เคลีย | (v) dangle, See also: swing, sway, Syn. เคียงเคล้า, Example: เนินเบิ่งตาอยู่กับละอองละเอียดที่กระจัดกระจายรอบตัวมันระเส้นผมเคลียใบหน้าห่อหุ้มร่างไว้มิดชิด |
เคลียร์ | (v) clear, See also: manage, solve, Syn. จัดการ, แก้ไข, สะสาง, Example: ถ้าหากข้าพเจ้าเคลียร์เรื่องนี้ไม่ได้กาญจน์พิมลคงเป็นทุกข์ตลอดไป, Thai Definition: จัดการกับปัญหา, แก้ไขปัญหา |
เคลียร์ | (v) clear, See also: be obvious, Syn. ชัดเจน, แจ่มแจ้ง, กระจ่าง, Ant. คลุมเครือ, กำกวม, ไม่ชัดเจน, Example: ปัญหานี้ยังไม่เคลียร์ |
คลอเคลีย | (v) snuggle, See also: nestle, lean close to, caress, pet, bill and coo, side by side, close together, Syn. เคลียคลอ, เคล้าคลอ, Example: เธอออดอ้อนด้วยคำหวานและคลอเคลียผมทุกขณะ จนผมอดหวั่นไหวไม่ได้ |
เคลียคลอ | (v) accompany together, See also: side by side, caress, Syn. คลอเคลีย, Example: บางคนเข้ามาตีสนิทเอามือคล้องแขนโอบสะเอวเคลียคลอเหมือนลูกแมว |
เคลียเคล้า | (v) snuggle, See also: cuddle, nestle, embrace, nuzzle, Syn. เคลียคลอ, คลอเคลีย, อิงแอบ, Ant. ละเลย, เพิกเฉย, ไม่ใส่ใจ, Example: พอถึงปูนหกสิบกามวิสัยดำเนินไปได้ก็แต่เพียงเคลียเคล้า ถกไถ และดอมดม |
เคล้าเคลีย | (v) snuggle, See also: cuddle, nestle, embrace, nuzzle, Syn. เคลียคลอ, คลอเคลีย, Ant. ละเลย, เพิกเฉย, Example: แมวส่วนใหญ่จะมีนิสัยชอบเคล้าเคลียเจ้าของอยู่ตลอดเวลา, Thai Definition: เคล้าคู่กัน เคียงเคล้ากัน |
กากนิวเคลียร์ | (n) nuclear waste, See also: radioactive waste, Syn. ขยะนิวเคลียร์, Example: การขจัดกากนิวเคลียร์ทำยาก |
เคลียร์พื้นที่ | (v) clear off, See also: eliminate, wipe out, purge, Example: เจ้าหน้าที่ตำรวจกำลังเคลียร์พื้นที่เพื่อเตรียมต้อนรับนายกรัฐมนตรี, Thai Definition: จัดเตรียมพื้นที่ให้เรียบร้อย |
ระเบิดนิวเคลียร์ | (n) nuclear bomb, Example: การใช้คอมพิวเตอร์ในวงจรสื่อสารทหารใช้เพื่อผลิตระเบิดนิวเคลียร์, Count Unit: ลูก |
สงครามนิวเคลียร์ | (n) nuclear warfare, Example: สงครามนิวเคลียร์อาจล้างโลกได้ในพริบตา, Thai Definition: การรบกันโดยใช้อาวุธนิวเคลียร์ทำลายล้าง |
พลังงานนิวเคลียร์ | (n) nuclear energy, Example: จุดเปราะบางที่สุดของพลังงานนิวเคลียร์ก็คือปัญหาการกำจัดกากนิวเคลียร์และการเสี่ยงต่ออุบัติเหตุ, Thai Definition: พลังงานที่ได้จากนิวเคลียร์ |
คลอเคลีย | ก. เคล้าคู่กัน, เคียงเคล้ากันไป, เคลียคลอ ก็ว่า. |
เคล้าเคลีย | ก. เคล้าคู่กัน, เคียงเคล้ากัน, คลอเคลีย, เคลียเคล้า ก็ว่า. |
เคลีย | (เคฺลีย) ว. เคียงเคล้า, เคียงเคล้ากัน. |
เคลียคลอ | ก. เคล้าคู่กัน, เคียงเคล้ากัน, คลอเคลีย ก็ว่า. |
เคลียเคล้า | ก. เคล้าเคลีย. |
นิวเคลียร์ | ว. ที่ใช้พลังงานอะตอม, เกี่ยวกับนิวเคลียสของอะตอม. |
นิวเคลียส | น. ส่วนใจกลางของอะตอมของธาตุทุกชนิด ส่วนนี้ประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานที่สำคัญ ๒ ชนิด คือ โปรตอน และ นิวตรอน (สำหรับอะตอมของไฮโดรเจนธรรมดา นิวเคลียสมีแต่โปรตอนเท่านั้น ไม่มีนิวตรอน), ส่วนที่สำคัญยิ่งของเซลล์ ลักษณะเหนียวข้นเป็นก้อนประกอบด้วยส่วนย่อย ๆ อีกหลายชนิด มักอยู่ตอนกลางของเซลล์ที่ยังอ่อนอยู่ และอาจร่นไปอยู่ริมเซลล์เมื่อแก่เข้า. |
สงครามนิวเคลียร์ | น. สงครามที่ใช้อาวุธนิวเคลียร์. |
กัมมันตภาพรังสี | (กำมันตะ-) น. การเสื่อมสลายโดยตัวเองของนิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียร เป็นผลให้ได้อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา รังสีแกมมา ซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีช่วงคลื่นสั้นมากและมีพลังงานสูง ทั้งหมดนี้พุ่งออกมาด้วยความเร็วสูงมาก ในบางกรณีอาจมีพลังงานความร้อนและพลังงานแสงเกิดตามมาด้วย เช่น การเสื่อมสลายของนิวเคลียสของธาตุเรเดียมไปเป็นธาตุเรดอน. |
แกรไฟต์ | (แกฺร-) น. อัญรูปหนึ่งของธาตุคาร์บอน ชื่อสามัญเรียกว่า พลัมเบโก (plumbago) หรือแร่ดินสอดำ ลักษณะเป็นของแข็ง มีรูปผลึกเป็นแผ่นบาง ๆ ทึบแสง อ่อนนุ่ม สีเทาเข้มถึงดำ เนื้ออ่อน เป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าได้ดี มักใช้ทำไส้ดินสอดำ เบ้าหลอมโลหะ นํ้ามันหล่อลื่นบางชนิด ไส้ถ่านไฟฉาย ไส้ไฟอาร์ก ใช้เป็นตัวลดความเร็วช่วยควบคุมจำนวนอนุภาคนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์. |
ควง | ก. แกว่งหรือทำให้หมุนไปโดยรอบ เช่น ควงกระบอง ควงดาบ ควงจาน, เดินเข้าคู่คลอเคลียกันไป เรียกว่า เดินควงกัน |
เคล้า | คลอเคลีย เช่น เคล้าแข้งเคล้าขา, เกลือก เช่น แมลงภู่เคล้าเกสรดอกไม้ |
แคดเมียม | น. ธาตุลำดับที่ ๔๘ สัญลักษณ์ Cd เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเงิน เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๓๒๑ °ซ. เป็นตัวดูดกลืนอนุภาคนิวตรอนได้ดี จึงทำเป็นแท่ง เรียกว่า แท่งควบคุมในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์. |
โครโมโซม | น. ส่วนหนึ่งของนิวเคลียสของเซลล์ มีลักษณะเป็นท่อนหรือเป็นเส้น ประกอบขึ้นด้วยสารดีเอ็นเอ (DNA = deoxyribonucleic acid) เชื่อมกับโปรตีน ทำหน้าที่สำคัญในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ทั้งควบคุมการทำงานของเซลล์และการแบ่งเซลล์. |
ธาตุ ๓ | (ทาด) น. สารเนื้อเดียวล้วนซึ่งประกอบด้วยบรรดาอะตอมที่มีโปรตอนจำนวนเดียวกันในนิวเคลียส เช่น ธาตุออกซิเจน ธาตุคาร์บอน. |
