acoustic memory | หน่วยความจำเชิงเสียงเป็นหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ ที่ใช้สายหน่วงเสียง (acoustic delay line) ซึ่งใช้ปรอทหรือ ควอร์ทซ์ (quartz) เป็นสื่อ |
auxiliary memory | หน่วยความจำช่วย <คำแปล>หมายถึงหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูลนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ (เพิ่มไปจากหน่วยความจำหลัก) เช่น จานบันทึก เมื่อใดที่ต้องการใช้ ก็ให้เครื่องคอมพิวเตอร์นำมาเก็บในเครื่อง จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม แล้วเก็บลงใหม่ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อมิให้สิ้นเปลืองหน่วยความจำหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์ |
bubble memory | หน่วยความจำแบบฟองหมายถึง หน่วยความจำชนิดหนึ่งที่สามารถเก็บข้อมูลไว้ใด้แม้ว่าไฟฟ้าจะดับไปแล้วก็ตาม นิยมใช้กันมากสำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดวางตัก (laptop) หรือคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ๆ ที่ไม่มีเนื้อที่มากพอที่จะมีฮาร์ดดิสก์ได้ |
ccd memory | หน่วยความจำแบบซีซีดีย่อมาจาก charge coupled device memory (หน่วยความจำแบบอุปกรณ์ถ่ายเทประจุ) หมาย ถึงหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ที่ทำจากซิลิคอนชิป (silicon chip) ซึ่งสามารถเปลี่ยนสนามแม่เหล็กไฟฟ้าไปเป็นประจุไฟฟ้า และสามารถบันทึกข้อมูลลงในจานแม่เหล็ก (disk) ได้ เหมาะสำหรับงานที่เรียกใช้ข้อมูลในหน่วยความจำตามลำดับ (sequential) หน่วยความจำชนิดนี้ทำงานช้ากว่าแรม (RAM) แต่เร็วกว่าแบบแม่เหล็ก |
conventional memory | หน่วยความจำปกติใช้เรียก 640 กิโลไบต์แรกของหน่วยความจำ (RAM) ใน เครื่องคอมพิวเตอร์ไอบีเอ็ม และเครื่องเลียนแบบไอบีเอ็ม (IBM compatibles) ที่กำหนดว่าต้องมีหน่วยความจำอย่างน้อย 640 เค (เป็นมาตรฐานที่กำหนดไว้นานแล้ว) |
expanded memory | หน่วยความจำส่วนขยายหมายถึง หน่วยความจำที่เพิ่มเข้ามาภายหลัง วิธีเพิ่มหน่วยความจำแบบนี้คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบดอส นิยมใช้อยู่ก่อนจะมีการนำชิป (chip) 80286 มาใช้ หน่วยความจำนี้เป็นหน่วยความจำต่างหากที่บริษัทที่ผลิตคอมพิวเตอร์ทำเป็นรายการแถมให้ เพิ่มจากหน่วยความจำ 640 K ที่ใช้อยู่เดิม ไม่ใช่นำหน่วยความจำเดิมมาทำให้ใหญ่ขึ้น เป็นหน่วยความจำคนละหน่วย แต่คอมพิวเตอร์สามารถเรียกข้อมูลจากหน่วยความจำนี้ได้รวดเร็ว จนทำให้ผู้ใช้รู้สึกเหมือนกับว่าเป็นหน่วยความจำเดียวกัน |
expanded memory manager | ชื่อโปรแกรมขยายหน่วยความจำใช้ตัวย่อว่า EMM (อีเอ็มเอ็ม) เป็นชื่อของโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) โปรแกรมหนึ่งที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถทำให้หน่วยความจำมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ส่วนมากจะใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีตัวประมวลผลเป็นชิป (chip) เบอร์ 80386 หรือ 80486 |
extended memory | หน่วยความจำส่วนเพิ่มหมายถึง หน่วยความจำชุด 80286, 80386 และ 80486 ซึ่งขยายแล้ว จุได้มากว่า 1 เมกะไบต์ |
extended memory specifica | ข้อกำหนดหน่วยความจำแบบขยายใช้ตัวย่อว่า XMS (อ่านว่า เอกซ์เอ็มเอส) เป็นมาตรฐานการจัดการเกี่ยวกับหน่วยความจำแบบหนึ่งที่ยอมให้โปรแกรมระบบดอส เข้าถึงส่วนความจำขยายได้ โปรแกรมในดอสที่จัดการเรื่องนี้ มีชื่อว่า Himem.Sys |
external memory | หน่วยความจำภายนอกหมายถึง สื่อต่าง ๆ ที่ใช้เป็นตัวเก็บข้อมูลเพิ่มจากหน่วยความจำหลัก (main memory) ในคอมพิวเตอร์ เช่น แถบบันทึก (tape) จานบันทึก (disk) เพราะราคาถูกกว่ามาก ถึงจะไม่เปิดไฟ ก็สามารถเก็บข้อมูลไว้ได้ หน่วยความจำหลักในคอมพิวเตอร์นั้นไม่มีที่พอจะนำข้อมูลจำนวนมาก ๆ เข้าไปเก็บไว้ได้หมด (ยิ่งมีขนาดใหญ่ ก็ยิ่งแพงมาก) เพื่อช่วยประหยัด เราอาจเก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำรอง หรือหน่วยความจำช่วย (auxiliary storage) นี้ก่อน และจะดึงไปไว้ในหน่วยความจำหลักเฉพาะเมื่อเวลาต้องการเรียกใช้มีความหมายเหมือน external storage, secondary memory และ auxiliary storage |
high memory | หน่วยความจำสูงหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยความจำที่มีขนาดระหว่าง 640 K ถึง 1 เมกะไบต์ดู memory ประกอบ |
high memory area | เขตปฏิบัติการหน่วยความจำสูงใช้ตัวย่อว่า HMA หมายถึงขนาดของหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบดอส (เดิมมี 64 K) ที่สามารถนำมาขยายเพิ่มขึ้นให้เกิน กว่า 1 เมกะไบต์ได้ |
main memory | หน่วยความจำหลักหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ไม่ได้อยู่ในหน่วยประมวลผลกลาง ในการทำงานของคอมพิวเตอร์นั้น เมื่ออ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว คอมพิวเตอร์จะนำข้อมูลนั้นไปไว้ในหน่วยความจำ แล้วจะเรียกมาใช้เมื่อต้องการ ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำนี้ จะอยู่ตลอดไปจนกว่าไฟจะดับ หรือมีการอ่านข้อมูลใหม่เข้าไปทับมีความหมายเหมือน main storage |
memory | (เมม'มะรี) n. ความจำ, ความทรงจำ, บุคคลหรือสิ่งที่จำไว้, หน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์ pl. memories |
memory map | แผนที่แสดงการใช้หน่วยความจำหมายถึงแผนที่หรือแผนผังที่แสดงถึงการใช้หน่วยความจำส่วนที่เรียกว่า แรม (RAM) ในเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะคล้ายกับแผนที่แสดงที่ตั้งจังหวัดต่าง ๆ ในแต่ละประเทศนั้นเอง สำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไปแล้ว ไม่จำเป็นต้องรู้เรื่องนี้เลยก็ได้ |
memory resident program | โปรแกรมในหน่วยความจำหมายถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนที่เก็บเอาไว้ในหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยที่เราไม่รู้ไม่เห็น และไม่สามารถเรียกมาดูได้ โดยมากเป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ต่าง ๆ เช่น โปรแกรมตัวขับเมาส์ (mouse driver) เป็นต้น โปรแกรมประเภทนี้บางทีเรียกว่า TSR (terminate and stay residnts) |
