101 ผลลัพธ์ สำหรับ ตะเลง
หรือค้นหา: -ตะเลง-, *ตะเลง*
เนื่องจากผลลัพธ์มีน้อย ระบบจึงเปลี่ยนคำค้นเป็น *ตะเลง*

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ตะเลงน. มอญ.
กระทบก. โดน, ถูกต้อง, ปะทะ, ในบทกลอนใช้ว่า ทบ ก็มี เช่น ของ้าวทบประทะกัน (ตะเลงพ่าย), หรือ ประทบ ก็มี เช่น ประทบประทะอลวน (ตะเลงพ่าย), พูดหรือทำให้กระเทือนไปถึงผู้อื่น เช่น พูดกระทบเขา ตีวัวกระทบคราด.
กระแวนน. นกกาแวน เช่น คับคาคาบคาร่อน กระแวนว่อนบินบน (ตะเลงพ่าย). (ดู กาแวน).
กฤตยา ๑(กฺริดตะ-) น. เกียรติ เช่น เสื่อมกฤตยาสยามยศ (ตะเลงพ่าย).
กฤษฎา ๑(กฺริดสะดา) ว. อันกระทำแล้ว เช่น เพื่อพระราชกฤษฎา แต่กี้ (ราชกิจที่ทรงทำมาแล้ว) (ตะเลงพ่าย).
กิดาการน. อาการเล่าลือ, เสียงสรรเสริญ, ข่าวเลื่องลือ, บางทีเขียนเป็น กิฎาการ ก็มี เช่น แห่งเออกอึงกิฎาการ (ตะเลงพ่าย).
เกลี้ย(เกฺลี้ย) ก. ชักชวน, ทำให้ไล่เลี่ยกัน, เช่น เกลี้ยกระมลบันโดย (ตะเลงพ่าย).
ขอบ ๒ก. ทดแทน, ตอบ, รับ, เช่น ขอบแต่ขอมสักตั้ง (ตะเลงพ่าย), ภายในสองนางขอบ, ธขอบคำความมนตรี (ลอ).
เข้าลิลิตก. สัมผัสคําระหว่างบทตามแบบการแต่งลิลิตที่กําหนดไว้ในตําราฉันทลักษณ์ เช่นคํา “สม” กับ “สนม” ในตัวอย่างต่อไปนี้
(ตะเลงพ่าย).
ค่อน ๓ก. ตัด, ทอน, เช่น บั่นเรือขาดเปนท่อน ค่อนพวนขาดเปนทุ่น (ตะเลงพ่าย)
คะไขว่(-ไขฺว่) ว. ขวักไขว่, สับสน, โบราณเขียนเป็น คไขว่ ก็มี เช่น ขว้างหอกซรัดคไขว่ ไล่คคลุกบุกบัน (ตะเลงพ่าย).
คะค้อยก. เดินไม่ขาดตอน, โบราณเขียนเป็น คค้อย ก็มี เช่น คค้อยไปซุ่มซ่อน ดูศึกผ่อนพลเดอร (ตะเลงพ่าย).
คับคาน. ชื่อนกชนิดหนึ่ง เช่น คับคาคาบคาร่อน กระแวนว่อนบินบน (ตะเลงพ่าย), ปัจจุบันเรียก จาบคาหัวเขียว. (ดู จาบคา).
ค้า ๒, ค้าค้าก. ออกแสดง เช่น บค้าอาตม์ออกรงค์ (ตะเลงพ่าย), มีมือถือดาบกล้าอวดค้าค้าคำราม (ม. คำหลวง กุมาร).
จตุลังคบาท(-ลังคะบาด) น. พลประจำ ๔ เท้าช้าง, สำหรับช้างทรงของพระมหากษัตริย์หรือพระมหาอุปราชในเวลาสงคราม มีเจ้ากรมพระตำรวจหลวงหรือข้าราชการ เช่น พระมหามนตรี พระมหาเทพ หลวงอินทรเทพ หลวงพิเรนทรเทพ ประจำ ๔ เท้าช้าง เช่น จตุลังคบาทสี่ตน ล้วนขุนพลสามรรถ (ตะเลงพ่าย), จัตุลังคบาท หรือ แวงจตุลังคบาท ก็ว่า.
จัตุลังคบาท(จัดตุลังคะบาด) น. จตุลังคบาท เช่น จัตุลังคบาทบริรักษ พิทักษ์เท้ากุญชร (ตะเลงพ่าย).
จำบัง ๑ก. รบ เช่น คชจำบังข้าศึก (ตะเลงพ่าย).
จืดหมด เช่น อันสมรรถมือผจญ จืดเสี้ยน (ตะเลงพ่าย).
ชัค-(ชักคะ-) น. แผ่นดิน เช่น ชัคสัตว์เสพสำราญ รมยทั่ว กันนา (ตะเลงพ่าย).