นิวตรอน | น. อนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่งซึ่งเป็นองค์ประกอบของนิวเคลียสของอะตอมของธาตุทุกชนิด ยกเว้นไฮโดรเจนธรรมดา อนุภาคนี้ไม่มีประจุไฟฟ้าและมีมวล ๑.๖๗๔๘๒ x ๑๐-๒๗ กิโลกรัม. |
บีตา | น. ชื่ออนุภาคที่พุ่งออกมาจากนิวเคลียสของอะตอมกัมมันตรังสี มี ๒ ชนิด คือ อิเล็กตรอน และ โพซิตรอน. (อ. beta particle), มักเรียกกระแสอนุภาคบีตาว่า รังสีบีตา ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๒๙๐, ๐๐๐ กิโลเมตรต่อวินาที มีอำนาจในการเจาะทะลุมากกว่ารังสีแอลฟา แต่น้อยกว่ารังสีแกมมา. |
แบคทีเรีย | น. สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ไม่มีผนังห่อหุ้มนิวเคลียส มีรูปร่างกลม เป็นท่อน โค้ง หรือเป็นเกลียว. |
ปฏิกรณ์ | น. เครื่องที่ใช้สำหรับก่อให้เกิดปฏิกิริยาแตกสลายทางนิวเคลียร์อย่างสมํ่าเสมอและควบคุมได้เพื่อผลิตพลังงาน สารกัมมันตรังสี เครื่องชนิดนี้มีหลายแบบ และใช้เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ซึ่งมักเป็นแท่งยูเรเนียม, มักเรียกว่า เครื่องปฏิกรณ์ปรมาณู. |
โปรตอน | (โปฺร-) น. อนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นองค์ประกอบของนิวเคลียสแห่งอะตอมของธาตุทุกชนิด อนุภาคนี้มีประจุไฟฟ้าบวก มีมวล ๑.๖๗๒๕๒ x ๑๐-๒๗ กิโลกรัม. |
ยานเกราะ | น. พาหนะล้อหรือสายพานที่สร้างขึ้นด้วยวัสดุที่สามารถป้องกันตนเองจากอาวุธยิงเล็งตรงหรืออาวุธยิงเล็งจำลอง และป้องกันอันตรายจากวัตถุระเบิดหรือป้องกันอันตรายจากนิวเคลียร์ ชีวะ เคมี ในระดับหนึ่ง. |
ยูเรเนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๒ สัญลักษณ์ U เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีขาว เนื้อแข็ง หลอมละลายที่ ๑๑๓๒ °ซ. เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่มีปรากฏในธรรมชาติ ใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงนิวเคลียร์. |
ยูโรเพียม | น. ธาตุลำดับที่ ๖๓ สัญลักษณ์ Eu เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเทา เนื้ออ่อนมาก หลอมละลายที่ ๘๒๖ °ซ. ใช้ประโยชน์นำไปดูดกลืนนิวตรอนเพื่อควบคุมปฏิกิริยานิวเคลียร์ ใช้ประกอบเป็นตัวเรืองแสงในเครื่องรับโทรทัศน์สีเป็นต้น. |
ระเบิดปรมาณู | น. ลูกระเบิดที่ให้อำนาจระเบิดได้ด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ชนิดที่ทำให้นิวเคลียสของอะตอมของธาตุยูเรเนียมหรือธาตุพลูโทเนียมแตกสลาย ระเบิดชนิดนี้มีอำนาจทำลายมากยิ่งกว่าระเบิดธรรมดาที่ใช้ดินระเบิด. |
ระเบิดไฮโดรเจน | น. ลูกระเบิดที่ให้อำนาจระเบิดได้ด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ชนิดที่ทำให้นิวเคลียสของธาตุไฮโดรเจนหลอมรวมตัวเป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียมซึ่งหนักกว่า ระเบิดชนิดนี้มีอำนาจทำลายยิ่งกว่าระเบิดปรมาณูมาก. |
ละเล้า | ก. เคล้าคลึง, คลอเคลีย, คลำ |
ลุ่มเล้า | ก. ละเล้า, เคล้าคลึง, คลอเคลีย. |
อะตอม | น. ส่วนที่เล็กที่สุดของธาตุซึ่งเข้าทำปฏิกิริยาเคมีได้ อะตอมประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานที่สำคัญ คือ นิวเคลียสเป็นแกนกลางและมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่โดยรอบ, เดิมเรียกว่า ปรมาณู. |
อิงอร | (-ออน) ก. เคล้าเคลีย. |
อิตเทรียม | (อิดเทฺรียม) น. ธาตุลำดับที่ ๓๙ สัญลักษณ์ Y เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเทาเข้ม หลอมละลายที่ ๑๕๐๐ °ซ. ใช้ประโยชน์นำไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ ใช้ในเทคโนโลยีนิวเคลียร์. |
แอลฟา | น. ชื่ออนุภาคที่พุ่งออกมาจากนิวเคลียสของอะตอมกัมมันตรังสี เป็นนิวเคลียสของธาตุฮีเลียม มักเรียกกระแสอนุภาคแอลฟาว่า รังสีแอลฟา ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๒๐, ๐๐๐ กิโลเมตรต่อวินาที มีอำนาจในการเจาะทะลุได้น้อย เมื่อกระทบกับฉากเรืองแสงจะทำให้เกิดแสงเรืองขึ้นได้. |
ไอโซโทป | น. อะตอมของธาตุเดียวกัน แต่มีจำนวนนิวตรอนที่นิวเคลียสต่างกัน. |
แฮฟเนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๗๒ สัญลักษณ์ Hf เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเทา หลอมละลายที่ ๒๑๕๐ °ซ. ใช้ประโยชน์เป็นแท่งควบคุมในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้น้ำเป็นตัวทำความเย็น. |
pathetic | -ประสาททรอเคลียร์, -ประสาทสมองเส้นที่ ๔ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
limited nuclear war | สงครามนิวเคลียร์แบบจำกัด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
salivatory nucleus | นิวเคลียสเร่งน้ำลาย [ มีความหมายเหมือนกับ centre, salivatory ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stain, nuclear | สีย้อมนิวเคลียส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
acaryote | เซลล์ไร้นิวเคลียส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
mononuclear; mononucleate; uninuclear; uninucleated | ๑. -นิวเคลียสเดียว๒. -มีนิวเคลียสเดียว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
mononucleate; mononuclear; uninuclear; uninucleated | ๑. -นิวเคลียสเดียว๒. -มีนิวเคลียสเดียว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
minimum deterrent | อำนาจป้องปรามขั้นต่ำ (การใช้อาวุธนิวเคลียร์) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Conseil Européen pour la Recherche Nucléaire (CERN) | ศูนย์วิจัยนิวเคลียร์ยุโรป (เซิร์น) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Conseil Européen pour la Recherche Nucléaire (CERN) | ศูนย์วิจัยนิวเคลียร์ยุโรป (เซิร์น) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