memory unit | หน่วยความจำหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น เมื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์อ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว เครื่องอ่านก็จะนำข้อมูลที่อ่านได้ไปเก็บไว้ในหน่วยความจำนี้ แล้วจะเรียกมาใช้ในเวลาที่ต้องการ ข้อความหรือข้อมูลที่นำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำแล้วไม่ว่าจะนำมาใช้สักกี่ครั้งกี่หน ก็จะยังคงเป็นอยู่อย่างเดิม แต่ถ้าข้อมูลอื่นถูกอ่านทับเข้าไป ข้อมูลเก่าจะถูกลบไปทันที หรือถ้าไฟดับ ข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในหน่วยความจำก็จะหายไปหมดเช่นกัน คอมพิวเตอร์จะทำงานได้ดี หรือมีประสิทธิภาพมากหรือน้อย ย่อมขึ้นอยู่กับหน่วยความจำนี้มากกว่าอย่างอื่น สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์ เราเรียกหน่วยความจำนี้ว่า ชิป (chip) ซึ่งใช้เป็นที่เก็บข้อมูล แบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ ประเภทอ่านได้อย่างเดียว เรียกว่า "รอม" (ROM หรือที่ย่อมาจาก read-only memory) ซึ่งเก็บคำสั่งประเภทที่เครื่องต้องปฏิบัติตามทันที เช่น ไบออส (BIOS) ข้อมูลในนั้นจะไม่มีวันลบหายแม้ว่าจะปิดเครื่อง ส่วนอีกประเภทหนึ่ง เรียกว่า "แรม" (RAM หรือที่ย่อมาจาก random access memory) หน่วยความจำแรมนี้ใช้เก็บโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลที่กำลังจะใช้งาน เมื่อปิดไฟที่ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่อยู่ในแรมจะหายไปหมด และหากเริ่มต้นเปิดเครื่องใหม่ ต้องการจะใช้โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลใด ก็จะต้องบรรจุ (load) โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลนั้นมาเก็บไว้ในแรมก่อน จึงจะทำงานต่อไปได้ สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์แล้ว ยิ่งแรมมีขนาดใหญ่เท่าใด ก็ยิ่งแสดงว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นมีประสิทธิภาพเท่านั้นอย่างไรก็ตาม หน่วยความจำที่กล่าวถึงนั้นเป็นหน่วยความจำที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่เรายังมีหน่วยเก็บข้อมูลที่อยู่นอกเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย หน่วยความจำนอกเครื่องนี้ เราเรียกว่า หน่วยความจำช่วย (auxiliary memory) ซึ่งหมายถึงสื่อเก็บข้อมูลต่าง ๆ นั่นเอง เป็นต้นว่า จานบันทึก แถบบันทึก หน่วยความจำเหล่านี้ ไฟดับข้อมูลก็ยังอยู่ |
nonvolatile memory | หน่วยความจำไม่ลบเลือนหมายถึง หน่วยความจำในเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่ข้อมูลในนั้นจะไม่ลบหายไป แม้ว่าจะปิดกระแสไฟแล้วก็ตาม เช่น หน่วยความจำประเภทอ่านอย่างเดียว (ROM) เป็นต้น ดู memory ประกอบ |
paged memory management u | ใช้ตัวย่อว่า PMMU (อ่านว่า พีเอ็มเอ็มยู) หมายถึง ชิป (chip) หรือวงจรตัวหนึ่งในคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ ที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ขยายหน่วยความจำเสมือน (virtual memory) |
personal computer memory | Personal Computer Memory Card International Association สมาคมระหว่างประเทศเพื่อ บัตรความจำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลใช้ตัวย่อว่า PCMCIA (อ่านว่า พีซีเอ็มซีไอเอ) แต่เดิมหมายถึงแผ่นวงจรที่ใช้บันทึกข้อมูล มีลักษณะเหมือนการ์ด ขนาดเท่าบัตรเครดิต (ยาว 8.5 ซม. กว้าง 5.4 ซม.) ต่อมาได้มีการพัฒนาให้นำมาใช้สอยได้มากขึ้น เช่น ใช้เป็นฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ก็ได้ เป็นการ์ดเพิ่มหน่วยความจำก็ได้ เป็นการ์ดแฟกซ์ หรือโมเด็มก็ได้ โครงสร้างของการ์ดนี้เป็นชิป (chip) ใช้เสียบเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กมาก ๆ เช่น โน้ตบุ๊ก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในด้านต่าง ๆ บางด้าน |
random access memory | หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่มใช้ตัวย่อว่า RAM (อ่านว่า แรม) เป็นหน่วยความจำประเภทหนึ่งที่เราสามารถเข้าถึงได้โดยวิธีการสุ่ม การเข้าถึงโดยสุ่มหมายถึง การเข้าถึงหน่วยความจำทุกจุดได้ โดยใช้เวลาในการเข้าถึงเท่ากันหมด ไม่ต้องตั้งต้นใหม่ทุกครั้งแล้วรอไปตามลำดับ (อย่างแถบบันทึกหรือเทป) "แรม" จะหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ วัดขนาดกันเป็นกิโลไบต์ หรือเมกะไบต์ ทำงานได้รวดเร็วมาก แต่เมื่อปิดไฟ ข้อมูลในนี้ก็จะหายไปหมด ไมโครคอมพิวเตอร์ที่ขายทั่วไปมักจะต้องมีข้อความบอกว่า มีแรมขนาดใด ยิ่งมีแรมมาก ก็จะยิ่งทำงานได้เร็ว ในปัจจุบัน ไมโครคอมพิวเตอร์ที่วางขายทั่วไปจะมีแรมประมาณ 1 - 8 เมกะไบต์ ปัจจุบันโปรแกรมสำเร็จใหญ่ ๆ หลายโปรแกรม เจาะจงว่าจะต้องใช้กับคอมพิวเตอร์ที่มีแรมอย่างน้อย 8 เมกะไบต์ดู read only memory เปรียบเทียบ |
read only memory | หน่วยความจำอ่านอย่างเดียวใช้ตัวย่อว่า ROM (อ่านว่า รอม) แปลว่าหน่วยความจำอ่านอย่างเดียว หมายถึงหน่วยความจำลักษณะหนึ่งที่ใช้สำหรับอ่านข้อมูลออกมาได้อย่างเดียวเท่านั้น จะบันทึกข้อมูลลงไปไม่ได้เลย หน่วยความจำส่วนนี้จะเก็บคำสั่งเบื้องต้นต่าง ๆ ไว้ และจะเก็บอยู่ตลอดไป แม้ว่าจะปิดสวิตซ์ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลในรอม ก็จะไม่สูญหายไปไหนดู RAM เปรียบเทียบ |
scratchpad memory | หน่วยความจำใช้งานชั่วคราวหมายถึง เรจิสเตอร์เอนกประสงค์ชุดหนึ่งหรือตำแหน่งซึ่งใช้เป็นที่เก็บคำสั่ง (instruction) หรือผลลัพธ์ที่เกิดในขณะนั้นจากการคำนวณเชิงคณิตศาสตร์หรือตรรกะ ข้อมูลในหน่วยความจำชุดนี้จะเข้าถึง (access) ได้เร็วกว่าในหน่วยความจำหลักมากมีความหมายเหมือน cache memoryดู register ประกอบ |
single in-line memory mod | ใช้ตัวย่อว่า SIMM (อ่านว่า ซิม) หมายถึงแผงวงจรขนาดเล็ก ที่บรรจุชิปจำนวนมากมาย ใช้เป็นหน่วยความจำได้ เหมาะที่จะใช้เมื่อต้องการเพิ่มหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ เพราะเพียงนำแผ่นวงจรซิมนี้มาเสียบเข้าไปในช่องเสียบ (slot) ในเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้นดู single in-line processor เปรียบเทียบ |
upper memory block | upper memory block หน่วยความจำส่วนบนใช้ตัวย่อว่า UMB (อ่านว่า ยูเอ็มบี) หมายถึง ส่วนหนึ่งของหน่วยความจำที่อยู่ตอนบน ที่อาจเก็บไว้ใช้งานเฉพาะอย่าง ทำให้เหมือนกับมีหน่วยความจำมากขึ้น โปรแกรมในระบบดอส (DOS) ที่ชื่อ EMM 386. EXE เป็นผู้จัดการสร้างส่วนนี้ในหน่วยความจำให้ |
video memory | หน่วยความจำภาพหมายถึง ส่วนหนึ่งของแรม (RAM) ที่ใช้เก็บข้อมูลต่าง ๆ ที่คอมพิวเตอร์กำลังแสดงผลอยู่บนจอภาพ ปกติ หน่วยความจำส่วนนี้ของพีซีจะใช้เนื้อที่กว่า 640 Kมีความหมายเหมือน video RAMดู RAM ประกอบ |
virtual memory | หน่วยความจำเสมือนหมายถึง การเขียนโปรแกรมให้ใช้หน่วยความจำได้มากกว่าที่เครื่องมีอยู่ เป็นต้นว่า คอมพิวเตอร์มีหน่วยความจำหลัก 8 เมกะไบต์ แต่สามารถใช้ได้เสมือนมีหน่วยความจำ 1 กิกะไบต์ เป็นต้น การที่จะทำเช่นนี้ได้ย่อมขึ้นกับระบบปฏิบัติการ (operating system) และตัวเครื่อง (hardware) ด้วย |
Compact Disk Read Only Memory | ซีดี-รอม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Compact Disk Read Only Memory | ซีดี-รอม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
