกษตร [TU Subject Heading]
Learned institutions and societiesบัณฑิตยสถานและสมาคมทางวิชาการ [TU Subject Heading]
Naval educationการศึกษาวิชาการทหารเรือ [TU Subject Heading]
Scholarly publishingการจัดพิมพ์เอกสารวิชาการ [TU Subject Heading]
Scholarsนักวิชาการ [TU Subject Heading]
Scholars, Buddhistนักวิชาการพุทธศาสนา [TU Subject Heading]
Anemometryวิชาการวัดลม, Example: วิชาที่ว่าด้วยการศึกษาการวัดทิศทาง และความเร็วลมรวมทั้งการ วัดทิศทางในแนวยืน (vertical component) ด้วย [สิ่งแวดล้อม]
ASEAN Free Trade Area - Australia-New Zealand Closer Economic Relations Trade Agreement (ANZCERTA or CER)ความร่วมมือระหว่างเขตการค้าเสรีอาเซียนและกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจและ การค้าออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ เป็นความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เพื่อส่งเสริมการค้า การลงทุน ความร่วมมือทางวิชาการ ด้านศุลกากร การขนส่ง การแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านมาตรฐานและการรับรองระหว่างกัน [การทูต]
Agreement on Economic and Technical Cooperationความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ [การทูต]
ASEAN Regional Forumการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต]
APEC Study Centersศูนย์ศึกษาเอเปค มีการจัดตั้งศูนย์ศึกษาเอเปคในแต่ละประเทศสมาชิก 15 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคด้วยการ ศึกษา การพัฒนาฝีมือแรงงาน และอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนความรู้และวัฒนธรรม ตลอดจนส่งเสริมความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างสมาชิกเอเปคในภูมิภาค ทั้งนี้ ศูนย์ศึกษาเอเปคได้มีบทบาทสำคัญในกิจกรรมต่าง ๆ ของประเทศสมาชิก เช่น กิจกรรมการประเมินผลการดำเนินความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการของเอเปค เป็นต้น [การทูต]
Association of South-East Asian Nationsสมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน จัดตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 เพื่อร่วมมือและส่งเสริมสันติภาพ เสถียรภาพ ความเจริญทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสังคม วัฒนธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์และการบริหารในภูมิภาค โดยมีสมาชิกเริ่มแรก 5 ประเทศ คือ อินโดนิเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์และไทย ต่อมาบรูไน ดารุสซาลาม ได้เข้าเป็นสมาชิกประเทศที่ 6 เมื่อปี พ.ศ. 2527 เวียดนามเป็นสมาชิกประเทศที่ 7 ในปี พ.ศ. 2538 ลาวและพม่าเข้าเป็นสมาชิกพร้อมกันในปี พ.ศ. 2540 และกัมพูชาเข้าเป็นสมาชิกอาเซียนลำดับสุดท้ายหรือประเทศที่ 10 เมื่อปี พ.ศ. 2542 [การทูต]
Asia-Europe Foundationเป็นกลไกหนึ่งภายใต้อาเซม เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ วัฒนธรรม และประชาชนกับประชาชน ระหว่างประเทศสมาชิก [การทูต]
Asia-Africa Cooperationความร่วมมือระหว่างเอเชียกับแอฟริกา " เป็นความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียกับ ภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งอยู่ภายใต้กรอบการประชุมระหว่างประเทศเพื่อ การพัฒนาแอฟริกา ณ กรุงโตเกียว (Tokyo International Conference on African Development - TICAD) " [การทูต]
Council for Security and Cooperation in the Asia-Pacificชมรมด้านความมั่นคงและความร่วมมือในเอเชียแปซิฟิก เป็นสถาบันเอกชนก่อตั้งขึ้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2536 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยมีสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ (Institute of Security and International Studies : ISIS) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันก่อตั้งร่วมกับสถาบันอื่น ๆ จากประเทศอาเซียนและประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก CSCAP เป็นกลไกที่ไม่ใช่เป็นทางการ เพื่อให้นักวิชาการ เจ้าหน้าที่รัฐบาลในฐานะส่วนตัวและบุคคลอื่นได้อภิปรายปัญหาทางการเมืองและ ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก [การทูต]
Economic and Technical Cooperationความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจและวิชาการ [การทูต]
SOM Sub-committee on ECOTECHคณะอนุกรรมการเจ้าหน้าที่อาวุโสเอเปคว่าด้วยความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจและ วิชาการ [การทูต]
Gorbachev doctrineนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต]