CERN (Conseil Européen pour la Recherche Nucléaire) | เซิร์น (ศูนย์วิจัยนิวเคลียร์ยุโรป) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
CERN (Conseil Européen pour la Recherche Nucléaire) | เซิร์น (ศูนย์วิจัยนิวเคลียร์ยุโรป) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
coenocyte | เซลล์หลายนิวเคลียส [ รา, สาหร่าย ] [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
coenogamete | เซลล์สืบพันธุ์หลายนิวเคลียส [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
caryokinesis; karyokinesis | การแบ่งนิวเคลียส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dicaryon; dikaryon | นิวเคลียสคู่ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
dikaryon; dicaryon | นิวเคลียสคู่ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
fission tracks | รอยแบ่งแยกนิวเคลียส [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
fission-track dating | การหาอายุจากรอยแบ่งแยกนิวเคลียส [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
free nuclear division | การแบ่งนิวเคลียสอิสระ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
zone, nuclear-free | เขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
trochlear nerve | ประสาททรอเคลียร์, ประสาทสมองเส้นที่ ๔ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
trinucleate | -สามนิวเคลียส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
karyokinesis; nuclear division | การแบ่งนิวเคลียส [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
karyolymph | น้ำเลี้ยงนิวเคลียส [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
karyogamy | การรวมนิวเคลียส [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
karyokinesis; caryokinesis | การแบ่งนิวเคลียส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
nuclear accidents | อุบัติเหตุทางนิวเคลียร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
nuclear decapitation | การปลดอาวุธนิวเคลียร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
nuclear division; karyokinesis | การแบ่งนิวเคลียส [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
nucleus | นิวเคลียส [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
nucleus, salivatory | นิวเคลียสเร่งน้ำลาย [ มีความหมายเหมือนกับ centre, salivatory ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
nuclear envelope; nuclear membrane | เยื่อหุ้มนิวเคลียส [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
Nuclear Exclusion | ข้อจำกัดความคุ้มครองภัยนิวเคลียร์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
nuclear membrane; nuclear envelope | เยื่อหุ้มนิวเคลียส [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
nuclear power | มหาอำนาจทางนิวเคลียร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
nuclear power | กำลังนิวเคลียร์ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
nuclear proliferation | การแผ่ขยายอาวุธนิวเคลียร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
nuclear risks | ภัยนิวเคลียร์ มีความหมายเหมือนกับ atomic risks [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
nuclear stain | สีย้อมนิวเคลียส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
nuclear-free zone | เขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
nerve, trochlear | ประสาททรอเคลียร์, ประสาทสมองเส้นที่ ๔ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
uninuclear; mononuclear; mononucleate; uninucleated | ๑. -นิวเคลียสเดียว๒. -มีนิวเคลียสเดียว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
uninucleated; mononuclear; mononucleate; uninuclear | ๑. -นิวเคลียสเดียว๒. -มีนิวเคลียสเดียว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Criticality (Nuclear engineering) | ค่าวิกฤต (วิศวกรรมนิวเคลียร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Nuclear winter | ฤดูหนาวนิวเคลียร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Nuclear engineering | วิศวกรรมนิวเคลียร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Nuclear waste | กากนิวเคลียร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Nuclear power | ไฟฟ้านิวเคลียร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Nuclear energy | พลังงานนิวเคลียร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
BWR type reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำเดือด, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้น้ำเป็นทั้งตัวทำให้เย็นและตัวหน่วงความเร็ว นิวตรอน โดยออกแบบการทำงานให้น้ำเดือดอยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ และใช้ไอน้ำที่เกิดขึ้นไปขับกังหันไอน้ำของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าโดยตรงเพื่อ ผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า [นิวเคลียร์] |