translation memory | เครื่องช่วยจำในระบบการแปล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Shape memory alloy | โลหะผสมจำรูป [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Memory management (Computer science) | การจัดการหน่วยความจำ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Main memory | หน่วยความจำหลัก [คอมพิวเตอร์] |
Personal Computer Memory Card International Association | สมาคมที่บริษัทผู้ผลิตและผู้ขายคอมพิวเตอร์จัดขึ้นเพื่อกำหนดมาตรฐาน [คอมพิวเตอร์] |
RAM Random Access Memory | หน่วยความจำแรม, Example: หน่วยความจำหลักของคอมพิวเตอร์ที่ใช้สำหรับเก็บคำสั่งและข้อมูล สำหรับใช้ควบคุมการดำเนินการของหน่วยประมวลผลกลางชื่อ RAM นี้หมายความว่ายอมให้อ่านและเขียนเป็นส่วนต่างๆ ของหน่วยความจำได้เร็วเท่ากัน หน่วยความจำแรมทำด้วยอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำที่เรียกว่า DRAM หรือ Dynamic RAM ซึ่งกินไฟน้อยหน่วยความจำแรมนี้ลบเลือนได้ (volatile) นั้นคือจะต้องอาศัยกระแสไฟฟ้ามาเลี้ยงหน่วยความจำตลอดเวลา ถ้าหากไฟกะพริบ หรือดับ คำสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ในแรมจะหายไป [คอมพิวเตอร์] |
expanded memory system | หน่วยความจำส่วนขยายเวลาใช้ระบบปฏิบัติการ DOS [คอมพิวเตอร์] |
extended memory | หน่วยความจำส่วนเพิ่ม [คอมพิวเตอร์] |
virtual memory | หน่วยความจำเสมือน, Example: หน่วยความจำบนจานแม่เหล็กที่ทำงานในลักษณะที่ทำให้เรารู้สึกเหมือนกับว่าคอมพิวเตอร์มีหน่วยความจำหลักใหญ่กว่าที่มีจริง วิธีการทำงานก็คือ เมื่อคอมพิวเตอร์ต้องการใช้คำสั่งและข้อมูลที่ไม่อยู่ในหน่วยความจำหลัก คอมพิวเตอร์จะนำคำสั่ง และข้อมูลจากจานแม่เหล็กมาสลับกัน คำสั่งและข้อมูลในหน่วยความจำหลักกลับไปกลับมาอยู่เช่นนี้จนเสร็จงาน การใช้หน่วยความจำเสมือนนั้นทำให้การดำเนินการของคอมพิวเตอร์ช้าลง แต่ก็ช่วยให้เราสามารถใช้งานโปรแกรมขนาดใหญ่ได้ [คอมพิวเตอร์] |
Cache memory | หน่วยความจำแคช [TU Subject Heading] |
Collective memory | ความจำร่วม [TU Subject Heading] |
Distributed shared memory | หน่วยความจำที่ใช้ร่วมกันแบบกระจาย [TU Subject Heading] |
Memory | ความจำ [TU Subject Heading] |
Memory in children | ความจำในเด็ก [TU Subject Heading] |
Memory management (Computer science) | การจัดการหน่วยความจำ (คอมพิวเตอร์ศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Memory systems | ระบบความจำ [TU Subject Heading] |
Random access memory | หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม [TU Subject Heading] |
Cells, Memory | เซลล์ที่มีความจำ [การแพทย์] |
Cognitive Memory | คำถามระดับความจำ [การแพทย์] |
flash memory | หน่วยความจำแบบแฟลช, หน่วยความจำที่สามารถเก็บข้อมูลได้ แม้ว่าไม่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยง สามารถลบและเขียนข้อมูลใหม่ได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Random Access Memory ( RAM) | แรม, หน่วยความจำหลัก ทำหน้าที่เก็บข้อมูลจากการประมวลผลเป็นการชั่วคราว ซึ่งอนุญาตให้เขียนและอ่านข้อมูลได้ในตำแหน่งต่างๆ อย่างอิสระ และรวดเร็วพอสมควรแต่จะเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้นหากเกิดไฟฟ้าดับ ข้อมูลและโปรแกรมคำสั่งจะสูญหายไป [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Read Only Memory( ROM) | รอม, หน่วยความจำแบบอ่านได้อย่างเดียวไม่สามารถลบและเขียนข้อมูลใหม่ได้ สามารถเก็บข้อมูลได้ แม้ว่าไม่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
memory unit | หน่วยความจำ, หน่วยที่ทำหน้าที่เก็บโปรแกรมที่คอมพิวเตอร์กำลังประมวลผล และเป็นที่พักข้อมูลระหว่างที่ซีพียูกำลังประมวลผลข้อมูล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
non volatile memory | หน่วยความจำแบบไม่สามารถลบเลือนได้, หน่วยความจำที่สามารถเก็บข้อมูลได้ แม้ว่าไม่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยง ตัวอย่างของหน่วยความจำชนิดนี้ เช่น รอม และหน่วยความจำแบบแฟลช [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
volatile memory | หน่วยความจำแบบลบเลือนได้, หน่วยความจำที่ต้องใช้กระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยง เพื่อเก็บข้อมูลหากเกิดไฟฟ้าดับ ข้อมูลและโปรแกรมคำสั่งจะสูญหายไป หน่วยความจำชนิดนี้ เช่น แรม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Immunologic Memory | ความจำทางอิมมูน [การแพทย์] |
Loss of Memory | การเสื่อมทางจิตและความจำ [การแพทย์] |
Memory | ความจำ, ความทรงจำ, จดจำ [การแพทย์] |
Memory Consolidation Process | กระบวนการเกิดความจำ [การแพทย์] |
Memory Disorders | ความจำเสื่อม, ความจำผิดปกติ [การแพทย์] |
Memory Impairment | ความผิดปกติเกี่ยวกับความจำ [การแพทย์] |
Memory Trace | รอยความจำ [การแพทย์] |
Memory Trace, Obliteration of the | การเลือนของรอยพิมพ์ความจำ [การแพทย์] |
Memory, Changing in | การเปลี่ยนแปลงของความจำ [การแพทย์] |
Memory, Disturbances of | ผิดปกติในความจำ [การแพทย์] |
Memory, Immediate | ความจำที่เกิดขึ้นทันทีทันใด [การแพทย์] |
Memory, Impaired | ความจำเปลี่ยนแปลงไปทางเสื่อม [การแพทย์] |
Memory, Impairment of | การสูญเสียความจำ [การแพทย์] |
Memory, Intermediate | ควมจำย้อนหลังปานกลาง [การแพทย์] |
Memory, Kinesthetic | ความจำที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวต่างๆ [การแพทย์] |
Memory, Logical | การจำอย่างมีหลักเกณฑ์ [การแพทย์] |
Memory, Long-Term | ความจำระยะยาว [การแพทย์] |
Memory, Recent | ความจำปัจจุบัน, ความจำใหม่, ความทรงจำที่เพิ่งผ่านไป, ความทรงจำที่เพิ่งผ่านไป, ความจำใหม่, ความจำเกี่ยวกับเรื่องราวในเหตุการณ์ปัจจุบัน, ความจำใหม่ ๆ ที่เพิ่งผ่านไป, ความจำใหม่ๆ, ความจำในเรื่องปัจจุบัน, ความจำปัจจุบัน, ความจำเมื่อเร็วๆนี้ [การแพทย์] |
Memory, Remote | ความจำถาวร, ความจำเก่า, ความจำในอดีต, ความจำย้อนหลังไปนาน, ความทรงจำในอดีต, ความจำในอดีต, ความทรงจำในอดีต, ความจำเกี่ยวกับเรื่องราวในอดีต, ความจำเก่าๆ, ความจำเก่าๆ, ความจำในอดีต [การแพทย์] |
Memory, Retrograde | ความจำย้อนหลัง [การแพทย์] |
Memory, Short Term | ความจำระยะสั้นๆ [การแพทย์] |
Memory, Short-Term | ความจำระยะสั้น [การแพทย์] |
ขึ้นสมอง | (v) be embedded in one's memory, See also: firmly bear in mind, keep firmly in mind, Example: ทำไมผู้คนสมัยนี้จึงหวาดกลัวคำว่า ขาดทุน จนขึ้นสมองก็ไม่รู้, Thai Definition: จำได้แม่นยำ, อยู่ในความคิดตลอดเวลา |