Hugo Grotius (1583-1645)บรมครูทางกฎหมายของเนเธอร์แลนด์ เป็นบุคคลแรกที่ได้ประกาศเสรีภาพของทะเล (Freedom of the Seas) ในตำราของท่านชื่อ Mare Liberumนักกฎหมาย รัฐบุรุษ และปรัชญาเมธีด้านมนุษยธรรมของเนเธอร์แลนด์ผู้นี้ ภายหลังเกิดมาได้ไม่กี่ปีก็ส่อให้เห็นว่าเป็นเด็กที่เฉลียวฉลาดอย่างน่า มหัศจรรย์ เขาเริ่มศึกษาวิชากฎหมายตั้งแต่มีอายุได้ 11 ขวบ ณ สถาบันศึกษาชั้นสูงแห่งเลย์เด็นในเนเธอร์แลนด์ และได้รับปริญญาเอกทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัย ณ เมืองออร์ลีนส์ ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อมีอายุได้เพียง 15 ปี โดยที่เป็นผู้ฝักใฝ่ในการเมือง เขาได้ถูกลงโทษจำคุกตลอดชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1618 ด้วยข้อหาทางการเมือง แต่ต่อมาใน ค.ศ. 1621 ได้หลบหนีไปยังประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ 1625 เขาได้แต่งตำรากฎหมายซึ่งถือกันว่าเป็นตำราอมตะชื่อว่า Jure Belli ac Pacis (แปลว่า เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยสงครามและสันติภาพ) เป็นงานเขียนที่เหมาะกับสมัย และเขียนอย่างนักวิชาการอันเยี่ยมยอดที่สุดไม่มีใครเหมือนในสมัยนั้น และด้วยความรู้สึกที่รักความยุติธรรมอย่างแรงกล้าด้วยเหตุนี้ ทั่วโลกจึงขนานนาม Hugo Grotius ว่าเป็นบิดาแห่งกฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎหมายนานาชาติ (Father of the Law of Nations) [การทูต]
International Maritime Organizationองค์การกิจการทางทะเลระหว่างประเทศ " เป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2502 โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเป็นเวทีระหว่างประเทศสมาชิก ในการกำหนดมาตรฐาน และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัย ในการเดินเรือ และการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมทางทะเล รวมทั้งเป็นกลไกในการสร้างความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศสมาชิก ปัจจุบัน มีสมาชิก 155 ประเทศ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร " [การทูต]
Inter-Governmental Maritime Consultative Organizationองค์การที่ปรึกษาทางทะเลระหว่างรัฐบาล หมายถึงองค์การที่ปรึกษาเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างรัฐบาล องค์การนี้มีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ ประเทศทั้งหมดรวม 35 ประเทศ ได้ประชุมร่วมกันจัดทำอนุสัญญาขององค์การนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก ในการประชุมขององค์การที่ปรึกษาการเดินเรือทางทะเล ณ กรุงเจนีวา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1958 เมื่อมีประเทศต่าง ๆ รวม 21 ประเทศได้ให้สัตยาบัน ซึ่งในจำนวนนี้ 7 ประเทศเป็นอย่างน้อยจะต้องมีเรือเดินทะเลของตนไม่น้อยกว่า 1 ล้านตัน (Gross tons) วัตถุประสงค์ขององค์การ IMCO คือ1. จัดวางกลไกเพื่อความร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิก ในด้านการวางระเบียบข้อบังคับของราชการ และการปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องทางวิชาการหรือเทคนิค รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล2. สนับสนุนให้มีการยกเลิกการกระทำที่เลือกที่รักมักที่ชัง และข้อจำกัดต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล3. รับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติในทำนองตั้งข้อจำกัดอย่างไม่ยุติธรรมของบริษัท หรือองค์การเดินเรือทั้งหลาย4. รับพิจารณาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเดินเรือ ที่องค์การหนึ่งใดหรือองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติส่งมาให้พิจารณา 5. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อสนเทศใด ๆ ระหว่างรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องที่องค์การ IMCO กำลังพิจารณาอยู่องค์การนี้ยังจัดให้มีการร่างอนุสัญญาและความตกลงต่าง ๆ รวมทั้งส่งข้อเสนอแนะเหล่านี้ไปให้รัฐบาล และองค์การระหว่างรัฐบาลทั้งหลาย รวมทั้งจัดการประชุมเท่าที่พิจารณาเห็นว่าจำเป็นองค์การนี้ประชุมกันทุกสอง ปี มีหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างสมัยประชุมจะมีคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ทำหน้าที่บริหารงานในองค์การ คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิก 16 คน ในจำนวนนี้ 8 คน เป็นผู้แทนจากประเทศที่สนใจให้การบริการเกี่ยวกับการเดินเรือระหว่างประเทศ และอีก 8 คนเป็นตัวแทนจากประเทศที่สนใจการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การมีสำนักเลขาธิการ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ เลขานุการคณะกรรมการเกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล และเจ้าหน้าที่ประจำตามจำนวนที่องค์การต้องการแล้วแต่กรณี สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ [การทูต]
International Labor Organizationคือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต]
International Trade Centreศูนย์พาณิชยกรรมระหว่างประเทศ ภายใต้อังค์ถัดและองค์การการค้าโลก เป็นศูนย์กลางของสหประชาชาติ สำหรับการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศกำลังพัฒนาในด้านการส่งเสริม การค้าและการพัฒนาการส่งออก [การทูต]
International Telecommunication Unionสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งอยู่ที่นครเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ มีหน้าที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านการติดต่อสื่อสารโทรคมนาคม ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศกำลังพัฒนาในด้านโทรคมนาคม สนับสนุนการพัฒนาในด้านดังกล่าว เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชาติทั้งปวง [การทูต]