Absorber | สารดูดกลืน, วัสดุใดๆ ที่สามารถดูดกลืนหรือลดความเข้มของ<em>รังสีชนิดก่อไอออน</em> ตัวอย่างของสารดูดกลืน<em>นิวตรอน</em> เช่น แฮฟเนียม หรือ แคดเมียม ใช้เป็นแท่งควบคุมใน<em>เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์</em> สารดูดกลืนรังสีแกมมา เช่น คอนกรีตและเหล็ก ใช้เป็นวัสดุกำบังรังสีในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ แผ่นกระดาษหรือแผ่นโลหะบางสามารถดูดกลืนหรือลดความเข้มของรังสีแอลฟาได้ [นิวเคลียร์] |
Advanced Gas-cooled Reactor | เครื่องปฏิกรณ์ขั้นสูงระบายความร้อนด้วยแก๊ส, เอจีอาร์, <em>เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์</em>ผลิตไฟฟ้าแบบหนึ่ง ใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ระบายความร้อน โดยพัฒนามาจากแบบที่ระบายความร้อนด้วยน้ำ ตัวอย่างของเครื่องปฏิกรณ์ชนิดนี้คือเครื่องปฏิกรณ์ Hinkley Point B อยู่ทางตะวันตกของประเทศอังกฤษ ใช้ยูเรเนียมไดออกไซด์ (มียูเรเนียม-235 ร้อยละ 1.4 ถึง 2.6) เป็นเชื้อเพลิง และใช้แกรไฟต์เป็น<strong>สารลดความเร็วนิวตรอน</strong> เครื่องปฏิกรณ์นี้ สามารถผลิตไอน้ำที่มีอุณหภูมิสูงถึง 540 องศาเซลเซียส และความดัน 16 เมกะพาสคัล ทำให้มีประสิทธิภาพในการผลิตพลังงานไฟฟ้าได้สูงถึงร้อยละ 40 ซึ่งสูงเท่ากับโรงไฟฟ้าพลังเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในปัจจุบัน [นิวเคลียร์] |
Alpha particle | อนุภาคแอลฟา, อนุภาคที่มีประจุบวก ประกอบด้วย<em>โปรตอน</em> 2 อนุภาค และ<em>นิวตรอน</em> 2 อนุภาค ซึ่งเหมือนกับนิวเคลียสของฮีเลียม-4 มีความสามารถในการทะลุทะลวงต่ำ ผ่านอากาศได้เพียง 2-3 เซนติเมตร และไม่สามารถทะลุผ่านแผ่นกระดาษหรือผิวหนังได้ อนุภาคแอลฟาเกิดจาก<em>การสลาย</em>ของสารกัมมันตรังสีบางชนิด เช่น ยูเรเนียม และทอเรียม [นิวเคลียร์] |
Anticipated operational occurrence | อุบัติการณ์ที่อยู่ในความคาดหมาย, เหตุการณ์ที่เบี่ยงเบนไปจากการทำงานตามปกติของโรงงานนิวเคลียร์ ซึ่งคาดว่าตลอดอายุการใช้งานจะเกิดขึ้นได้อย่างน้อยหนึ่งครั้ง แต่ได้มีการออกแบบรองรับเหตุการณ์นี้ไว้แล้วเพื่อความปลอดภัย และป้องกันมิให้ลุกลามเป็นอุบัติเหตุ เช่น หากพลังงานไฟฟ้าที่จ่ายให้แก่เครื่องสูบน้ำของระบบระบายความร้อนเกิดขัดข้อง ระบบไฟฟ้าสำรองก็จะทำงานทันที, Example: [นิวเคลียร์] |
Antimatter | ปฏิสสาร, สสารที่มีอะตอมประกอบด้วยปฏิยานุภาค เช่น อะตอมของแอนติไฮโดรเจนประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีแอนติโปรตอนจำนวน 1 อนุภาค และมีโพซิตรอน 1 อนุภาคโคจรอยู่รอบๆ (ดู antiparticle ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Antiparticle | ปฏิยานุภาค, อนุภาคที่มีมวล ประจุไฟฟ้า และเลขสปิน เท่ากับอนุภาคนิวเคลียร์ชนิดเดียวกัน แต่มีประจุไฟฟ้าและหรือโมเมนต์แม่เหล็กตรงข้ามกัน ตัวอย่างโปรตอนมีประจุไฟฟ้า +1 ส่วนแอนติโปรตอนมีประจุไฟฟ้า [นิวเคลียร์] |
Area survey | การสำรวจพื้นที่, ขั้นตอนเบื้องต้นในการหาพื้นที่เพื่อเป็นที่ตั้งสถานปฏิบัติการทางนิวเคลียร์หรือทางรังสี โดยสำรวจข้อมูลและปัจจัยต่างๆ ของแต่ละพื้นที่ เพื่อพิจารณาผลกระทบที่อาจมีต่อความปลอดภัยของสถานปฏิบัติการ และคัดสถานที่ที่ไม่เหมาะสมออก [นิวเคลียร์] |
Atom | อะตอม, หน่วยที่เล็กที่สุดที่ยังคงสมบัติทางเคมีของธาตุ โครงสร้างของอะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสอยู่ตรงกลางและอิเล็กตรอนอยู่ในวงโคจรรอบนิวเคลียส นิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอน ในสภาพปกติอะตอมมีจำนวนอิเล็กตรอนเท่ากับโปรตอน [นิวเคลียร์] |
Atomic bomb | ลูกระเบิดอะตอม, ลูกระเบิดที่แรงระเบิดเกิดจากปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียสของธาตุหนัก เช่น ยูเรเนียม-235 หรือ พลูโทเนียม-239 ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว (ดู Fission ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Atomic cloud | อะตอมิกคลาวด์, กลุ่มแก๊สร้อน ควัน ฝุ่น และสสารอื่นๆ ที่ลอยขึ้นสู่ท้องฟ้าหลังการระเบิดของอาวุธนิวเคลียร์ในอากาศหรือใกล้ผิวโลก มักมีรูปร่างเหมือนดอกเห็ด เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า mushroom cloud (ดู Fireball และ Radioactive cloud ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Atomic energy | พลังงานอะตอม, พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาเมื่อมีการแบ่งแยกนิวเคลียสหรือการหลอมนิวเคลียสของอะตอม หรือจากการสลายของสารกัมมันตรังสี ปัจจุบันนิยมใช้ “พลังงานนิวเคลียร์" [นิวเคลียร์] |
Atomic number, Z | เลขเชิงอะตอม, จำนวนโปรตอนภายในนิวเคลียสของอะตอมใดๆ และเป็นสิ่งชี้บอกตำแหน่งของธาตุในตารางพีริออดิก [นิวเคลียร์] |
Atomic weapon | อาวุธอะตอม, อาวุธระเบิดซึ่งพลังงานเกิดจากปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียส (ดู nuclear weapon ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Atomic weight, A | น้ำหนักเชิงอะตอม, น้ำหนักทั้งหมดของโปรตอนกับนิวตรอนในนิวเคลียสของธาตุรวมกัน (ดู atomic mass ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Barn, b | บาร์น, หน่วยพื้นที่ภาคตัดขวางของอะตอม นิวเคลียส อิเล็กตรอน และอนุภาคอื่นๆ ที่แสดงโอกาสในการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ 1 บาร์น มีค่าเท่ากับ 10–24 ตารางเซนติเมตร (ดู cross section ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Binding energy | พลังงานยึดเหนี่ยว, พลังงานยึดเหนี่ยวของโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียส มีค่าเท่ากับพลังงานที่น้อยที่สุดสำหรับการแยกนิวเคลียสออกเป็นโปรตอนและนิวตรอน นอกจากนี้ยังหมายถึง พลังงานยึดเหนี่ยวของอิเล็กตรอนด้วย ซึ่งมีค่าเท่ากับพลังงานที่ต้องใช้เพื่อแยกอิเล็กตรอนออกมาจากอะตอมหรือโมเลกุล [นิวเคลียร์] |