รอม | (n) Read Only Memory, See also: ROM, Syn. หน่วยความจำอ่านอย่างเดียว |
แรม | (n) Random Access Memory, See also: RAM, Syn. หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม |
หน่วยความจำ | (n) memory, Example: ในคอมพิวเตอร์ส่วนตัวจะมีหน่วยความจำที่สามารถค้นหาข้อมูลได้ทันที |
จำใส่ใจ | (v) remember, See also: commit to memory, learn by heart, fix in one's mind, recall, recollect, Syn. จำขึ้นใจ, จดจำ, Example: เจ้าจงจำใส่ใจอยู่เสมอว่าเป็นลูกกำพร้ายิ่งต้องอดทนและพากเพียรมากกว่าคนอื่นเขา, Thai Definition: กำหนดไว้ในใจอย่างจดจ่อไม่ให้ลืมเลือน |
ลืมเลือน | (v) fade from one's mind, See also: fade away, be gradually out of one's memory, Syn. ลืม, เลือน, Ant. จำ, จดจำ, Example: บางครั้งความสัมพันธ์ของคนเราก็อาจจะไม่ยืดยาว เมื่อห่างหายกันไปสักพักก็ลืมเลือน, Thai Definition: ค่อยๆ หายไปในความทรงจำ |
อนุสรณ์ | (n) remembrance, See also: commemoration, memory, recollection, recalling, souvenir, Syn. เครื่องระลึก, ที่ระลึก, Example: ทางสมาคมได้ตีพิมพ์หนังสือรวมเขียนจากนักวิชาการ เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่ท่าน, Notes: (บาลี) |
ลืม | (v) forget, See also: slip one's memory, leave behind, neglect, omit, Ant. จำ, จำได้, Example: ผมเกือบลืมเรื่องนี้ไปแล้ว, Thai Definition: หายไปจากความจำ, ไม่อาจระลึกได้, ขาดความเอาใจใส่ต่อสิ่งซึ่งพึงกระทำหรือตามที่ขอร้อง |
ตราตรึงใจ | (v) be engraved on one's mind/heart/memory, See also: be imprinted, Syn. ติดตราตรึงใจ, ประทับใจ, Example: ภาพเหล่านั้นตราตรึงใจเขาไม่เคยลืมเลือน, Thai Definition: เกิดความพึงพอใจหรือประทับใจอย่างลึกซึ้ง |
เข้าหม้อ | (v) forget the knowledge, See also: escape one's memory, slip one's memory, Syn. ลืม, หลงลืม, ลืมเลือน, Example: ความรู้ทางเลขของเราเข้าหม้อไปหมดแล้ว, Thai Definition: ลืมวิชาความรู้ที่ได้เรียนมา, Notes: (ปาก) |
ระลึกถึง | (v) recall, See also: remind someone of, call to mind, jog one's memory, make someone remember, Syn. คนึงถึง, คิดถึง, รำลึกถึง, Example: เพลง เดือนเพ็ญ ทำให้เขาระลึกถึงครั้งหนึ่งที่เข้าไปใช้ชีวิตอยู่ในป่าร่วมกับพี่น้องที่ร่วมอุดมการณ์เดียวกัน, Thai Definition: นึกถึงด้วยใจผูกพัน |
ฟื้นความหลัง | (v) recall, See also: refresh one's memory, Syn. ฟื้นความจำ, Example: ทุกคนมาร่วมฟื้นความหลังถึงชีวิตและผลงานของอาจารย์ที่พวกเขาเคารพรัก, Thai Definition: ระลึกถึงเหตุการณ์ที่ผ่านมาแล้ว |
หน่วยความจำภายใน | (n) internal memory, See also: internal storage, Syn. หน่วยความจำหลัก, Example: จุดเด่นของผลิตภัณฑ์คือมีหน่วยความจำภายในขนาด 8 MB และสามารถเพิ่มหน่วยความจำได้อีก, Count Unit: หน่วย, Thai Definition: หน่วยเก็บข้อมูลภายใน, หน่วยเก็บข้อมูลที่เข้าถึงโดยเครื่องคอมพิวเตอร์โดยไม่ต้องใชช่องสัญญาณเข้าหรือออก |
หน่วยความจำเสริม | (n) auxiliary memory, Syn. หน่วยความจำสำรอง, Ant. หน่วยความจำหลัก, Example: แผ่นดิสก์เป็นสื่อบันทึกข้อมูล ซึ่งจัดอยู่ในประเภทหน่วยความจำเสริม, Count Unit: หน่วย, Thai Definition: หน่วยความจำเสริมที่ช่วยหน่วยความจำหลัก ทำงานได้ช้ากว่าหน่วยความจำหลัก และไม่สามารถทำการเปลี่ยนแปลงข้อมูลใดๆ ในหน่วยความจำเสริมได้โดยตรง |
ได้หน้าลืมหลัง | (v) be forgetful, See also: be easy to forget, have poor memory, Syn. หลงๆ ลืมๆ, ขี้หลงขี้ลืม, Example: ท่านเป็นคนช่างพูดช่างจำนรรจา บางครั้งก็ได้หน้าลืมหลัง, Thai Definition: อาการที่ลืมสิ่งที่เพิ่งผ่านมาอย่างรวดเร็วเพราะได้สิ่งใหม่หรือทำอย่างอื่น |
ติดตา | (v) impress, See also: still fresh in one's memory, impress vividly upon one's mind by the sight, Syn. จำได้, ไม่ลืม, Ant. ลืม, Example: ภาพคนถูกรถชนตายเมื่อคืนนี้ยังติดตาฉันอยู่เลย, Thai Definition: ยังรู้สึกนึกเห็นภาพอยู่ไม่รู้เลือน |
ซีดี-รอม | (n) compact disk read only memory, See also: CD-ROM, Example: การใช้แผ่นซีดีรอมนั้นต้องใช้ประกอบกับเครื่องอ่านซีดี-รอมด้วย, Count Unit: แผ่น, Notes: (อังกฤษ) |
ความทรงจำ | (n) memory, See also: remembrance, commemoration, Syn. ความจำ, Example: เหตุการณ์นี้จะอยู่ในความทรงจำของคนไทยตลอดไป |
ความในใจ | (n) mind, See also: memory, recollection, remembrance, Syn. ความรู้สึกในใจ |
หน่วยความจำสำรอง | (n) backup memory, Syn. หน่วยความจำเสริม, หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง, Example: ข้อมูลที่ถูกบันทึกไว้ในหน่วยความจำสำรอง จะถูกเรียกเข้าไปในซีพียู เพื่อทำการประมวลผล, Count Unit: หน่วย |
อุทิศ | (v) donate on behalf of, See also: donate in memory of, Example: เมื่อบังสุกุลกระดูกของบรรพบุรุษเสร็จแล้ว พวกเราก็กรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลแก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว, Thai Definition: แผ่ส่วนบุญให้แก่ผู้ตายตามประเพณี |
ความจำ | (n) memory, See also: remembrance, commemoration, Ant. การลืม, Example: คนตีฆ้องใหญ่นี่ต้องคัดเด็กที่ความจำดีเพราะคนฆ้องใหญ่เป็นหลักสำคัญของวงปี่พาทย์เนื่องจากต้องจำเพลงแม่นยำ |
อุทิศ | (v) donate on behalf of, See also: donate in memory of, Example: เมื่อบังสุกุลกระดูกของบรรพบุรุษเสร็จแล้ว พวกเราก็กรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลแก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว, Thai Definition: แผ่ส่วนบุญให้แก่ผู้ตายตามประเพณี |
ขึ้นใจ | (v) learn by heart, See also: memorize, be firmly fixed in the mind, commit to memory, Syn. ้แม่น, Ant. ลืม, Example: นักเรียนทุกคนควรจะท่องบทเรียนนี้ให้ขึ้นใจ เพราะครูอาจจะเอาไปออกสอบได้, Thai Definition: จำได้อย่างแม่นยำไม่ลืมเลือน |
ขึ้นปาก | (v) learn by heart, See also: memorize, be firmly fixed in the mind, commit to memory, Syn. เจนปาก, คล่องปาก, Example: เด็กนักเรียนท่องสูตรคูณกันจนขึ้นปากแล้ว, Thai Definition: ท่องได้อย่างขึ้นใจจนพูดออกมาได้โดยไม่ต้องคิด |
จำขึ้นใจ | (v) memorize, See also: remember, learn by heart, learn by rote, commit to memory, Syn. ท่องขึ้นใจ, จำแม่น, จำได้แม่น, Example: ผมจำขึ้นใจได้ทุกบทเพราะเป็นกลอนที่ผมประทับใจมาก, Thai Definition: จำได้แม่นยำ |
อนุสรณ์ | [anusøn] (n) EN: remembrance ; commemoration ; memory ; recollection ; recalling ; souvenir FR: commémoration [ f ] ; souvenir [ m ] |
