65 ผลลัพธ์ สำหรับ *literacy*
/ลิ เถ่อ (ร) เหรอะ สี่/     /lˈɪtɜːʴəsiː/
หรือค้นหา: literacy, -literacy-

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
literacy(n) ความสามารถในการอ่านและเขียน
illiteracy(n) การไม่รู้หนังสือ, See also: การอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้, Syn. ignorance

Hope Dictionary
computer literacyการรู้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐานหมายถึง การเรียนรู้เพียงเพื่อให้เข้าใจพื้นฐานหรือความรู้เบี้องต้นเกี่ยวกับการทำงาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์ และการนำเครื่องไปใช้ประโยชน์ในงานด้านต่าง ๆ
illiteracy(อิลิท'เทอระซี) n. การไม่สามารถอ่านและเขียนหนังสือได้, การไร้การศึกษา, การไม่รู้หนังสือ, การไม่มีความรู้ในสาขาหนึ่ง
literacy(ลิท'เทอระซี) n. ความสามารถอ่านออกเขียนได้, การรู้หนังสือ

Nontri Dictionary
illiteracy(n) การไม่รู้หนังสือ
literacy(n) การรู้หนังสือ

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
literacyการรู้หนังสือ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
literacy ratioอัตราส่วนการรู้หนังสือ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
literacy statisticsสถิติการรู้หนังสือ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
literacy testการทดสอบการรู้หนังสือ (เกี่ยวกับสิทธิเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
computer literacyการรู้คอมพิวเตอร์ขั้นพื้นฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
illiteracyการไม่รู้หนังสือ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
illiteracyการไม่รู้หนังสือ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
illiteracy ratioอัตราส่วนการไม่รู้หนังสือ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
test, literacyการทดสอบการรู้หนังสือ (เกี่ยวกับสิทธิเลือกตั้ง) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
numeral literacyการรู้ตัวเลขขั้นพื้นฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Information literacyการรู้สารสนเทศ, Example: <p>หมายถึง ความรู้ความสามารถและทักษะของบุคคลในการเข้าถึงสารสนเทศ ประเมินสารสนเทศที่ค้นมาได้ และใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพทุกรูปแบบ <p>สมาคมห้องสมุดแห่งอเมริกัน (American Library Association) ได้กำหนดองค์ประกอบของการรู้สารสนเทศไว้ 4 ประการดังนี้คือ [ 1 ] <p>1. ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจึงจะต้องการหรือจำเป็นต้องใช้สารสนเทศ เข้าใจถึงความสำคัญของสารสนเทศว่าใช้ประโยชน์และช่วยในการทำงานหรือการเรียนได้ดีขึ้นอย่างไร หมายรวมถึงการรู้ถึงหัวข้อเรื่อง ขอบเขตที่ต้องการ รูปแบบและประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ <p>2. ความสามารถในการค้นหาและเข้าถึงสารสนเทศ คือ การรู้ว่าจะได้สารสนเทศที่ต้องการได้จากแหล่งใด และจะค้นคืนอย่างไร <p>3. ความสามารถในการประเมินสารสนเทศ หมายถึง ความสามารถในการสรุปแนวคิดหลักจากสารสนเทศที่รวบรวมมาได้ โดยอาศัยหลักเกณฑ์การประเมินสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศ คือ ความน่าเชื่อถือ ความเที่ยงตรง ความถูกต้อง และความทันสมัย รวมถึงการคิดและการวิเคราะห์สารสนเทศที่ได้มา <p>4. ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ คือ ความสามารถในการใช้สารสนเทศที่มีอยู่ในการวางแผนและสร้างผลงานของตนเอง และสามารถเผยแพร่ผลงานนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ <p>ขณะที่ Unesco ก็ได้ให้ความสำคัญและเห็นว่าทุกคนควรมีโอกาสที่จะได้รับทักษะ เพื่อความเข้าใจ การมีส่วนร่วม การได้รับผลประโยชน์จากสังคมความรู้ แต่ด้วยการเกิดภาวะที่สารสนเทศเติบโตขึ้นมากจากหลายแหล่ง และอย่างรวดเร็ว ต้องมีการพิจารณาให้มีการใช้สารสนเทศอย่างฉลาด ซึ่งจะช่วยผู้ใช้พัฒนาทักษะ และความเข้าใจถึงสิ่งที่ต้องการหามีกระบวนการ และการใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำได้ผ่าน 3 รูปแบบ คือ The Big 6, Seven Pillars และ Empowering Eight <p>The Big 6 เป็นรูปแบบที่นิยมใช้กันมา พัฒนาโดยบรรณารักษ์ชาวอเมริกัน 2 คน คือ ไมค์ ไอเซนเบิร์ก และ บอบ เบอร์โควิทซ์ คือ 1. Task Definition 2. Information-seeking strategies 3. Location and access 4. Use of information 5. Synthesis และ 6. Evaluation <p>Seven Pillars The Information Skills Taskforce of the Standing of National and University Libraries in the United States Kingdom (SCONUL) ได้พัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1999 คือ 1. Recognize information need 2. Distinguish ways of addressing gap 3. Construct strategies for locating 4. Locate and access 5. Compare and evaluate 6. Organize, apply and communicate และ 7. Synthesis and create <p>Empowering Eight ผู้เข้าร่วมประชุมในงาน International Workshop on Information Skills for Learning in Columbo, Sri Lanka ได้พัฒนาขึ้นสำหรับใช้ในกลุ่ม South and South East Asia ในปี ค.