ชื้อว. เย็นเยือก, ชื้น, ร่ม เช่น ร่มไซรใบชิด ชรอื้อชื้อฉาย (สรรพสิทธิ์), บัดดลวลาหกชื้อ ชรอับ อยู่แฮ (ตะเลงพ่าย).
โชยงการ(ชะโยง-) น. คำสั่งของพระเจ้าแผ่นดิน เช่น ภูวไนยผายโอษฐอื้น โชยงการ (ตะเลงพ่าย).
ซั้นรีบ, เร็ว, ถี่, ติด ๆ กัน, เช่น เชอญเสด็จภักพลหมั้น แต่งทับซั้นไปหน่วง (ตะเลงพ่าย).
ดัด ๑ทำให้เที่ยงตรง เช่น พระดัดคดีดล โดยเยี่ยง ยุกดิ์นา (ตะเลงพ่าย)
ตระแบง ๑(ตฺระ-) ก. สะแบง, สะพาย, เช่น ทวยท้ายใดตั้งถือ มือกระลึงโล่ห์สล้าง คว้างคระวีตาวตะแบง แขวงซ้ายขวาห้าร้อย (ตะเลงพ่าย).
ตางส. คำใช้แทนนามหลายฝ่ายให้แยกออกเป็นส่วน ๆ เช่น ทุกทั่วสัตวตื่นตาง แตกเต้า (ตะเลงพ่าย), ต่าง ก็ว่า.
ตื่นฟ้าก. ทำให้ฟ้าปั่นป่วน เช่น ไพรฦกแหล่งหล้าลั่น ฦๅถึง สรวงฤๅ เสียงอัคนีศรตึง ตื่นฟ้า (ตะเลงพ่าย).
เตรียบจัดไว้เสร็จ, จัดไว้พร้อม, เช่น เตรียบตั้งต่อฉาน (ตะเลงพ่าย).
โตยน. นํ้า เช่น แปรกรรหายหอบโตย (ตะเลงพ่าย).
ถนัดเช่น, ราวกับ, เช่น ถนัดดั่งภูผาหลวง ทุ่มแท้ (ตะเลงพ่าย), สนัด ก็ว่า.
ทบ ๒ก. กระทบ เช่น ของ้าวทบประทะกัน (ตะเลงพ่าย).
ทบท่าวก. ทรุดลง, ล้มลง, เช่น เอนพระองค์ลงทบ ท่าวดิ้น (ตะเลงพ่าย).
ทรหึงทรหวล(ทอระหึงทอระหวน) ว. เสียงดังปั่นป่วน เช่น พอวายวรวาคยอ้าง โอษฐ์พระ ดานมหาวาตะตื่นฟ้า ทรหึงทรหวลพะ พานพัด หาวแฮ หอบธุมางจางจ้า จรัดด้าวแดนสมร (ตะเลงพ่าย).
ทะ ๒ก. ปะทะ เช่น ของ้าวทบประทะกัน (ตะเลงพ่าย).
ทุ่มตี เช่น กระทุ่มดั่งทุ่มกร ตีอก เรียมฤๅ (ตะเลงพ่าย).
เท้ง ๒ก. ทิ้ง เช่น ผีจักเท้งที่โพล้ ที่เพล้ใครเผา (ตะเลงพ่าย).
ธเรษตรีศวร(ทะเรดตฺรีสวน) น. ผู้เป็นใหญ่ในโลก, บางทีเขียนเป็น ธเรศตรีศวร เช่น สายัณห์หวั่นสวาทไท้ ธเรศตรี ศวรแฮ (ตะเลงพ่าย).
นกคุ่มน. ชื่อปืนชนิดหนึ่ง เช่น เครื่องพิธยุทธยรรยง รายจ่ารงมณฑก นกคุ่มขนัดฉัตรชัย ไสวนกสับสลับสล้าง (ตะเลงพ่าย).
นาคี ๒น. ช้าง เช่น ขี่ยาตรานาคี (ตะเลงพ่าย).
นิตย- ๒(นิดตะยะ-) น. นิติ เช่น ผู้ชำนินิตยสาตรไสย (ตะเลงพ่าย).
นุ ๑ตัดมาจากอุปสรรค อนุ เช่น ทราบนุสนธิ์ทุกแห่ง (ตะเลงพ่าย), โดยนุกรม (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
เนือง, เนือง ๆมาก เช่น แสนเสนางค์เนืองบร (ตะเลงพ่าย).
บกย่อยยับหมดกำลัง เช่น โจมปรปักษบกบาง (ตะเลงพ่าย).
บง ๒ก. มองดู, แลดู, เช่น พลางพระบงจัตุบาท (ตะเลงพ่าย).
บทกวีนิพนธ์น. บทร้อยกรองที่กวีแต่ง เช่น มหาชาติคำหลวง ลิลิตตะเลงพ่าย สามัคคีเภทคำฉันท์, เดิมใช้หมายถึงร้อยแก้วที่แต่งดีด้วย เช่น สามก๊ก ราชาธิราช.