ได้หน้าลืมหลัง | [dāi nā leūm lang] (v, exp) EN: be forgetful ; be easy to forget ; have poor memory |
ฟื้นความหลัง | [feūn khwāmlang] (v, exp) EN: recall ; refresh one's memory |
จำ | [jam] (v) EN: remember ; recall ; recollect ; recognize ; commit to memory FR: se souvenir ; se rappeler ; mémoriser ; retenir |
การจำ | [kān jam] (n) EN: memory |
การจัดการหน่วยความจำ | [kān jatkān nūay khwāmjam] (n, exp) EN: memory management |
การเก็บรักษาความจำ | [kān kepraksā khwāmjam] (n, exp) EN: memory storage |
การระลึกถึง | [kān raleuk theung] (n) EN: memory FR: mémoire [ f ] |
ขึ้นใจ | [kheunjai] (v) EN: earn by heart ; memorize ; be firmly fixed in the mind ; commit to memory FR: apprendre par coeur ; mémoriser ; ancrer dans la mémoire |
ความจำ | [khwāmjam] (n) EN: memory ; remembrance ; recollection ; commemoration FR: mémoire [ f ] ; souvenir [ m ] |
ความทรงจำ | [khwām songjam] (n) EN: memory ; remembrance ; commemoration |
ลืม | [leūm] (v) EN: forget ; slip one's memory ; leave behind ; neglect ; omit FR: oublier ; omettre ; négliger ; perdre de vue |
ลืมเลือน | [leūm leūoen] (v, exp) EN: fade from one's mind ; fade away ; be gradually out of one's memory |
เมมโมรี่ | [mēmmōrī] (n) EN: memory FR: mémoire [ f ] |
หน่วยความจำ | [nūay khwāmjam] (n, exp) EN: memory ; volatile memory ; RAM FR: mémoire [ f ] ; mémoire volatile [ f ] ; mémoire vive [ f ] ; RAM [ f ] |
หน่วยความจำหลัก | [nūay khwāmjam lak] (n, exp) EN: main memory ; primaty storage |
หน่วยความจำภายนอก | [nūay khwāmjam phāinøk] (n, exp) EN: external memory FR: mémoire externe [ f ] |
ระลึกถึง | [raleuk theung] (v) EN: recall ; rermind someone of ; call to mind ; jog one's memory ; make someone remember FR: penser à ; se souvenir de ; se rappeler (qqn, qqch) |
ท่อง | [thǿng = thøng] (v) EN: commit to memory ; memorize ; learn by rote ; learn by heart ; study ; recite from memory FR: mémoriser ; apprendre par coeur |
ท่องจำ | [thǿngjam] (v) EN: commit to memory ; remember FR: apprendre par coeur |
อุทิศ | [uthit] (v) EN: dedicate ; sacrifice ; devote ; offer; give ; donate on behalf of ; donate in memory of FR: dédier ; consacrer |
ไว้อาลัย | [wai-ālai] (x) EN: in memory of ; in memoriam ; in farewell to |
computer memory unit | (n) a unit for measuring computer memory |
episodic memory | (n) memory for episodes in your own life, Syn. personal memory |
erasable programmable read-only memory | (n) (computer science) a read-only memory chip that can be erased by ultraviolet light and programmed again with new data, Syn. EPROM |
flash memory | (n) nonvolatile storage that can be electrically erased and programmed anew |
long-term memory | (n) your general store of remembered information, Syn. LTM |
magnetic bubble memory | (n) a nonvolatile storage device that holds information in the form of bubbles on a thin film of magnetic silicate; no longer used in most computers |
magnetic core memory | (n) (computer science) a computer memory consisting of an array of magnetic cores; now superseded by semiconductor memories, Syn. core memory |
memory | (n) something that is remembered |
memory | (n) the cognitive processes whereby past experience is remembered, Syn. remembering |
memory | (n) the power of retaining and recalling past experience, Syn. retention, retentiveness, retentivity |
memory | (n) an electronic memory device, Syn. storage, store, computer storage, computer memory, memory board |
memory | (n) the area of cognitive psychology that studies memory processes |
memory chip | (n) a RAM microchip that can be plugged into a computer to provide additional memory |
memory device | (n) a device that preserves information for retrieval, Syn. storage device |
memory image | (n) a mental image of something previously experienced |
memory picture | (n) a memory image that is similar to a visual perception |
motor memory | (n) your memory for motor skills, Syn. muscle memory |
random-access memory | (n) the most common computer memory which can be used by programs to perform necessary tasks while the computer is on; an integrated circuit memory chip allows information to be stored or accessed in any order and all storage locations are equally accessible, Syn. RAM, random memory, random access memory, read/write memory |
read-only memory | (n) (computer science) memory whose contents can be accessed and read but cannot be changed, Syn. read-only storage, fixed storage, ROM |
read-only memory chip | (n) a memory chip providing read-only memory |
screen memory | (n) an imagined memory of a childhood experience; hides another memory of distressing significance |
semantic memory | (n) your memory for meanings and general (impersonal) facts |
short-term memory | (n) what you can repeat immediately after perceiving it, Syn. STM, immediate memory |
virtual memory | (n) (computer science) memory created by using the hard disk to simulate additional random-access memory; the addressable storage space available to the user of a computer system in which virtual addresses are mapped into real addresses, Syn. virtual storage |
working memory | (n) memory for intermediate results that must be held during thinking |
access | (n) (computer science) the operation of reading or writing stored information, Syn. memory access |
amnesia | (n) partial or total loss of memory, Syn. blackout, memory loss |
by heart | (adv) by committing to memory, Syn. by memory |
cache | (n) (computer science) RAM memory that is set aside as a specialized buffer storage that is continually updated; used to optimize data transfers between system elements with different characteristics, Syn. memory cache |