member of the administrative and technical staffบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการ คือ บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนซึ่งทำงานเกี่ยวกับบริการฝ่ายธุรการและ ฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน [การทูต]
member of the staff of the missionบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทน " คือ บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูต คณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและ ฝ่ายวิชาการ และคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทน " [การทูต]
New Diplomacyการทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต]
Official Development Assistanceความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาอย่างเป็นทางการ " เป็นความช่วยเหลือของภาครัฐบาลที่ประเทศพัฒนาแล้วให้กับประเทศกำลังพัฒนา เพื่อการปรับปรุงโครงสร้างเศรษฐกิจ มาตรฐานความ เป็นอยู่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสถาบันต่าง ๆ เพื่อการพัฒนาประกอบด้วยความช่วยเหลือ 3 ด้านหลัก คือ ความช่วยเหลือให้เปล่า ความร่วมมือทางวิชาการ และเงินกู้ " [การทูต]
Persons Entitled to Diplomatic Privileges and Immunitiesบุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน [การทูต]
Political Appointeeหมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง คือ ผู้ที่มิได้มีอาชีพทางการทูตโดยแท้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูต ซึ่งต่างกับนักการทูตอาชีพ (Career diplomat) ในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหภาพโซเวียต ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปจะแต่งตั้งเฉพาะบุคคลที่มีอาชีพนักการทูตแท้ ๆ เข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและอัครราชทูต อย่างไรก็ดี เฉพาะในกรณีพิเศษจริง ๆ เท่านั้นจึงจะแต่งตั้งบุคคลจากภายนอก และบุคคลจากภายนอกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตได้รับผลสำเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ก็มีอยู่หลายราย ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แฮโรลด์ นิโคลสัน ได้ให้ความเห็นไว้ในหนังสือเรื่องการทูตของท่านว่า ในประเทศใหญ่ ๆ เป็นที่พึงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้นักการทูตอาชีพเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ เพราะได้ผ่านการศึกษาและฝึกฝนในวิชาการทูตมาเป็นอย่างดีแล้ว ส่วนเอกอัครราชทูตที่แต่งตั้งจากคนภายนอกจะมีข้อเสียบางอย่าง เช่น ในการเขียนรายงานไปยังรัฐบาล เช่น รายงานการเมือง เขาอาจมุ่งแต่จะอวดความเฉียบแหลมของเขาเอง และร้อยกรองคำอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มากกว่าที่จะมุ่งเสนอรายงานข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบและมีเหตุผลอันสมควร เป็นต้น [การทูต]
Political Offensesความผิดทางการเมือง หลักการข้อหนึ่งของการส่งตัวผู้กระทำความผิดไปให้อีก ประเทศหนึ่ง หรือที่เรียกว่าการส่งผู้ร้ายข้ามแดน คือ ผู้ที่กระทำผิดทางการเมืองจะถูกส่งข้ามแดนไปให้อีกประเทศหนึ่งไม่ได้เป็นอัน ขาด แต่อย่างไรก็ดี มีปัญหาในปฏิบัติคือว่า จะแยกความแตกต่างกันอย่างไรระหว่างความผิดทางการเมือง กับที่มิใช่ด้วยเหตุผลทางการเมือง นักวิชาการบางท่านนิยามความหมายของคำว่าความผิดทางการเมืองไว้ว่า คือ ความผิดฐานกบฏ (Treason) ซึ่งในกฎหมายของหลายประเทศหมายถึงการประทุษร้าย หรือพยายามประทุษร้ายต่อประมุขของประเทศ หรือช่วยฝ่ายศัตรูทำสงครามกับประเทศของตน ความผิดฐานปลุกปั่นให้เกิดความไม่สงบภายในประเทศ (Sedition) หรือการประกอบจารกรรม (Espionage) อันเป็นการคุกคามต่อความั่นคงหรือต่อระบบการปกครองของประเทศผู้ร้องขอ (หมายถึงประเทศที่ร้องขอให้ส่งตัวผู้กระทำผิดไปให้ในลักษณะผู้ร้ายข้ามแดน) ไม่ว่าจะกระทำโดยคนเดียวหรือหลายคนก็ตาม [การทูต]
South Asian Association for Regional Cooperationสมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคเอเชียใต้ จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อเดือนธันวาคม 2528 เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและวิชาการระหว่างกัน โดยมีสมาชิกประกอบด้วยประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้ 7 ประเทศ ได้แก่ อินเดีย ปากีสถาน เนปาล ศรีลังกา ภูฏาน บังกลาเทศ และมัลดีฟส์ [การทูต]
South-South Cooperationความร่วมมือใต้-ใต้ หรือ ความร่วมมือระหว่างประเทศกำลังพัฒนา " เป็นความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการที่ประเทศกำลังพัฒนา/ ด้อยพัฒนา ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันภายหลังจากที่ความ ช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและวิชาการที่ประเทศที่พัฒนาแล้วได้ให้แก่ประเทศกำลัง พัฒนา/ด้อยพัฒนามีแนวโน้มลดลงและมีการนำเงื่อนไขอื่น ๆ มาผูกกับการให้ความช่วยเหลือมากขึ้น อาทิ ประเด็นสิ่งแวดล้อม โดยความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการระหว่างประเทศกำลังพัฒนา/ด้อยพัฒนานี้ จะเป็นทั้งในลักษณะของการให้ (อาทิ ทุนการศึกษา/ทุนฝึกอบรม/ทุนดูงาน/ผู้เชี่ยวชาญ/วัสดุอุปกรณ์) ของประเทศใดประเทศหนึ่งแต่ฝ่ายเดียว อาทิ การให้ความร่วมมือด้านทุนฝึกอบรมระยะสั้นในสาขาการเกษตรของไทยแก่ประเทศใน แอฟริกา และในลักษณะของการแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน " [การทูต]