ศ. 2004 คือ 1. Identify 2. Expore 3. Select 4. Organize 5. Create 6. Present 7. Create และ 8. Apply <p>แหล่งข้อมูล <p>[ 1 ] American Library Association. Association of College and Research Libraries. Information Literacy Competency Standards for Higher Education. http://www.ala.org/ala/mgrps/divs/acrl/standards/informationliteracycompetency.cfm (accessed June 6, 2011). <p>[ 2 ] สุภาพร ชัยธัมมะปกรณ์. (2552). Information Literacy. http://www.stks.or.th/web/index.php?option=com_content&task=view&id=2834&Itemid=1 (เข้าถึงเมื่อวันที่ 6 มิ.ย. 2554) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Computer literacyการรู้จักใช้คอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading]
Information literacyการรู้จักใช้สารสนเทศ [TU Subject Heading]
Literacyการรู้หนังสือ [TU Subject Heading]
Literacy programsโครงการรณรงค์เพื่อการรู้หนังสือแห่งชาติ [TU Subject Heading]
Media literacyการรู้จักใช้สื่อ [TU Subject Heading]
Technological literacyการรู้จักใช้เทคโนโลยี [TU Subject Heading]
Illiteracyผู้ไม่รู้หนังสือ, Example: บุคคลที่มีอายุในระดับที่ควรอ่านออกเขียนได้ แต่ไม่สามารถอ่านและเขียนได้ [สิ่งแวดล้อม]
Information Literacyการรู้สารสนเทศ, Example: Information literacy ยังไม่มีการบัญญัติศัพท์ภาษาไทยอย่างเป็นทางการ และในอดีตได้มีผู้แปลเป็นภาษาไทยไว้ต่างๆ กัน เช่น การรู้สารสนเทศ ความรู้ทางสารสนเทศ ทักษะการใช้ประโยชน์จากสารสนเทศ แต่สาระสำคัญ คือ การตระหนักถึงความสำคัญของการเข้าถึงและสามารถใช้ประโยชน์จากสารสนเทศของปัจเจกชนแต่ละบุคคลในการดำรงชีวิตประจำวัน และการประกอบอาชีพ ในขณะที่เริ่มเป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวางถึงบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการจัดเก็บผลิต และแพร่กระจายสารสนเทศและความรู้ให้เป็นไปอย่างรวดเร็วและกว้างขวางยิ่งขึ้น<p> UNESCO ได้นิยาม Information literacy ว่าหมายถึงความสามารถของปัจเจกชนในการ <ol> <li>ตระหนักถึงความต้องการสารสนเทศของตนเอง</li> <li>รู้ถึงวิธีการในการสืบค้นและแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่ต้องการรวมถึงต้องสามารถประเมินคุณค่าของสารสนเทศที่สามารถหามาได้</li> <li>รู้จักวิธีการจัดเก็บและเรียกข้อมูลสารสนเทศมาใช้เมื่อต้องการ</li> <li>สามารถใช้สารสนเทศดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิผลและมีจริยธรรม</li> <li>ประยุกต์ใช้สารสนเทศเพื่อสร้างและแพร่กระจายความรู้</li> </ol> <p>[ ที่มา: UNESCO, Towards Information Literacy Indicators: Conceptual Framework Paper ] [เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ]
Media literacyการรู้เท่าทันสื่อ, Example: การรู้เท่าทันสื่อ หมายถึง การอ่านสื่อให้ออกเพื่อพัฒนาทักษะในการเข้าถึงสื่อ การวิเคราะห์สื่อ การตีความเนื้อหาของสื่อ การประเมินค่าและเข้าใจผลกระทบของสื่อ รวมถึงความสามารถใช้สื่อให้เกิดประโยชน์ได้ การรู้เท่าทันสื่อ Media literacy เป็นแนวคิดที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล และมีการระบุในยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านสื่อสารมวลชนขององค์การ UNESCO ซึ่งอยู่ในกรอบแนวคิดเรื่อง “การส่งเสริมเสรีภาพในการแสดงออกและการเสริมสร้างสมรรถนะในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและความรู้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน” โดยมีหลักการหนึ่งระบุไว้ว่าด้วย “การยกระดับการรู้เท่าทันสื่อให้ส่งขึ้น” <p>[ ที่มา: ผศ.ดร.พรทิพย์ เย็นจะบก, ถอดรหัสลับความคิดเพื่อการรู้เท่าทันสื่อ ] [เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ]
Literacyการรู้หนังสือ [การแพทย์]
Literacy Rateอัตราผู้อ่านออกเขียนได้ [การแพทย์]