Blanket | แบล็งเคต, ชั้นวัสดุเฟอร์ไทล์ เช่น ยูเรเนียม-238 หรือทอเรียม-232 ที่อยู่ล้อมรอบแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ซึ่งเป็นวัสดุเกิดฟิชชันได้ [นิวเคลียร์] |
Boiling water reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำเดือด, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้น้ำเป็นทั้งตัวทำให้เย็นและตัวหน่วงความเร็วนิวตรอน โดยออกแบบการทำงานให้น้ำเดือดอยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ และใช้ไอน้ำที่เกิดขึ้นไปขับกังหันไอน้ำของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าโดยตรงเพื่อผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า [นิวเคลียร์] |
Breeder reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ผลิตเชื้อเพลิง, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ผลิตวัสดุฟิสไซล์ขึ้นในแบล็งเคต โดยนิวตรอนเข้าไปทำปฏิกิริยากับวัสดุเฟอร์ไทล์บางส่วนทำให้กลายเป็นวัสดุฟิสไซล์, Example: [นิวเคลียร์] |
Burnup | เบิร์นอัป, การวัดการใช้เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ โดยอาจคิดเป็นร้อยละของอะตอมเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ที่เกิดการแบ่งแยกนิวเคลียส หรือพลังงานที่ผลิตได้ต่อหน่วยน้ำหนักของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ [นิวเคลียร์] |
Burst reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบทวีกำลัง, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์วิจัยที่สามารถเพิ่มกำลังและรังสีให้สูงขึ้นในช่วงเวลาสั้นๆ ซ้ำๆ กันได้ โดยนิวตรอนฟลักซ์ในระหว่างการทวีกำลังแต่ละครั้งมีค่าสูงมากเกินกว่าการเดินเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ในสภาวะปกติ [นิวเคลียร์] |
Burnable poison | สารพอยซันเสื่อมสภาพได้, สารดูดกลืนนิวตรอน เช่น โบรอน ที่ผสมไว้ในแท่งเชื้อเพลิงหรือเปลือกแท่งเชื้อเพลิงนิวเคลียร์เพื่อลดการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ในระยะแรก ซึ่งมีปริมาณเชื้อเพลิงมาก หลังจากใช้งานไประยะหนึ่งจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสารที่ไม่ดูดกลืนนิวตรอน เป็นการชดเชยผลจากเชื้อเพลิงที่ถูกใช้ไป และการสะสมตัวของผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียสที่ดูดกลืนนิวตรอนที่เกิดขึ้นในเชื้อเพลิง ทำให้อายุการใช้งานของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ยาวนานขึ้น [นิวเคลียร์] |
BWR type reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำเดือด, ดู Boiling water reactor [นิวเคลียร์] |
Carbon-14 | คาร์บอน-14, ไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุคาร์บอน มีครึ่งชีวิต 5, 730 ปี เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้นบนของโลก โดยอนุภาคนิวตรอนที่เกิดมาจากรังสีคอสมิกไปชนนิวเคลียสของธาตุไนโตรเจนเกิดเป็นคาร์บอน-14 และถูกออกซิไดส์ไปเป็นคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่วงจรของสิ่งมีชีวิต หลังจากสิ่งมีชีวิตตายไป จะไม่มีการแลกเปลี่ยนกับคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศอีก คาร์บอน-14 ที่มีอยู่ก็จะสลายลดลงด้วยอัตราที่สามารถทราบได้ จึงใช้ในการคำนวณอายุซากสิ่งมีชีวิตและวัตถุโบราณที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ (ดู Radiocarbon dating ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Cerenkov radiation | การแผ่รังสีเซเรนโกฟ, ปรากฏการณ์เรืองแสงเมื่ออนุภาคที่มีประจุเคลื่อนผ่านวัสดุโปร่งใส ด้วยความเร็วที่สูงกว่าความเร็วของแสงในวัสดุนั้น เช่น ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ หรือเครื่องฉายรังสีแกมมาแบบสระน้ำ จะเห็นการแผ่รังสีนี้เป็นแสงเรืองสีฟ้า พาเวล อเล็กเซวิช เซเรนโกฟ (Pavel Alexsejevich Cerenkov) เป็นคนแรกที่อธิบายปรากฏการณ์นี้ [นิวเคลียร์] |
Chain reaction, Fission | ปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียส, ปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียสที่สามารถเกิดขึ้นซ้ำๆ ได้เอง โดยนิวเคลียสจะดูดกลืนนิวตรอนแล้วเกิดการแบ่งแยกของนิวเคลียสขึ้น พร้อมกับปลดปล่อยนิวตรอนใหม่เพิ่มขึ้นออกมา ซึ่งจะถูกนิวเคลียสอื่นๆ ดูดกลืนต่อไปอีก และทำให้เกิดปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียสต่อเนื่องไปเรื่อยๆ (ดู nuclear fission ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Chemical shim | สารเคมีเสริมการควบคุม, สารเคมี เช่น กรดบอริก ที่เติมเข้าไปในตัวทำให้เย็นของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์เพื่อเสริมการทำงานของแท่งควบคุมปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียส โดยการดูดกลืนนิวตรอน, Example: [นิวเคลียร์] |
Cladding | เปลือกหุ้มเชื้อเพลิง, โลหะที่ใช้ห่อหุ้มแท่งเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ เพื่อป้องกันการกัดกร่อนเนื้อเชื้อเพลิงจากตัวทำให้เย็น และป้องกันผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียสไม่ให้ออกมาปนในตัวทำให้เย็น วัสดุที่ใช้ เช่น อะลูมิเนียม โลหะผสมของอะลูมิเนียม เหล็กกล้าไร้สนิม และโลหะผสมของเซอร์โคเนียม [นิวเคลียร์] |