Special and Differential Treatment (S and D)การประติบัติแบบพิเศษและแตกต่าง " ในความตกลงต่าง ๆ ของ WTO จะมีข้อบทเกี่ยวกับการให้การปฏิบัติเป็นพิเศษและแตกต่างแก่สมาชิกที่เป็น ประเทศกำลังพัฒนา ข้อบท ดังกล่าวอาจแบ่งกว้าง ๆ ได้เป็น 3 ลักษณะ คือ (1) ข้อบทที่กำหนดให้ประเทศพัฒนาแล้วต้องดำเนินมาตรการเพื่อช่วยอำนวยความสะดวก ทางการค้าแก่ประเทศเหล่านี้ (2) ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติตามพันธะกรณีในความตกลงต่าง ๆ อาทิ ระยะเวลาปรับตัวที่นานกว่าหรือระดับการเปิดตลาดที่น้อยกว่าประเทศพัฒนาแล้ว (3) การให้ความช่วยเหลือทางวิชาการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะแก่ประเทศเหล่านี้ " [การทูต]
Technical Cooperation among Developing Countriesความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศกำลังพัฒนา " เป็นกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความร่วมมือทางวิชาการภายใต้กรอบขององค์การสหประชา ชาติ โดยเป็นการแลกเปลี่ยนคณะเจ้าหน้าที่เพื่อการดูงาน/ฝึกอบรม และแลกเปลี่ยนผู้เชี่ยวชาญระหว่างประเทศกำลังพัฒนาด้วยกัน โดยประเทศที่ขอหรือส่งเจ้าหน้าที่จะรับผิดชอบ ค่าเดินทางระหว่างประเทศ ในขณะที่ประเทศเจ้าภาพจะรับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายภายในประเทศ อาทิ ค่ากินอยู่ ค่าฝึกอบรม/ดูงาน " [การทูต]
Third Country Training Programโครงการฝึกอบรมประเทศที่สาม " เป็นรูปแบบการให้ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมวิเทศสหการกับองค์การ ระหว่างประเทศและ/หรือรัฐบาลต่างประเทศในการจัด หลักสูตรการศึกษา/ฝึกอบรม/ดูงานให้แก่ผู้รับทุนจากประเทศกำลังพัฒนา โดยองค์การระหว่างประเทศหรือรัฐบาลต่างประเทศเป็น ผู้สนับสนุนค่าใช้จ่ายของผู้รับทุนและค่าใช้จ่ายในการศึกษา/ฝึกอบรม/ ดูงาน " [การทูต]
The Foreign Officeในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต]
United Nations Conference on Trade and Developmentการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (อังค์ถัด) " เป็นองค์กรของสหประชาชาติที่รับผิดชอบเรื่องการค้า การเงิน การ ลงทุน เทคโนโลยี และการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ โดยมีหน้าที่เป็นเวทีประสานนโยบายระหว่างรัฐบาล ศึกษาวิเคราะห์สภาวะเศรษฐกิจโลกและให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ประเทศ กำลังพัฒนา ปัจจุบันมีรัฐสมาชิก 190 ประเทศ ประชุมระดับรัฐมนตรีปีละ 4 ครั้ง ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมอังค์ถัดครั้งล่าสุด (ครั้งที่ 10) เมื่อเดือน กุมภาพันธ์ 2543 " [การทูต]
United Nations Development Programmeโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา ทำหน้าที่ปริหารและประสานความช่วยเหลือด้านวิชาการทั้งหมดในระบบสหประชาชาติ [การทูต]

ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
I see you've been mentioned in Congress, Giuseppe. ผมเห็นคุณได้รับการกล่าวถึง ในการประชุมวิชาการ, Giuseppe In the Name of the Father (1993)
Quite a scholar, I see. ค่อนข้างนักวิชาการที่ฉันเห็น Pinocchio (1940)
Professor Gerald Lambeau, Field's medal winner for combinatorial mathematics. นักคณิตศาสตร์เหรียญทองและ นักวิชาการคณิตศาสตร์ หวัดดี Good Will Hunting (1997)
I've decided to analyze it, logically, with a scientific method. ฉันตัดสินใจที่จะวิเคราะห์ อย่างเป็นระบบตามหลักวิชาการ The Red Violin (1998)
You talked about being a senator or a diplomat. ไหนว่าอยากเป็นวุฒิสมาชิก หรือนักวิชาการ Rushmore (1998)
Our style was originally used for killing. เดินทีวิชาการต่อสู้ของพวกเรามีไว้เพื่อสังหาร Street Fighter Alpha (1999)
K1 วิชาการต่อสู้หรอ Sex Is Zero (2002)
Education children K1 things กำลังศึกษาทางด้านวิชาการต่อสู้อ่ะ Sex Is Zero (2002)
Go back to school, get at Ieast a passing familiarity with the english language. กลับไปเรียนหนังสือ อย่างน้อยก็ ไปสอบวิชาการใช้ภาษาให้ผ่าน Bringing Down the House (2003)
It's made of scholars, theologians, scientists, philosophers... มันทำของนักวิชาการศาสนาศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์นักปรัชญา Contact (1997)
Actually, technically speaking, he is... not really a murderer. ที่จริงแล้ว ในทางวิชาการบอกว่า เขาเป็น... ยังไม่ใช่ฆาตกรจริงๆ Saw (2004)
Bringing new defense against the Dark Arts teachers I'm here because Dumbledore asked me to จะมาเป็น อ.สอนวิชาการป้องกันตัวจากศาสตร์มือ คนใหม่ ฉันมาที่นี่ เพราะดัมเบิมดอร์เชิญฉันมาสอน Harry Potter and the Goblet of Fire (2005)
I can think of dozens of scholars who know a lot more about it. มีนักวิชาการหลายสิบคนที่รุ้เรื่องของมันมากกว่าผม The Da Vinci Code (2006)
- Larry Sugarman is, perhaps... the second most highly regarded Proust scholar in the U.S. นักวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิอันดับ 2 ของ U.S. Little Miss Sunshine (2006)