cd-rom | (n) a compact disk that is used with a computer (rather than with an audio system); a large amount of digital information can be stored and accessed but it cannot be altered by the user, Syn. compact disc read-only memory |
engram | (n) a postulated biochemical change (presumably in neural tissue) that represents a memory, Syn. memory trace |
memorization | (n) learning so as to be able to remember verbatim, Syn. memorisation, committal to memory |
reconstruction | (n) recall that is hypothesized to work by storing abstract features which are then used to construct the memory during recall, Syn. reconstructive memory |
reproduction | (n) recall that is hypothesized to work by storing the original stimulus input and reproducing it during recall, Syn. reproductive memory |
main memory | n. (Computers) The memory in a computer that holds programs and data for rapid access during execution of a program; it usually hold the largest quantity of rapid-access storage in a computer; -- also called RAM (random access memory. It is contrasted to ROM, disk data storage, cache, registers and other forms of data storage. [ PJC ] |
Memory | n.; pl. Memories [ OE. memorie, OF. memoire, memorie, F. mémoire, L. memoria, fr. memor mindful; cf. mora delay. Cf. Demur, Martyr, Memoir, Remember. ] [ 1913 Webster ] 1. The faculty of the mind by which it retains the knowledge of previous thoughts, impressions, or events. [ 1913 Webster ] Memory is the purveyor of reason. Rambler. [ 1913 Webster ] 2. The reach and positiveness with which a person can remember; the strength and trustworthiness of one's power to reach and represent or to recall the past; as, his memory was never wrong. [ 1913 Webster ] 3. The actual and distinct retention and recognition of past ideas in the mind; remembrance; as, in memory of youth; memories of foreign lands. [ 1913 Webster ] 4. The time within which past events can be or are remembered; as, within the memory of man. [ 1913 Webster ] And what, before thy memory, was done From the begining. Milton. [ 1913 Webster ] 5. Something, or an aggregate of things, remembered; hence, character, conduct, etc., as preserved in remembrance, history, or tradition; posthumous fame; as, the war became only a memory. [ 1913 Webster ] The memory of the just is blessed. Prov. x. 7. [ 1913 Webster ] That ever-living man of memory, Henry the Fifth. Shak. [ 1913 Webster ] The Nonconformists . . . have, as a body, always venerated her [ Elizabeth's ] memory. Macaulay. [ 1913 Webster ] 6. A memorial. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] These weeds are memories of those worser hours. Shak. [ 1913 Webster ] Syn. -- Memory, Remembrance, Recollection, Reminiscence. Memory is the generic term, denoting the power by which we reproduce past impressions. Remembrance is an exercise of that power when things occur spontaneously to our thoughts. In recollection we make a distinct effort to collect again, or call back, what we know has been formerly in the mind. Reminiscence is intermediate between remembrance and recollection, being a conscious process of recalling past occurrences, but without that full and varied reference to particular things which characterizes recollection. “When an idea again recurs without the operation of the like object on the external sensory, it is remembrance; if it be sought after by the mind, and with pain and endeavor found, and brought again into view, it is recollection.” Locke. [ 1913 Webster ] To draw to memory, to put on record; to record. [ Obs. ] Chaucer. Gower. [ 1913 Webster ]
|
背 | [bèi, ㄅㄟˋ, 背] the back of a body or object; to turn one's back; to hide something from; to learn by heart; to recite from memory #1,853 [Add to Longdo] |
记忆 | [jì yì, ㄐㄧˋ ㄧˋ, 记 忆 / 記 憶] memories; remember; memory #2,338 [Add to Longdo] |
怀念 | [huái niàn, ㄏㄨㄞˊ ㄋㄧㄢˋ, 怀 念 / 懷 念] to cherish the memory of; to think of; reminisce #3,788 [Add to Longdo] |
内存 | [nèi cún, ㄋㄟˋ ㄘㄨㄣˊ, 内 存 / 內 存] memory; random access memory; RAM (computer); internal storage #4,755 [Add to Longdo] |
存储 | [cún chǔ, ㄘㄨㄣˊ ㄔㄨˇ, 存 储 / 存 儲] memory; storage #5,345 [Add to Longdo] |
默 | [mò, ㄇㄛˋ, 默] silent; write from memory #9,814 [Add to Longdo] |
记忆力 | [jì yì lì, ㄐㄧˋ ㄧˋ ㄌㄧˋ, 记 忆 力 / 記 憶 力] memory (power) #14,372 [Add to Longdo] |
记性 | [jì xìng, ㄐㄧˋ ㄒㄧㄥˋ, 记 性 / 記 性] memory #18,202 [Add to Longdo] |
背诵 | [bèi sòng, ㄅㄟˋ ㄙㄨㄥˋ, 背 诵 / 背 誦] recite; repeat from memory #22,537 [Add to Longdo] |
存储器 | [cún chǔ qì, ㄘㄨㄣˊ ㄔㄨˇ ㄑㄧˋ, 存 储 器 / 存 儲 器] memory (unit) #35,212 [Add to Longdo] |
默写 | [mò xiě, ㄇㄛˋ ㄒㄧㄝˇ, 默 写 / 默 寫] to write from memory #46,397 [Add to Longdo] |
故地重游 | [gù dì chóng yóu, ㄍㄨˋ ㄉㄧˋ ㄔㄨㄥˊ ㄧㄡˊ, 故 地 重 游 / 故 地 重 遊] to revisit old haunts (成语 saw); down memory lane #56,461 [Add to Longdo] |
怀古 | [huái gǔ, ㄏㄨㄞˊ ㄍㄨˇ, 怀 古 / 懷 古] to recall the past; to cherish memory of past event #59,564 [Add to Longdo] |
寻址 | [xún zhǐ, ㄒㄩㄣˊ ㄓˇ, 寻 址 / 尋 址] to address; to search for address; to input data into memory #62,276 [Add to Longdo] |
闪存 | [shǎn cún, ㄕㄢˇ ㄘㄨㄣˊ, 闪 存 / 閃 存] (electronic) flash memory #65,972 [Add to Longdo] |
复现 | [fù xiàn, ㄈㄨˋ ㄒㄧㄢˋ, 复 现 / 復 現] to reappear; to persist (in memory) #77,766 [Add to Longdo] |
守节 | [shǒu jié, ㄕㄡˇ ㄐㄧㄝˊ, 守 节 / 守 節] faithful (to the memory of betrothed); constant (of widow who remains unmarried) #81,126 [Add to Longdo] |
旧地重游 | [jiù dì chóng yóu, ㄐㄧㄡˋ ㄉㄧˋ ㄔㄨㄥˊ ㄧㄡˊ, 旧 地 重 游 / 舊 地 重 遊] to revisit old haunts (成语 saw); down memory lane #84,638 [Add to Longdo] |
追记 | [zhuī jì, ㄓㄨㄟ ㄐㄧˋ, 追 记 / 追 記] a memorial citation; a posthumous award; a retrospective (used in titles of news articles); notes written down from memory #84,693 [Add to Longdo] |
思慕 | [sī mù, ㄙ ㄇㄨˋ, 思 慕] to cherish the memory of sb; to think of with respect #94,112 [Add to Longdo] |