Clean bomb | คลีนบอมบ์, ระเบิดนิวเคลียร์ที่มีฝุ่นกัมมันตรังสีเกิดขึ้นค่อนข้างน้อย (ดู dirty bomb ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Commissioning | การเริ่มดำเนินงาน, กระบวนการทดสอบการทำงานของระบบและอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึงการทดลองเดินเครื่องของโรงงานนิวเคลียร์ก่อนได้รับอนุญาตให้เดินเครื่อง เพื่อตรวจสอบว่าตรงตามแบบและเกณฑ์สมรรถนะที่ต้องการ [นิวเคลียร์] |
Confinement | สิ่งกักกั้น, สิ่งที่สร้างขึ้นล้อมอุปกรณ์หลักของโรงงานนิวเคลียร์ เพื่อป้องกันหรือบรรเทาการปล่อยวัสดุกัมมันตรังสีออกสู่สิ่งแวดล้อมในสภาวะการทำงานปกติหรือกรณีเกิดอุบัติเหตุ เช่น บ่อน้ำแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ (ดู containment ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Containment | อาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์, อาคารหรือสิ่งก่อสร้างชั้นนอกที่ออกแบบให้มีความแข็งแรงเป็นพิเศษเพื่อป้องกันเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์จากอุบัติภัยภายนอก และเพื่อไม่ให้สารกัมมันตรังสีแพร่กระจายออกสู่สิ่งแวดล้อมกรณีเกิดอุบัติเหตุภายในอาคารหรือสิ่งกักกั้นชำรุดหรือเสียหาย [นิวเคลียร์] |
Control rod | แท่งควบคุม, อุปกรณ์ควบคุมกำลังของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์มีลักษณะเป็นแท่ง แผ่น หรือท่อ ประกอบด้วยสารดูดกลืนนิวตรอน เช่น แฮฟเนียม โบรอน อุปกรณ์นี้อยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์และสามารถปรับการเคลื่อนที่เข้าหรือออกเพื่อลดหรือเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์, Example: [นิวเคลียร์] |
Coolant | ตัวทำให้เย็น, สารระบายหรือถ่ายโอนความร้อนที่หมุนเวียนในระบบระบายความร้อนของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เช่น น้ำ น้ำมวลหนัก อากาศ คาร์บอนไดออกไซด์ โซเดียมเหลว และโลหะผสมโซเดียม-โพแทสเซียม [นิวเคลียร์] |
Core | แกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์, บริเวณส่วนกลางเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นบริเวณที่เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ ประกอบด้วย เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ แท่งควบคุม สารหน่วงนิวตรอน และโครงสร้างที่รองรับอุปกรณ์ต่างๆ [นิวเคลียร์] |
Critical mass | มวลวิกฤต, มวลน้อยที่สุดของวัสดุที่เกิดการแบ่งแยกนิวเคลียสได้ ซึ่งเพียงพอต่อการเกิดและสืบเนื่องของปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียส (ดู fissionable material ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Criticality | ภาวะวิกฤต, ภาวะที่ปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียสสามารถสืบเนื่องอยู่ได้ โดยอัตราการเกิดนิวตรอนจากปฏิกิริยาเท่ากับอัตราการสูญเสียนิวตรอน [นิวเคลียร์] |
Decay, radioactive | การสลาย(กัมมันตรังสี), การแปลงนิวเคลียสที่เกิดขึ้นเองของนิวไคลด์กัมมันตรังสีหนึ่งให้เป็นนิวไคลด์อีกชนิดหนึ่ง หรือชนิดเดิมที่มีสถานะพลังงานต่างกัน กระบวนการนี้ทำให้จำนวนอะตอมกัมมันตรังสีของสารตั้งต้นลดลงตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา หรืออนุภาคบีตา และหรือรังสีแกมมาออกมา หรือมีการจับยึดแบบนิวเคลียร์ (nuclear capture) หรือการสลัดอิเล็กตรอนออกจากวงโคจร หรือการแบ่งแยกนิวเคลียส คำนี้มีความหมายเหมือนกับ radioactive disintegration [นิวเคลียร์] |
Decommissioning | การเลิกดำเนินงาน, กระบวนการด้านบริหารจัดการและด้านเทคนิค เพื่อยกเลิกการควบคุมโรงงานนิวเคลียร์บางส่วนหรือทั้งหมด เนื่องจากไม่มีการใช้งานอีกต่อไป โดยต้องให้มีความปลอดภัยต่อสาธารณชนและสิ่งแวดล้อมในระยะยาว รวมถึงการลดปริมาณนิวไคลด์กัมมันตรังสีที่ตกค้างอยู่ตามวัสดุและสถานที่ต่างๆ หลังจากเลิกดำเนินงาน วัสดุบางส่วนสามารถนำกลับมาแปรใช้ใหม่ ใช้ซ้ำ หรือจัดเก็บเป็นกากกัมมันตรังสี ส่วนสถานที่ก็สามารถใช้ประโยชน์ด้านอื่นได้ (ดู commissioning ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Delayed neutrons | ดีเลย์นิวตรอน, นิวตรอนที่ถูกปล่อยออกมาจากผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียสในช่วงเวลาหลายวินาทีหรือหลายนาทีภายหลังการเกิดปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียส ดีเลย์นิวตรอนที่เกิดขึ้นนี้มีไม่เกินร้อยละ 1 ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับการออกแบบและควบคุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ (ดู prompt neutrons ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Depleted uranium | ยูเรเนียมด้อยสมรรถนะ, ยูเรเนียมที่มีองค์ประกอบของยูเรเนียม-235 น้อยกว่าร้อยละ 0.7 พบได้ในเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ใช้แล้ว หรือผลพลอยได้จากการผลิตยูเรเนียมเสริมสมรรถนะ ซึ่งมียูเรเนียม-235 อยู่ ร้อยละ 0.20-0.25 นอกนั้นเป็นยูเรเนียม-238 (ดู natural uranium และ spent fuel ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Deuteron | ดิวเทอรอน, นิวเคลียสของดิวเทอเรียม [นิวเคลียร์] |
Dirty bomb | เดอร์ตีบอมบ์, ระเบิดนิวเคลียร์ที่มีฝุ่นกัมมันตรังสีเกิดขึ้นค่อนข้างมาก ปัจจุบันคำนี้หมายรวมถึง ระเบิดที่มีสารกัมมันตรังสีรวมอยู่ด้วยเพื่อให้มีการกระจายของกัมมันตภาพรังสี [นิวเคลียร์] |
อาวุธนิวเคลียร์ | [āwut niūkhlīa] (n, exp) FR: arme nucléaire [ f ] |