I just want everyone here to know... that I am the preeminent Proust scholar in the United States. ฉันอยากบอกทุกคนที่นี่ให้รู้ว่า... ฉันเป็นนักวิชาการทรงคุณวุฒิที่สุดในอเมริกา Little Miss Sunshine (2006)
Did I mention that I am the preeminent Proust scholar in the U. S? ฉันเคยบอกหรือยังว่าฉันเป็นนักวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิของอเมริกา Little Miss Sunshine (2006)
Is it because I transferred you from an academic school? เพราะฉันย้ายแกมาจากโรงเรียนวิชาการรึไง Art of Fighting (2006)
The art of fighting. วิชาการต่อสู้ Art of Fighting (2006)
He's pulling us all down with his wet dreams of being a damn scholar. เขาดึงให้พวกเราต้องลำบาก ด้วยฝันเปียก อยากเป็นวิชาการของเขา The City of Violence (2006)
You have an academic interest in disassociative identity disorder, or you just planning your defense? คุณมีความสนใจทางวิชาการ เกี่ยวกับพวกบุคลิกซ้อน หรือคุณแค่วางแผนป้องกัน Extreme Aggressor (2005)
I've always thought a picture outside the world ฉันนึกภาพข้างนอกเสมอ / โลกที่ประสบความสำเร็จด้วยวิชาการ Harry Potter and the Order of the Phoenix (2007)
Yeah. It's infinite, theoretically. ใช่ มันไม่มีที่สิ้นสุดตามหลักวิชาการ Charlie Bartlett (2007)
Mom? นั่นเป็นการให้ความสำคัญ มากกว่าด้านวิชาการ Chapter Nineteen '.07%' (2007)
Then close your eyes. เชื่อตามหลักวิชาการ Twilight (2008)
Huh, BioScience conference. อือ การประชุมทางวิชาการทางด้าน BioScience Chuck Versus the Ex (2008)
If you get tired of that Journal, I thought you might enjoy a little light reading. ถ้าคุณเบื่ออ่านเอกสารวิชาการแล้ว, ฉันคิดว่าคุณน่าชอบอ่านนี่นะ Page Turner (2008)
and even managed to get a few papers published before he was found out. เคยมีผลงานทางวิชาการ ตีพิมพ์ 2-3 ชิ้น ก่อนจะถูกจับได้ Pilot (2008)
You know, surgical skills, hours in the O.R. Published papers, academic accomplishments-- you know them. ทักษะด้านการผ่าตัด ความถีในการเข้าผ่าตัด รายงานวิจัยเผยแพร่ บทความวิชาการ All by Myself (2008)
You of all people should know, this is bereavement 101. จากคนทั้งหมด โดยเฉพาะนายน่าจะรู้ว่านี่คือวิชาการสูญเสียคนรัก 101 Dying Changes Everything (2008)
Scholars and philosophers, my lord, escaping persecution. เป็นเหล่านักวิชาการ และนักปรัชญา ที่รอดพ้นจากการประหารเพคะ The Other Boleyn Girl (2008)
She said, you would be in the... library cause you were a geek... เขาบอกว่า คุณจะอยู่ที่ห้องสมุด เพราะคุณเป็นพวกบ้าวิชาการ Made of Honor (2008)
I am not a geek.. God. ฉันไม่ใช่พวกบ้าวิชาการ Made of Honor (2008)
And these interviews are always gonna be around for future generations of academics and political historians. ไม่มีใครเลยสามารถทำได้แบบนั้น แล้วการสัมภาษณ์แบบนี้ ก็จะปรากฎอยู่กับคนรุ่นหน้า ไม่ว่านักวิชาการและ นักประวัติศาสตร์การเมือง Frost/Nixon (2008)
Apparently, she achieved the highest ever result from the Botswana College of Secretarial and Office Skills. เริดมาก เธอเคยประสบความสำเร็จอย่างสูงสุด จากวิทยาลัยบอตสวานา ด้านเลขานุการวิชาการ The No. 1 Ladies' Detective Agency (2008)
You were hilarious today in drama class. วันนี้ในวิชาการละครเธอดูขำสุดๆ Pineapple Express (2008)
Academically? ด้านวิชาการเหรอ? Doubt (2008)
The superficial crane attack. You kicked it again. วิชาการเรียนเงาจู่โจม Dragonball: Evolution (2009)
Well, we were gonna hit that party for the tech conference at the hotel. เอ่อ คือ เราจะไปปาร์ตี้ ของการประชุมวิชาการที่โรงแรมจัดขึ้นน่ะ Up in the Air (2009)
PhD in Egyptology... promising academic career, veteran of archaeological digs all over the Middle East. วิชาปรัชญา เชี่ยวชาญทางวิชาการ ซึ่งมีประสบการณ์ทางด้านโบราณคดี ทุกแห่งในตอนกลางของตะวันออก Episode #3.1 (2009)
Yes, and I'm hoping that our friendship... will yield certain advantages. จะช่วยสร้างความได้เปรียบตรงนี้ - คุณก็รู้ เรื่องคำแนะนำของวิชาการ... Pilot (2009)
A paper you wrote is getting a lot of attention over there. บทความทางวิชาการที่คุณเขียนไว้ ที่นั่นสนใจมาก ถ้าคุณต้องการ.. Episode #1.7 (2009)
- me too. it sounds educational. - ฉันด้วย มันฟังดูเป็นวิชาการดีนะ Introduction to Film (2009)
I mean, i'd rather take an actual class,  ผมหมายถึง ผมน่าจะลงเรียนวิชาที่เป็นวิชาการแทนนะ Introduction to Film (2009)
I am one of the foremost scholars on ancient hieroglyphs. ฉันเป็นนักวิชาการคนหนึ่ง ที่ล้ำหน้ามากในเรื่อง อักษรภาพอียิปต์โบราณ A Night at the Bones Museum (2009)
I can't imagine anyone destroying an artifact like that, especially a scholar like Turnbull. ฉันไม่คิดฝันเลยว่า จะมีใครกล้าทำลาย วัตถุโบราณ ยิ่งไปกว่านั้นเขาเป็นถึง นักวิชาการที่ชื่อเทิร์นบูล A Night at the Bones Museum (2009)