ตัวอย่างประโยคจาก Tanaka JP-EN Corpus
literacySecondly, the literacy rate in Europe of that time was low.

CMU Pronouncing Dictionary
literacy
 /L IH1 T ER0 AH0 S IY0/
/ลิ เถ่อ (ร) เหรอะ สี่/
/lˈɪtɜːʴəsiː/
illiteracy
 /IH2 L IH1 T ER0 AH0 S IY0/
/อิ ลิ เถ่อ (ร) เหรอะ สี่/
/ˌɪlˈɪtɜːʴəsiː/

Oxford Advanced Learners Dictionary
literacy
 (n) /l i1 t @ r @ s ii/ /ลิ เถอะ เหรอะ สี่/ /lˈɪtərəsiː/
illiteracy
 (n) /i1 l i1 t @ r @ s ii/ /อิ้ ลิ เถอะ เหรอะ สี่/ /ˈɪlˈɪtərəsiː/

WordNet (3.0)
illiteracy(n) ignorance resulting from not reading
illiteracy(n) an inability to read, Syn. analphabetism, Ant. literacy
literacy(n) the ability to read and write, Ant. illiteracy

Collaborative International Dictionary (GCIDE)
Illiteracy

n.; pl. Illiteracies [ From Illiterate. ] 1. The state of being illiterate, or uneducated; lack of learning, or knowledge; ignorance; specifically, inability to read and write; as, the illiteracy shown by the last census. [ 1913 Webster ]