默记 | [mò jì, ㄇㄛˋ ㄐㄧˋ, 默 记 / 默 記] to learn by heart; to commit to memory; to remember; to memorize in silence #95,839 [Add to Longdo] |
随机存取 | [suí jī cún qǔ, ㄙㄨㄟˊ ㄐㄧ ㄘㄨㄣˊ ㄑㄩˇ, 随 机 存 取 / 隨 機 存 取] random access (memory) #115,702 [Add to Longdo] |
博闻强记 | [bó wén qiáng jì, ㄅㄛˊ ㄨㄣˊ ㄑㄧㄤˊ ㄐㄧˋ, 博 闻 强 记 / 博 聞 強 記] have wide learning and a retentive memory; have encyclopedic knowledge #129,219 [Add to Longdo] |
静态存储器 | [jìng tài cún chǔ qì, ㄐㄧㄥˋ ㄊㄞˋ ㄘㄨㄣˊ ㄔㄨˇ ㄑㄧˋ, 静 态 存 储 器 / 靜 態 存 儲 器] static memory #331,771 [Add to Longdo] |
默书 | [mò shū, ㄇㄛˋ ㄕㄨ, 默 书 / 默 書] to write from memory #351,050 [Add to Longdo] |
默字 | [mò zì, ㄇㄛˋ ㄗˋ, 默 字] to write from memory #624,509 [Add to Longdo] |
动态存储器 | [dòng tài cún chǔ qì, ㄉㄨㄥˋ ㄊㄞˋ ㄘㄨㄣˊ ㄔㄨˇ ㄑㄧˋ, 动 态 存 储 器 / 動 態 存 儲 器] dynamic memory [Add to Longdo] |
可擦写可编程只读存储器 | [kě cā xiě kě biān chéng zhī dú cún chǔ qì, ㄎㄜˇ ㄘㄚ ㄒㄧㄝˇ ㄎㄜˇ ㄅㄧㄢ ㄔㄥˊ ㄓ ㄉㄨˊ ㄘㄨㄣˊ ㄔㄨˇ ㄑㄧˋ, 可 擦 写 可 编 程 只 读 存 储 器 / 可 擦 寫 可 編 程 祇 讀 存 儲 器] EPROM; Erasable programmable read-only memory [Add to Longdo] |
型快闪记忆体 | [xíng kuài shǎn jì yì tǐ, ㄒㄧㄥˊ ㄎㄨㄞˋ ㄕㄢˇ ㄐㄧˋ ㄧˋ ㄊㄧˇ, 型 快 闪 记 忆 体 / 型 快 閃 記 憶 體] flash memory [Add to Longdo] |
对课 | [duì kè, ㄉㄨㄟˋ ㄎㄜˋ, 对 课 / 對 課] to give answering phrase (school exercise in memory or composition) [Add to Longdo] |
工作记忆 | [gōng zuò jì yì, ㄍㄨㄥ ㄗㄨㄛˋ ㄐㄧˋ ㄧˋ, 工 作 记 忆 / 工 作 記 憶] working memory [Add to Longdo] |
挥发性存储器 | [huī fā xìng cún chǔ qì, ㄏㄨㄟ ㄈㄚ ㄒㄧㄥˋ ㄘㄨㄣˊ ㄔㄨˇ ㄑㄧˋ, 挥 发 性 存 储 器 / 揮 發 性 存 儲 器] volative memory [Add to Longdo] |
有助于记忆 | [yǒu zhù yú jì yì, ㄧㄡˇ ㄓㄨˋ ㄩˊ ㄐㄧˋ ㄧˋ, 有 助 于 记 忆 / 有 助 於 記 憶] promoting memory; mnemonic [Add to Longdo] |
短时语音记忆 | [duǎn shí yǔ yīn jì yì, ㄉㄨㄢˇ ㄕˊ ㄩˇ ㄧㄣ ㄐㄧˋ ㄧˋ, 短 时 语 音 记 忆 / 短 時 語 音 記 憶] short-term phonological memory [Add to Longdo] |
记忆广度 | [jì yì guǎng dù, ㄐㄧˋ ㄧˋ ㄍㄨㄤˇ ㄉㄨˋ, 记 忆 广 度 / 記 憶 廣 度] memory span [Add to Longdo] |
记忆体 | [jì yì tǐ, ㄐㄧˋ ㄧˋ ㄊㄧˇ, 记 忆 体 / 記 憶 體] (computer) memory [Add to Longdo] |
随机存取存储器 | [suí jī cún qǔ cún chǔ qì, ㄙㄨㄟˊ ㄐㄧ ㄘㄨㄣˊ ㄑㄩˇ ㄘㄨㄣˊ ㄔㄨˇ ㄑㄧˋ, 随 机 存 取 存 储 器 / 隨 機 存 取 存 儲 器] random access memory (RAM) [Add to Longdo] |
随机存取记忆体 | [suí jī cún qǔ jì yì tǐ, ㄙㄨㄟˊ ㄐㄧ ㄘㄨㄣˊ ㄑㄩˇ ㄐㄧˋ ㄧˋ ㄊㄧˇ, 随 机 存 取 记 忆 体 / 隨 機 存 取 記 憶 體] Random access memory (RAM) [Add to Longdo] |
記念(P);紀念 | [きねん, kinen] (n, vs) commemoration; memory; (P) #465 [Add to Longdo] |
記憶 | [きおく, kioku] (n, vs) (1) memory; recollection; remembrance; (2) storage; (P) #2,119 [Add to Longdo] |
解放 | [かいほう, kaihou] (n, vs) (1) release; unleashing; liberation; emancipation; setting free; (2) { comp } deallocation (of computer memory); (P) #2,688 [Add to Longdo] |
覚え | [おぼえ, oboe] (n) memory; sense; experience; (P) #4,795 [Add to Longdo] |
メモリー(P);メモリ | [memori-(P); memori] (n) { comp } memory; (P) #9,519 [Add to Longdo] |
格納 | [かくのう, kakunou] (n, vs) (1) storage; housing for equipment and machines; (2) { comp } putting into computer memory #12,463 [Add to Longdo] |
覚える(P);憶える | [おぼえる, oboeru] (v1, vt) (1) to memorize; to memorise; to commit to memory; to learn by heart; to bear in mind; to remember; (2) (覚える only) to learn; to pick up; to acquire; (3) (覚える only) to feel; (4) (覚える only) to think; to regard; (P) #14,800 [Add to Longdo] |
CD−ROM;CDROM | [シーディーロム, shi-dei-romu] (n) compact disk read-only memory; CD-ROM [Add to Longdo] |
DMA | [ディーエムエー, dei-emue-] (n) { comp } direct memory access; DMA [Add to Longdo] |
EEPROM | [イーイープロム, i-i-puromu] (n) { comp } electrically erasable programmable read-only memory; EEPROM; E2PROM [Add to Longdo] |
RAM | [ラム, ramu] (n) random-access memory; RAM [Add to Longdo] |
ROM | [ロム, romu] (n) (1) read-only memory; ROM; (2) (See ロムる) lurker (on a forum); read-only member; (P) [Add to Longdo] |
USBメモリー | [ユーエスビーメモリー, yu-esubi-memori-] (n) { comp } (See フラッシュメモリー) USB flash drive; USB memory stick; thumb drive [Add to Longdo] |
うろ覚え;疎覚え;空覚え | [そらおぼえ(空覚え);うろおぼえ, soraoboe ( sora oboe ); urooboe] (n) (1) (空覚え only) rote memorization; rote memorisation; (2) vague recollection; faint memory [Add to Longdo] |
ど忘れ;ド忘れ;度忘れ;度忘(io) | [どわすれ, dowasure] (n, vs) (See 胴忘れ・どうわすれ) lapse of memory; forgetting for a moment something one knows well; (something) slipping one's mind [Add to Longdo] |
アーカイバルメモリ | [a-kaibarumemori] (n) { comp } archival memory [Add to Longdo] |
アイコニックメモリ | [aikonikkumemori] (n) iconic memory [Add to Longdo] |
インターリーブメモリ | [inta-ri-bumemori] (n) { comp } interleaved memory [Add to Longdo] |
エクステンドメモリ | [ekusutendomemori] (n) { comp } extended memory [Add to Longdo] |
エクステンドメモリプロック | [ekusutendomemoripurokku] (n) { comp } extended memory block; EMB [Add to Longdo] |
エクステンドメモリ仕様 | [エクステンドメモリしよう, ekusutendomemori shiyou] (n) { comp } extended memory specification; XMS [Add to Longdo] |
エピソード記憶 | [エピソードきおく, episo-do kioku] (n) episodic memory [Add to Longdo] |
エラー訂正メモリ | [エラーていせいメモリ, era-teisei memori] (n) { comp } error-correcting memory [Add to Longdo] |
オフスクリーンメモリ | [ofusukuri-nmemori] (n) { comp } off-screen memory [Add to Longdo] |
オンメモリ | [onmemori] (n) { comp } on memory [Add to Longdo] |
キャッシュメモリ | [kyasshumemori] (n) { comp } cache memory [Add to Longdo] |
キャッシュメモリー | [kyasshumemori-] (n) { comp } cache memory [Add to Longdo] |
キャッシュメモリ機構 | [キャッシュメモリきこう, kyasshumemori kikou] (n) { comp } cache memory organization [Add to Longdo] |
グローバルメモリプール | [guro-barumemoripu-ru] (n) { comp } global memory pool [Add to Longdo] |
コアを吐く | [コアをはく, koa wohaku] (exp, v5k) { comp } to dump core; to dump memory contents [Add to Longdo] |
コンフィギュレーションメモリ | [konfigyure-shonmemori] (n) { comp } configuration memory [Add to Longdo] |
コンベンショナルメモリ | [konbenshonarumemori] (n) { comp } conventional memory [Add to Longdo] |
コンベンショナルメモリー | [konbenshonarumemori-] (n) { comp } conventional memory [Add to Longdo] |