- Hello. - I've heard about your special psych lab. - ฉันลงเรียนวิชาการบรรยาย 101 ของคุณ Social Psychology (2009)
Do you ever read anything Oother than technical books? คุณเคยอ่านอะไร นอกจากหนังสือวิชาการบ้างมั๊ย The Performer (2009)
I got a presentation on Friday and public speaking gives me the nervous sweats. วันศุกร์ฉันมีพรีเซ้นต์งานวิชาการตลาด และการพูดหน้าชั้นก็ทำให้ฉันเกรงจนเหงื่อแตกแล้ว Environmental Science (2009)
I met her in my marketing class. ฉันเจอเขาในคลาสวิชาการตลาด Politics of Human Sexuality (2009)
In academic vernacular. You cheated. -ทางศัพท์วิชาการคือโกงข้อสอบ Star Trek (2009)

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
เจ้าหน้าที่ฝ่ายวิชาการ[jaonāthī fāi wichākān] (n, exp) EN: technical service
เกี่ยวกับวิชาการ[kīokap wichākān] (adj) EN: academic  FR: académique
นักวิชาการ[nakwichākān] (n) EN: academician ; scholar ; academic
นักวิชาการ[nakwichākān] (n) EN: technocrat ; specialist  FR: spécialiste [ m ]
นักวิชาการชาวต่างชาติ[nakwichākān chāo tāngchāt] (n, exp) EN: foreign academic
นักวิชาการด้าน...[nakwichākān dān …] (n, exp) FR: spécialiste en … [ m ]
นักวิชาการด้านกฎหมาย[nakwichākān dān kotmāi] (n, exp) EN: jurist
หนังสือวิชาการ[nangseū wichākān] (n, exp) EN: technical book  FR: livre technique [ m ]
ภาษาวิชาการ[phāsā wichākān] (n, exp) EN: technical language ; specialized language
โรงเรียนวิชาการ[rōngrīen wichākān] (n, exp) EN: technical school ; vocational school  FR: école technique [ f ] ; école professionnelle [ f ]
โรงเรียนวิชาการโรงแรม[rōngrīen wichākān rōng raēm] (n, exp) EN: hotel management school  FR: école hôtelière [ f ] ; école profesionnelle d'hötellerie [ f ]
เสรีภาพทางวิชาการ[sērīphāp thang wichākān] (n, exp) EN: academic freedom ; academic independence
ทางวิชาการ[thāng wichākān] (adj) EN: academic
วิชาการ[wichākān] (n) EN: technique ; technology ; expertise ; academic matter ; technical matter  FR: technique [ f ] ; technologie [ f ]
วิชาการ[wichākān] (adj) EN: technical  FR: technique
วิชาการบัญชี[wichākānbanchī] (n) EN: accounting  FR: comptabilité [ f ]
วิชาการด้านสารสนเทศ[wichākān dān sārasonthēt] (n, exp) EN: information science  FR: technologie de l'information [ f ]
วิชาการรบ[wichākān rop] (n, exp) EN: strategy

Longdo Approved EN-TH
nerdy(adj, slang) (คน) ที่ฉลาดแต่เรื่องเรียนหรือทางวิชาการ แต่มักไม่ค่อยเก่งในการเข้าสังคม, See also: nerd, geek
geeky(adj) ที่เชี่ยวชาญเรื่องเทคโนโลยี หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์, บ้าเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์, บ้าวิชาการ, ที่หมกมุ่นกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งมาก

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
abstract(adj) ทางทฤษฎี, See also: ทางหลักวิชา, ทางหลักการ, ทางวิชาการ, Syn. theoretical
academic(adj) ซึ่งมีลักษณะเป็นนักวิชาการ, See also: ซึ่งคงแก่เรียน, Syn. schoraly, scholastic
academic(adj) ด้านวิชาการ, See also: ทางวิชาการ
academic(adv) ด้านวิชาการ
bookkeeping(n) วิชาการทำบัญชี, Syn. accounts, double entry
educator(n) นักการศึกษา, See also: นักวิชาการศึกษา, Syn. instructor, pedagogue
egghead(n) ผู้มีปัญญา (คำไม่เป็นทางการ), See also: คนฉลาดมากและสนใจแต่เรื่องวิชาการ, Syn. intellectual, sage
forestry(n) การทำป่าไม้, See also: วิชาการป่าไม้
morphology(n) วิชาว่าด้วยการศึกษารูปร่างสัตว์และพืช, See also: วิชาการศึกษารูปร่างหิน, วิชาการศึกษาการผันคำ-คำพูด
navigation(n) วิชาการเดินเรือ, Syn. aeronautics
phonetics(n) สัทศาสตร์, See also: วิชาการออกเสียง
phonics(n) วิชาการอ่านออกเสียงและการสะกดคำศัพท์
politics(n) วิชาการเมือง, See also: รัฐศาสตร์, ศิลปะการปกครองโดยรัฐ, Syn. foreign affairs, diplomacy
scholar(n) นักวิชาการ, See also: นักการศึกษา, ผู้คงแก่เรียน, Syn. philosopher, pundit, professor, savant
scholarly(adj) คงแก่เรียน, See also: เป็นนักวิชาการ, เป็นผู้เชี่ยวชาญ, เป็นนักศึกษา, Syn. cultured, erudite, studious
scholarship(n) ความเป็นนักวิชาการ, See also: ความเป็นผู้คงแก่เรียน, Syn. resrarch, widom, learning
sorcery(n) วิชาการใช้เวทมนตร์, Syn. black magic, divination
surgery(n) ศัลยศาสตร์, See also: วิชาศัลยศาสตร์, วิชาการผ่าตัด
technical(adj) เกี่ยวกับวิชาการเฉพาะเรื่อง, See also: เฉพาะวิชา, เฉพาะเรื่อง, Syn. specialized, professional, scholarly, Ant. artistic, nontechnical
technique(n) หลักวิชา, See also: วิชาการ

Hope Dictionary
accounting(อะเคา' ทิง) n. ทฤษฎีระบบการทำบัญชี, วิชาการทำบัญชี
architectonics(อาร์คิเทคทอน'นิคซฺ) n. สถาปัตยกรรม, วิชาการก่อสร้าง
architecture(อาร์คิเทค'เชอะ) n. สถาปัตยกรรม, วิชาการก่อสร้าง, รูปแบบการก่อสร้าง, สิ่งปลูก สร้าง, ผลงานทางสถาปัตยกรรม, โครงสร้าง.