กากนิวเคลียร์ | [kāk niūkhlīa] (n, exp) FR: déchet nucléaire [ m ] |
ขยะนิวเคลียร์ | [khaya niukhlīa] (n, exp) EN: nuclear waste FR: déchet nucléaire [ m ] |
เคล้าเคลีย | [khaokhlīa] (v) EN: snuggle ; cuddle ; nestle ; embrace ; nuzzle |
เคลียร์ | [khlīa] (v) EN: clear ; manage ; solve |
เคลียร์ | [khlīa] (v) EN: clear ; be obvious |
เคลียร์บัญชี | [khlīa banchī] (v, exp) EN: clear accounts ; settle an account |
เคลียร์เช็ค | [khlīa chek] (v, exp) EN: clear a cheque ; clear a check (Am.) |
เคลียร์หนี้ | [khlīa nī] (v, exp) EN: settle one's debts |
เคลียร์พื้นที่ | [khlīa pheūnthī] (v, exp) EN: clear an area |
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ | [khreūang patikøn niūkhlīa] (n, exp) FR: réacteur nucléaire [ m ] |
นิวเคลียร์ | [niukhlīa] (adj) EN: nuclear FR: nucléaire |
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ | [niukhlīa fisik] (n, exp) EN: nuclear physics FR: physique nucléaire [ f ] |
นิวเคลียร์ฟิวชัน | [niukhlīa fiūchan] (n, exp) EN: nuclear fusion FR: fusion nucléaire [ f ] |
นิวเคลียร์เคมี | [niukhlīa khēmī] (n, exp) EN: nuclear chemistry FR: chimie nucléaire [ f ] |
นิวเคลียส | [niukhlīes] (n) EN: nucleus FR: noyau [ m ] |
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ | [patikiriyā niūkhlīa] (n, exp) EN: nuclear reaction FR: réaction nucléaire [ f ] |
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน | [patikiriyā niūkhlīa fitchan] (n, exp) FR: fission nucléaire [ f ] |
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน | [patikiriyā niūkhlīa fiūchan] (n, exp) FR: fusion nucléaire [ f ] |
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่ทำให้เกิดการระเบิด | [patikiriyā niūkhlīa thī tham hai koēt kān raboēt] (xp) EN: nuclear explosion FR: explosion nucléaire [ f ] |
พลังงานนิวเคลียร์ | [phalang-ngān niuhklīa] (n, exp) EN: nuclear energy FR: énergie nucléaire [ f ] |
โรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ | [rōng-ngān fai fā niūkhlīa] (n, exp) EN: nuclear power station FR: centrale nucléaire [ f ] |
clear | (vi) เคลียร์ริ่งเช็ค |
decay | (n) การสลายกัมมันตรังสี (ทางนิวเคลียร์ฟิสิกส์), See also: การสลายอนุภาคหรือรังสี, Syn. disintegration, degeneration, radioactive decay |
fallout | (n) ฝุ่นกัมมันตรังสีหลังนิวเคลียร์ระเบิด |
fission | (n) การแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอม (ทางฟิสิกส์), Syn. nuclear fission |
isotope | (n) ไอโซโทป, See also: ธาตุที่มีคุณสมบัติทางเคมีเหมือนกัน โดยมีจำนวนโปรตอนในนิวเคลียสเหมือนกันแต่จำนวนนิวตร |
megaton | (n) หน่วยวัดพลังนิวเคลียร์ |
megatonnage | (n) การวัดพลังนิวเคลียร์ |
MIRV | (abbr) คำย่อจาก multiple independently targeted, See also: จรวดติดระเบิดนิวเคลียร์หลายลูกเพื่อยิงไปยังที่หมายต่างกัน |
neutron | (n) อนุภาคของนิวเคลียส, See also: นิวตรอน |
nuclear | (adj) เกี่ยวกับนิวเคลียร์, See also: เกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์, Syn. radioactive |
nuclear bomb | (n) ระเบิดนิวเคลียร์, Syn. nuclear armament, nuclear warhead, hydrogen bomb |
nuclear energy | (n) พลังงานนิวเคลียร์ |
nuclear fuel | (n) แหล่งเชื้อเพลิงของพลังงานนิวเคลียร์ |
nuclear physics | (n) สาขาฟิสิกส์นิวเคลียร์ |
nuclear power | (n) พลังงานนิวเคลียร์, See also: พลังงานปรมาณู, Syn. nuclear energy |
nuclear war | (n) สงครามนิวเคลียร์ |
nuclear waste | (n) กากเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ |
nuclear weapons | (n) อาวุธนิวเคลียร์ |
nuclear winter | (n) ช่วงเวลาไร้แสง/ความร้อน/การเจริญเติบโตเพราะสงครามนิวเคลียร์ |
nuclear-free | (adj) ซึ่งไม่มีพลังงานนิวเคลียร์ |
nuclear-powered | (adj) ซึ่งใช้พลังงานนิวเคลียร์ |
nucleus | (n) ส่วนที่อยู่ตรงกลางของอะตอม (ทางฟิสิกส์), See also: นิวเคลียส |
nucleus | (n) ส่วนที่อยู่ตรงกลางของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต (ทางชีววิทยา), See also: ก้อนสารสีเทาในสมองและไขสันหลัง, นิวเคลียส |
nuke | (n) อาวุธนิวเคลียร์ |
nuke | (vt) โจมตีด้วยนิวเคลียร์ |
reactor | (n) เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์, See also: ปฏิกรณ์, เครื่องปฏิกรณ์, เตาแยกปฏิกรณ์ปรมาณู |
thermonuclear | (adj) เกี่ยวกับนิวเคลียร์ความร้อน, Syn. atomic, nuclear |
weaponeer | (n) ผู้เชี่ยวชาญด้านอาวุธ โดยเฉพาะอาวุธนิวเคลียร์, See also: ผู้ชำนาญด้านอาวุธ โดยเฉพาะอาวุธนิวเคลียร์ |
wheat germ | (n) ส่วนนิวเคลียสหรือแกนกลางของเมล็ดข้าวสาลี, See also: เป็นส่วนที่มีวิตามินมาก |
acromatin | (แอคโคร' มาทิน) n. l่วนของนิวเคลียสของเซลล์ที่ไม่ติดสีย้อมได้ง่าย |
alpha decay | ขบวนการแผ่กัมมันตภาพรังสีที่อนุภาคแอลฟ่าถูกขับออกจากนิวเคลียสของอะตอม ทำให้ atomic number ลดลงไปสอง |
alpha particle | อนุภาคที่มีประจุบวกที่ประกอบด้วยสองโปรตอนและสองนิวตรอน, นิวเคลียสของอะตอมของธาตุฮีเลียม (nucleus of a helium atom) |
amitosis | (แอมมิโท' ซิส) n. วิธีการแบ่งเซลล์โดยตรง มีลักษณะที่มีการแบ่งตัวนิวเคลียส์ โดยไม่เกิดโครโมโซม. -amitotic adj. |
atom bomb | ระเบิดปรมาณูซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาลูกโซ่ของการแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมของธาตุยูเรเนียม U -235 ทำให้ส่วนของมวลของมันเปลี่ยนเป็นพลังงานที่มหาศาล. |
atomic energy | พลังงานปรมาณูที่เกิดจากการจัดตัวใหม่ของนิวเคลียสของอะตอม. |
atomic number | จำนวนประจุบวกหรือโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม หรือเท่ากับจำนวนอีเล็กตรอนที่ล้อมรอบอะตอมอย่างปกติ |
bomb | (บอมบ์) { bombed, bombing, bombs } n. ระเบิด, ลูกระเบิด, ก้อนวัตถุเหลวที่ขับออกจากภูเขาไฟ, ระเบิดภูเขาไฟ, ความล้มเหลวสิ้นเชิง, อาวุธนิวเคลียร์ vi. ปล่อยลูกระเบิด, ทิ้งลูกระเบิด, ยิงลูกระเบิด, ล้มเหลว, Syn. missile |
cary- | Pref. นิวเคลียส |
caryo- | Pref. นิวเคลียส |
clear | (เคลียร์) { cleared, clearing, clears } adj., adv. ใส, ไม่ขุ่น, ไม่มีฝุ่น, แจ่มแจ้ง, ใสแจ๋ว, ใสสะอาด, ไร้มลทิน, ชัดเจน, แน่ชัด, ไม่มีอุปสรรค์, เปิดเผย, ไม่มีสินค้า, ไม่มีหนี้สิน, ไม่มีส่วนลด vt. ทำให้สะอาด, ทำให้ใสแจ๋ว, กวาดล้าง vi. ใส, กลายเป็นใสสะอาด, กลายเป็นชัดเจน, แลกเปลี่ |
clearage | (เคลีย'เรจฺ) n. การชำระสะสาง, การขจัด |
clearance | (เคลีย'เรินซฺ) n. การทำความสะอาด, การกวาดล้าง, ช่องว่างระหว่างสองสิ่ง, การขายรุสต๊อก, การผ่านการตรวจของศุลกากร, การอนุมัติ, บัตรอนุญาต, การแลกเปลี่ยนเอกสาร |
clearing | (เคลีย'ริง) n. การชำระล้าง, การทำความสะอาด, ที่โล่ง, การแลกเปลี่ยนเอกสารธนาคาร, การหักบัญชี, ยอดจำนวนเงินที่หักบัญชีกัน |
cytoplasm | (ไซ'ทะพลาสซึม) n. โปรโตปลาสซึมของเซลล์ (ไม่นับนิวเคลียส), See also: cytoplasmic adj. |
disintegrate | (ดิสอิน'ทะเกรท) vi. ทำให้แตกสลาย, ทำให้เน่าเปื่อย, สึกกร่อนเปลี่ยนเป็นนิวเคลียสที่ต่างชนิด vt. สลายตัวเป็นอนุภาคหรือเศษเล็กเศษน้อย., See also: disintegrable adj. disintegrative adj. disintegration n., Syn. fall apart |
endoplasmic reticulum | เป็นท่อขนาดเล็ก แทรกอยู่ทั้วไปในไซโตปลาสซึม และเป็นส่วนที่เชื่อมระหว่างผนังเซลล์กับผนังนิวเคลียส ของเหลวภายในนี้จึงเหมือนกับของเหลวภายนอกเซลล์ทำหน้าที่เป็นระบบสังเคราะห์และลำเลียงสารไปยังที่ต่างภายในและภายนอกเซลล์ แบ่งออกได้เป็น 2 พวก คือ Granular พวกนี้มี ribosome มาเกาะจึงเห็นเปืนผิวขรุขระ ทำหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนและลำเลียงเพื่อปล่อยออกนอกเซลล์ ส่วนชนิดที่ 2 เรียกว่า Agranular หรือชนิดผิวเรียบเพราะไม่มี ribosome มาเกาะ ทำหน้าที่ผลิตสารพวกไขมันและลำเลียงโปรตีนต่าง ๆ ภายในเซลล์ |
fission | (ฟิส'เชิน) n. การแยกออก, การแบ่งเซลล์, การแตกแยกออก, การแบ่งตัว, การแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมออกเป็นอะตอมที่มีน้ำหนักน้อยกว่า และเกิดพลังงานขึ้นอย่างมหาศาล |
fusion | (ฟิว'เชิน) n. การหลอมละลาย, การหลอมเหลว, สิ่งที่หลอมละลาย, การผสมของพรรคการเมือง, ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่นิวเคลียสของอะตอมที่เบารวมตัวกันเป็นนิวเคลียสที่หนักขึ้น (nuclear, See also: fusion, Syn. coalescence, combine, Ant. separate |
interphase | เป็นระยะแรกในการแบ่งตัวของเซลล์แบบ mitosis เป็นระยะที่เตรียมพร้อมดังนั้นในระยะนี้นิวเคลียสจะสะสมทุกอย่างและมี metabolism มากที่สุด จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า metabolivc stage ในระยะนี้โครโมโซมจะมีการจำลองตัวเอง โดยการสร้างโครโมโซมขึ้นมาใหใภายในตัวมีลักษรัเหมือนเดิมทุกอย่างแต่สลับข้างกัน |
mass number | n. จำนวนnucleonsในนิวเคลียสของอะตอมมีค่าใกล้เคียงกับน้ำหนักอะตอม |
mitosis | (ไมโท'ซิส) n. การแบ่งนิวเคลียสของเซลล์อย่างอ้อม |
nuclear | (นิว'เคลียร์) adj. นิวเคลียร์ |
nuclear fission | n. การแตกตัวของนิวเคลียสของอะตอมเป็นนิวเคลียสของอะตอมที่เบากว่า และมีการปล่อยพลังงานออก |
nuclear fusion | n. ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสของอะตอมที่เบากว่ารวมกันเป็นนิวเคลียสที่หนักกว่าเช่นอะตอมของdeuteriumรวมกับอะตอมของฮีเลียม |
nuclear physics | n. นิวเคลียร์ฟิสิกส์, See also: nuclear physicist n. |
nuclear reaction | n. ปฏิกริยานิวเคลียร์ |
nuclear reactor | n. เครื่องปฏิกรนิวเคลียร์ |
nucleoli | เป็นจุดเล็ก ๆ ในนิวเคลียส ซึ่งเป็นก้อนของ RNA มี chromaitin granule เป็นเม็ดเล็ก ๆ กระจายอยู่ทั่วไปใน nucleoplasm ประกอบด้วย deoxyribonucleic acid (DNA) ซึ้งเป็นส่วนสำคัญในการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ |
nucleus | (นิว'เคลียส) n. นิวเคลียส ใจกลาง, แก่นกลาง pl. nuclei |
nuke | (นูค) n., adj. อาวุธนิวเคลียร์ |
prophase | เป็นระยะที่สองของการแบ่งตัวแบบ miotosis โดยโครโมโซมเริ่มหดสั้นเข้าโดยบิดเป็นเกลียวคล้ายเกลียวเชือกเยื่อหุ้มนิวเคลียสและ nucleolus เริ่มสลายตัวพอถึงระยะปลาย prophase จะเห็นโครโมโซมเป็นสองเส้นคู่กัน และแต่ละเส้นเรียกว่า chromatid และ chromatid จะเรียงตัวเข้ามากลางเซลล์ ส่วนในไซโตปลาสซึมโครโมโซมจะทำการแบ่งตัวเป็น 2 อัน แล้วเคลื่อนออกไป 2 ด้านแต่ยังติดด้วยเส้นใยขาว ๆ (spindle fiber) |
reactor | (รีแอค'เทอะ) n. บุคคลหรือสารที่มีปฏิกิริยาโต้ตอบ, เครื่องปฏิกรณ์, เครื่องต้านไฟฟ้า, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ |
thermonuclear | (เธอโมนิว'เคลียร์) adj. เกี่ยวกับนิวเคลียร์ความร้อน, เกี่ยวกับnuclear reaction (ดู) |