シェアードメモリ | [shiea-domemori] (n) { comp } shared memory [Add to Longdo] |
シェアードメモリー | [shiea-domemori-] (n) { comp } shared memory [Add to Longdo] |
システムメモリ | [shisutemumemori] (n) { comp } system memory [Add to Longdo] |
シャドウRAM | [シャドウラム, shadouramu] (n) { comp } shadow Random Access Memory [Add to Longdo] |
シンクロナスDRAM | [シンクロナスディーラム, shinkuronasudei-ramu] (n) { comp } Synchronous Dynamic Random Access Memory; SDRAM [Add to Longdo] |
スタティックRAM | [スタティックラム, sutateikkuramu] (n) { comp } static Random Access Memory; SRAM [Add to Longdo] |
スタティックメモリ | [sutateikkumemori] (n) { comp } static memory [Add to Longdo] |
スタティックランダムアクセスメモリ | [sutateikkurandamuakusesumemori] (n) { comp } static random access memory; SRAM [Add to Longdo] |
スライダーメモリ | [suraida-memori] (n) slider-memory [Add to Longdo] |
タグRAM | [タグラム, taguramu] (n) { comp } Tag Random Access Memory [Add to Longdo] |
ダイナミックRAM | [ダイナミックラム, dainamikkuramu] (n) { comp } dynamic Random Access Memory (dynamic RAM, DRAM) [Add to Longdo] |
ダイナミックメモリ | [dainamikkumemori] (n) { comp } dynamic memory [Add to Longdo] |
ダイレクトRDRAM | [ダイレクトアーディーラム, dairekutoa-dei-ramu] (n) { comp } Direct Rambus Dynamic Random Access Memory [Add to Longdo] |
ダイレクトメモリーアクセス | [dairekutomemori-akusesu] (n) { comp } direct memory access; DMA [Add to Longdo] |
デュアルポートRAM | [デュアルポートラム, deyuarupo-toramu] (n) { comp } dual port Random Access Memory [Add to Longdo] |
ノーウェイト;ノーウエイト | [no-ueito ; no-ueito] (n) (1) (abbr) { comp } no wait state memory (memory the CPU can access without requiring wait states); (2) instant (e.g. for display speed of text in computer games) (wasei [Add to Longdo] |
ハイメモリエリア | [haimemorieria] (n) { comp } high memory area; HMA [Add to Longdo] |
エクステンドメモリ | [えくすてんどめもり, ekusutendomemori] extended memory [Add to Longdo] |
エクステンドメモリプロック | [えくすてんどめもりぷろっく, ekusutendomemoripurokku] extended memory block (EMB) [Add to Longdo] |
エクステンドメモリ仕様 | [エクステンドメモリしよう, ekusutendomemori shiyou] extended memory specification (XMS) [Add to Longdo] |
キャッシュメモリ | [きゃっしゅめもり, kyasshumemori] cache (memory) [Add to Longdo] |
グローバルメモリプール | [ぐろーばるめもりぷーる, guro-barumemoripu-ru] global memory pool [Add to Longdo] |
コンフィギュレーションメモリ | [こんふぃぎゅれーしょんめもり, konfigyure-shonmemori] configuration memory [Add to Longdo] |
シーディーロム | [しーでいーろむ, shi-dei-romu] compact disk read-only memory (CD-ROM) [Add to Longdo] |
シェアードメモリ | [しえあーどめもり, shiea-domemori] shared memory [Add to Longdo] |
システムメモリ | [しすてむめもり, shisutemumemori] system memory [Add to Longdo] |
スタティックメモリ | [すたていっくめもり, sutateikkumemori] static memory [Add to Longdo] |
スタティックランダムアクセスメモリ | [すたていっくらんだむあくせすめもり, sutateikkurandamuakusesumemori] static random access memory (SRAM) [Add to Longdo] |
ハイメモリエリア | [はいめもりえりあ, haimemorieria] high memory area (HMA) [Add to Longdo] |
バッファメモリ | [ばっふぁめもり, baffamemori] buffer memory [Add to Longdo] |
バブルメモリ | [ばぶるめもり, baburumemori] bubble memory [Add to Longdo] |
フラッシュメモリ | [ふらっしゅめもり, furasshumemori] flash memory [Add to Longdo] |
プログラム可能読取り専用記憶装置 | [プログラムかのうよみとりせんようきおくそうち, puroguramu kanouyomitorisenyoukiokusouchi] programmable read-only memory, PROM (abbr.) [Add to Longdo] |
ベースメモリ | [べーすめもり, be-sumemori] base memory [Add to Longdo] |
メインメモリ | [めいんめもり, meinmemori] main memory [Add to Longdo] |
メモリ | [めもり, memori] memory [Add to Longdo] |
メモリアドレシング | [めもりあどれしんぐ, memoriadoreshingu] memory addressing [Add to Longdo] |
メモリアドレス | [めもりあどれす, memoriadoresu] memory address [Add to Longdo] |
メモリカード | [めもりかーど, memorika-do] memory card (e.g. PCMCIA) [Add to Longdo] |
メモリキャッシュ | [めもりきゃっしゅ, memorikyasshu] memory cache [Add to Longdo] |
メモリコンフィギュレーション | [めもりこんふぃぎゅれーしょん, memorikonfigyure-shon] memory configuration [Add to Longdo] |
メモリサイクル | [めもりさいくる, memorisaikuru] memory cycle [Add to Longdo] |
メモリサイクルタイム | [めもりさいくるたいむ, memorisaikurutaimu] memory cycle time [Add to Longdo] |
メモリダンプ | [めもりだんぷ, memoridanpu] memory dump [Add to Longdo] |
メモリチップ | [めもりちっぷ, memorichippu] memory chip [Add to Longdo] |
メモリプロテクト | [めもりぷろてくと, memoripurotekuto] memory protection [Add to Longdo] |
メモリマッピング | [めもりまっぴんぐ, memorimappingu] memory mapping [Add to Longdo] |
メモリマップ | [めもりまっぷ, memorimappu] memory map [Add to Longdo] |
メモリリフレッシュ | [めもりりふれっしゅ, memoririfuresshu] memory refresh [Add to Longdo] |
メモリロケーション | [めもりろけーしょん, memoriroke-shon] memory location [Add to Longdo] |
メモリ拡張カード | [メモリかくちょうカード, memori kakuchou ka-do] memory expansion card [Add to Longdo] |
メモリ拡張ボード | [メモリかくちょうボード, memori kakuchou bo-do] memory expansion board [Add to Longdo] |
メモリ割り当て | [メモリわりあて, memori wariate] memory allocation [Add to Longdo] |
メモリ管理ユニット | [メモリかんりユニット, memori kanri yunitto] Memory Management Unit, MMU [Add to Longdo] |
メモリ管理装置 | [メモリかんりそうち, memori kanrisouchi] Memory Management Unit, MMU [Add to Longdo] |
メモリ構成 | [メモリこうせい, memori kousei] memory configuration [Add to Longdo] |
メモリ消去機能 | [メモリしょうきょきのう, memori shoukyokinou] clear memory function [Add to Longdo] |
メモリ常駐 | [メモリじょうちゅう, memori jouchuu] memory-resident (a-no) [Add to Longdo] |
メモリ表示 | [メモリひょうじ, memori hyouji] memory indication, storage indication [Add to Longdo] |
メモリ分割 | [メモリぶんかつ, memori bunkatsu] memory partitioning, storage partitioning [Add to Longdo] |
メモリ保護 | [メモリほご, memori hogo] memory protection [Add to Longdo] |
メモリ容量 | [めもりようりょう, memoriyouryou] memory capacity [Add to Longdo] |
メモリ領域 | [メモリちょういき, memori chouiki] memory space [Add to Longdo] |
ラム | [らむ, ramu] lamb, rump, rum, RAM (random access memory) [Add to Longdo] |
ランダムアクセスメモリ | [らんだむあくせすめもり, randamuakusesumemori] random access memory (RAM) [Add to Longdo] |
リードオンリーメモリ | [りーどおんりーめもり, ri-doonri-memori] read-only memory (ROM) [Add to Longdo] |
レーザメモリ | [れーざめもり, re-zamemori] laser memory [Add to Longdo] |