aviation(เอวิเอ' เชิน) n. วิธีการบิน, วิชาการบิน, การออกแบบ พัฒนาและสร้างเครื่องบิน (flying)
bookkeepingn. วิชาการทำบัญชี, การทำบัญชี
cartographyn. การสร้างแผนที่, วิชาการทำแผนที่หรือแผนภาพ., See also: cartographer n. ดูcartography cartographic adj. ดูcartography cartographical adj. ดูcartography, Syn. chartography
computer engineeringวิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาหนึ่งในการศึกษาวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ โดยจะเน้นหนักในเรื่องของฮาร์ดแวร์ (hard ware) หรือส่วนตัวเครื่อง และระบบการทำงานภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น แผ่นวงจร (card) หน่วยประมวลผล หน่วยบันทึก ฯดู computer science เปรียบเทียบ
conversazione(คอนเวอซาซิออ'นี่) n. การชุมนุมเพื่อสนทนาแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น (โดยเฉพาะเกี่ยวกับเรื่องวิชาการหรือศิลปะวรรณกรรม)
didacticadj. เกี่ยวกับการสั่งสอน, ชอบสอน, See also: didactics ศิลปะหรือวิชาการสอน didacticism n. ดูdidactic
didacticaladj. เกี่ยวกับการสั่งสอน, ชอบสอน, See also: didactics ศิลปะหรือวิชาการสอน didacticism n. ดูdidactic
e-mail(อี' เมล) n. electronic mail, ข้อมูลและข่าวสารที่ส่งไปยังผู้ใช้ (users) โดยทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์, วิชาการส่งข้อมูลไปยังผู้ใช้บนเครือข่าย, ข้อมูลที่ส่งไปยังผู้ใช้ทางเครือข่าย (network)
fellow(เฟล'โล) n. คนผู้ชาย, เด็กผู้ชาย, เพื่อน, เพื่อนร่วมงาน, บุคคล, มนุษย์, เจ้าหมอ, คนชั้นเดียวกัน, สิ่งประกอบเป็นคู่, ของคู่กัน, นักศึกษาบัญฑิตวิทยาลัยที่ได้รับทุนการศึกษา, สมาชิกของสมาคมวิชาการ, ผู้วิจัยในมหาวิทยาลัย vt. ทำให้เท่าเทียมกับ, เท่าเทียมกับ. adj. เกี่ยวกับช
fellowship(เฟล'โลชิพ) n. ตำแหน่งผู้วิจัยในมหาวิทยาลัย, ตำแหน่งสมาชิกของสมาคมวิชาการ, ความสัมพันธ์ของมนุษย์, มิตรภาพ, การคบหา, ความเป็นมิตร, สมาคมของบุคคลที่มีอาชีพ, รสนิยม, บริษัท, กลุ่มนักวิจัยในมหาวิทยาลัย. vt. รับเข้าเป็นสมาชิกของสมาคมหรือกลุ่ม. vi. ร่วมเป็นสมาชิกของสมาค
graphics(แกรฟ'ฟิคซฺ) n. ศิลปะการเขียน, การทำภาพพิมพ์, วิชาการคำนวณด้วยแผนภูมิ'หรือไดอะแกรม
ieee(ไอทริพเพิลอี) ย่อมาจาก Institute of Electrical and Electronic Engineers แปลว่า สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลdเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐานต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป
institute of electrical aสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า IEEE (อ่านว่า ไอทริพเพิลอี) เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐาน ต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป
ism(อิส'ซึม) n. ลัทธิ, ทฤษฎี, ระบบ, ความเชื่อ, วิชาการ, Syn. doctrine, theory, system
olfactronics(ออลแฟคทรอน'นิคซฺ) n. วิชาการดมกลิ่น, วิชาที่เกี่ยวกับกลิ่น
ology(ออล'ละจี) n. วิชาการ, วิทยาการ, วิทยาศาสตร์, ทฤษฎี, คำโอ้อวด
palestra(พะเลส'ทระ) n. โรงเรียนวิชาการกีฬา pl. palestras, palestrae, Syn. palaestra
scholar(สคอล'เลอะ) n. ผู้คงแก่เรียน, นักวิชาการ, ผู้เชี่ยวชาญ, นักเรียน, นักศึกษา, ลูกศิษย์, ผู้ได้รับทุนการศึกษา.