2. An instance of ignorance; a literary blunder. [ 1913 Webster ]

The many blunders and illiteracies of the first publishers of his [ Shakespeare's ] works. Pope. [ 1913 Webster ]

Literacy

n. State of being literate. [ 1913 Webster ]


CC-CEDICT CN-EN Dictionary
六艺[liù yì, ㄌㄧㄡˋ ㄧˋ,   /  ] the Confucian Six Arts - namely rites or etiquette 禮|礼 (禮儀|礼仪), music 樂|乐 (音樂|音乐), archery 射 (射箭), charioteering 御 (駕車|驾车), calligraphy or literacy T書|书 (識字|识字), mathematics or reckoning 數|数 (計算|计算) #78,010 [Add to Longdo]
文江学海[wén jiāng xué hǎi, ㄨㄣˊ ㄐㄧㄤ ㄒㄩㄝˊ ㄏㄞˇ,     /    ] river of literacy, sea of learning (成语 saw); ars longa, vita brevis [Add to Longdo]
读写能力[dú xiě néng lì, ㄉㄨˊ ㄒㄧㄝˇ ㄋㄥˊ ㄌㄧˋ,     /    ] literacy [Add to Longdo]

DING DE-EN Dictionary
Alphabetisierungskampagne { f }; Kampagne gegen das Analphabetentumliteracy campaign [Add to Longdo]
Analphabetenquote { f }; Alphabetisierungsgrad { m }literacy rate [Add to Longdo]
Analphabetentum { n }; Analphabetismus { m }illiteracy [Add to Longdo]
Bildung { f }; Gebildetsein { n }; Fähigkeit zu lesen und zu schreibenliteracy [Add to Longdo]
EDV-Kenntnisse { pl }computer literacy [Add to Longdo]
Lese- und Schreibtest { m }literacy test [Add to Longdo]

EDICT JP-EN Dictionary
インフォメーションリテラシー[infome-shonriterashi-] (n) information literacy [Add to Longdo]
コンピュータリテラシ[konpyu-tariterashi] (n) { comp } computer literacy [Add to Longdo]
コンピュータリテラシー;コンピューターリテラシー[konpyu-tariterashi-; konpyu-ta-riterashi-] (n) { comp } computer literacy [Add to Longdo]
メディアリテラシー[medeiariterashi-] (n) media literacy [Add to Longdo]
リテラシ;リテラシー[riterashi ; riterashi-] (n) literacy [Add to Longdo]
一文不知[いちもんふち, ichimonfuchi] (n, adj-no) total illiteracy [Add to Longdo]
一文不通[いちもんふつう, ichimonfutsuu] (n, adj-no) total illiteracy [Add to Longdo]
活字離れ[かつじばなれ, katsujibanare] (n, adj-no) aliteracy; loss of interest in or shift away from reading (especially serious) books or literature [Add to Longdo]
識字[しきじ, shikiji] (n) literacy [Add to Longdo]
識字教育[しきじきょういく, shikijikyouiku] (n) literacy education [Add to Longdo]
識字率[しきじりつ, shikijiritsu] (n) literacy rate [Add to Longdo]
情報リテラシ[じょうほうリテラシ, jouhou riterashi] (n) { comp } information literacy [Add to Longdo]
非識字[ひしきじ, hishikiji] (n) illiteracy [Add to Longdo]
文盲[もんもう, monmou] (n, adj-no) (1) (sens) (See 非識字) illiteracy; (n) (2) (sens) illiterate person; an illiterate [Add to Longdo]
無学[むがく, mugaku] (adj-na, n, adj-no) illiteracy [Add to Longdo]
無筆[むひつ, muhitsu] (n) illiteracy [Add to Longdo]
盲(P);瞽[めくら(P);めしい(盲), mekura (P); meshii ( mou )] (n) (1) (sens) blindness; blind person; (2) (めくら only) illiteracy; illiterate person; (3) (めくら only) ignorance; ignoramus; (P) [Add to Longdo]

Time: 1.2546 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/