scholarly(สคอล'เลอลี) adj., adv. คงแก่เรียน, เป็นนักวิชาการ, เป็นผู้เชี่ยวชาญ, เป็นนักศึกษา., See also: scholarliness n., Syn. erudite, learned
scholarship(สคอล'เลอะชิพ) n. ความเป็นผู้คงแก่เรียน, ความเป็นผู้เชี่ยวชาญหรือนักวิชาการ, ทุนการศึกษา, ความรู้., Syn. erudition, learning, education, enlightment
silvics(ซิล'วิคซฺ) n. การปลูกป่า, วิชาการปลูกป่า
technology(เทคนอล'โลจี) n. วิชาที่เกี่ยวกับศิลปของอุตสาหกรรมวิทยาศาสตร์ประยุกต์วิศวกรรมศาสตร์และอื่น ๆ , ประยุกต์วิทยา, วิชาการ, เทคโนโลยี, See also: technologist n.
white-collar(ไวท'คอล'ละ) adj. เกี่ยวกับคนงานที่ไม่ใช่กรรมกรเช่นพวกเสมียนหรือนักวิชาการ
wingmanship(วิง'เมินชิพ) n. วิชาการบิน, ศิลปะการบิน

Nontri Dictionary
academic(adj) เชิงวิชาการ, เกี่ยวกับโรงเรียน, เกี่ยวกับสถาบันการศึกษา
academician(n) นักวิชาการ
aeronautics(n) วิชาการบิน
aviation(n) การบิน, วิชาการบิน, วิธีการบิน
elocution(n) ศิลปะในการพูด, วิชาการพูด, การอ่านออกเสียง
forestry(n) วนศาสตร์, วิชาการป่าไม้
politics(n) การเมือง, รัฐศาสตร์, รัฐประศาสโนบาย, วิชาการปกครอง
scholar(n) นักเรียน, นักศึกษา, ผู้ได้รับทุน, นักวิชาการ
scholarly(adj) คงแก่เรียน, เป็นนักศึกษา, เป็นนักวิชาการ
soldiery(n) กองทหาร, วิชาการทหาร, เหล่าทหาร
technology(n) วิชาเทคนิค, เทคโนโลยี, วิชาช่าง, วิชาการ

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
home economics(n) วิชาการเรือน
Life Saver[ชีพรักษิก (ชีบ-พะ-รัก-สิก)] (n) น. คือ ผู้ที่เรียนรู้วิชาการช่วยชีวิต และการช่วยเหลือบุคคลที่ประสพภัย ทางน้ำ โดยมิได้รับค่าตอบแทน หรือยึดเป็นอาชีพ life - ชีวิต หรือ ชีพ saver - ผู้รักษา หรือ ผู้ช่วยเหลือ
Life Saving[ชีพรักษ์ (ชีบ-พะ-รัก)] (n, name, org) น. วิชาการที่เกี่ยวกับการป้องกัน และช่วยชีวิตบุคคลที่ตกน้ำ หรือผู้ที่ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ life - ชีวิต หรือ ชีพ saving - การรักษา หรือ การช่วยเหลือ
unaccompany[อันอะคัม\'พะนีด์] (adj) ตามลำพัง, ไม่มีเพื่อน, (ดนตรีบรรเลง)เดี่ยว ที่มา: ฝ่ายวิชาการภาษาอังกฤษ บ.ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด(มหาชน), See also: lonely, alone

Longdo Approved JP-TH
リハーサル[りはーさる, riha-saru] (n) การฝึกซ้อม (โดยจะใช้เฉพาะอย่างยิ่งกับ การฝึกซ้อมการบรรยายสำหรับเตรียมการประชุมวิชาการ), See also: S. practice, rehearsal
学者[がくしゃ, gakusha] (n) นักวิชาการ

Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
建築[けんちく, kenchiku] (n) สถาปัตยกรรม, วิชาการก่อสร้าง, รูปแบบการก่อสร้าง

Saikam JP-TH-EN Dictionary
学会[がっかい, gakkai] TH: การประชุมสัมมนาทางวิชาการ  EN: academic meeting

Longdo Approved DE-TH
Bereich(n) |der, pl. Bereiche| ขอบข่ายของงาน, ขอบข่ายทางวิชาการ
wissenschaftlich(adj) ทางวิชาการ หรือ ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์หรือวิชาการ
Prüfungsamt(n) |das| ฝ่ายวิชาการในมหาวิทยาลัย ซึ่งรับผิดชอบเรื่องที่เกี่ยวกับการสอบโดยตรง
erforschen(vt) |erforschte, hat erforscht| (+ A) วิจัยหรือศึกษาทางด้านวิชาการอย่างละเอียด เช่น Die Wissenschaftler erforschen die Verbreitung der Bakterien. นักวิทยาศาสตร์วิจัยการขยายตัวของแบคทีเรียนี้, See also: Related: forschen
Gutachter(n) |der, pl. Gutachter| ผู้ประเมิน, ผู้ตัดสิน, กรรมการตัดสิน (ไม่ใช่ด้านกีฬา แต่เกี่ยวกับงานด้านวิชาการ เช่น กรรมการผู้ตัดสินงานเรียงความ ฯลฯ), ผู้เชี่ยวชาญ
fördern(vt) |förderte, hat gefördert, etw.(A)/jmdn.| สนับสนุน, อุปภัมภ์, อุปการะ เช่น Die wissenschaftliche Forschung wird meistens durch die Staat gefördert. งานวิจัยด้านวิชาการส่วนใหญ่ได้รับการสนับสนุนจากทางรัฐ, Syn. unterstützen
Konferenz(n) |die, pl. Konferenzen| การประชุม, งานสัมมนาทางวิชาการ เช่น Der Professor geht nächste Woche zu einer Konferenz in den Vereinigten Staaten.

Time: 0.6753 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/