บาท ๔น. ช่วงเวลาเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่วโมง เท่ากับ ๖ นาที, โบราณเขียนเป็น บาตร ก็มี เช่น ย่ำรุ่งสองนาลิกา เสษสังขยาห้าบาตร (ตะเลงพ่าย).
บาบีน. คนมีบาป, คนมีความชั่ว, เช่น ชนะแต่บาบีพรรค์ พรั่งพร้อม (ตะเลงพ่าย).
บ่ายควายน. เวลาที่ควายบ่ายหน้ากลับบ้าน, เวลาเย็น, เช่น สุริยประภาธรงกลด จนกำหนดบ่ายควาย ชายสามนาลิกาเศษ (ตะเลงพ่าย).
โบชุกน. ตำแหน่งแม่ทัพพม่า เช่น ให้มางจาชโร เปนโบชุกที่สอง ยกทัพรองไปตาม (ตะเลงพ่าย).
ประทบก. กระทบ เช่น ประทบประทะอลวน (ตะเลงพ่าย).
พรรลายเซ็งแซ่ เช่น ร้องก้องเสียงพรรลาย (ตะเลงพ่าย).

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ตะเลงน. มอญ.
กระทบก. โดน, ถูกต้อง, ปะทะ, ในบทกลอนใช้ว่า ทบ ก็มี เช่น ของ้าวทบประทะกัน (ตะเลงพ่าย), หรือ ประทบ ก็มี เช่น ประทบประทะอลวน (ตะเลงพ่าย), พูดหรือทำให้กระเทือนไปถึงผู้อื่น เช่น พูดกระทบเขา ตีวัวกระทบคราด.
กระแวนน. นกกาแวน เช่น คับคาคาบคาร่อน กระแวนว่อนบินบน (ตะเลงพ่าย). (ดู กาแวน).
กฤตยา ๑(กฺริดตะ-) น. เกียรติ เช่น เสื่อมกฤตยาสยามยศ (ตะเลงพ่าย).
กฤษฎา ๑(กฺริดสะดา) ว. อันกระทำแล้ว เช่น เพื่อพระราชกฤษฎา แต่กี้ (ราชกิจที่ทรงทำมาแล้ว) (ตะเลงพ่าย).
กิดาการน. อาการเล่าลือ, เสียงสรรเสริญ, ข่าวเลื่องลือ, บางทีเขียนเป็น กิฎาการ ก็มี เช่น แห่งเออกอึงกิฎาการ (ตะเลงพ่าย).
เกลี้ย(เกฺลี้ย) ก. ชักชวน, ทำให้ไล่เลี่ยกัน, เช่น เกลี้ยกระมลบันโดย (ตะเลงพ่าย).
ขอบ ๒ก. ทดแทน, ตอบ, รับ, เช่น ขอบแต่ขอมสักตั้ง (ตะเลงพ่าย), ภายในสองนางขอบ, ธขอบคำความมนตรี (ลอ).
เข้าลิลิตก. สัมผัสคําระหว่างบทตามแบบการแต่งลิลิตที่กําหนดไว้ในตําราฉันทลักษณ์ เช่นคํา “สม” กับ “สนม” ในตัวอย่างต่อไปนี้
(ตะเลงพ่าย).
ค่อน ๓ก. ตัด, ทอน, เช่น บั่นเรือขาดเปนท่อน ค่อนพวนขาดเปนทุ่น (ตะเลงพ่าย)
คะไขว่(-ไขฺว่) ว. ขวักไขว่, สับสน, โบราณเขียนเป็น คไขว่ ก็มี เช่น ขว้างหอกซรัดคไขว่ ไล่คคลุกบุกบัน (ตะเลงพ่าย).
คะค้อยก. เดินไม่ขาดตอน, โบราณเขียนเป็น คค้อย ก็มี เช่น คค้อยไปซุ่มซ่อน ดูศึกผ่อนพลเดอร (ตะเลงพ่าย).
คับคาน. ชื่อนกชนิดหนึ่ง เช่น คับคาคาบคาร่อน กระแวนว่อนบินบน (ตะเลงพ่าย), ปัจจุบันเรียก จาบคาหัวเขียว. (ดู จาบคา).
ค้า ๒, ค้าค้าก. ออกแสดง เช่น บค้าอาตม์ออกรงค์ (ตะเลงพ่าย), มีมือถือดาบกล้าอวดค้าค้าคำราม (ม. คำหลวง กุมาร).
จตุลังคบาท(-ลังคะบาด) น. พลประจำ ๔ เท้าช้าง, สำหรับช้างทรงของพระมหากษัตริย์หรือพระมหาอุปราชในเวลาสงคราม มีเจ้ากรมพระตำรวจหลวงหรือข้าราชการ เช่น พระมหามนตรี พระมหาเทพ หลวงอินทรเทพ หลวงพิเรนทรเทพ ประจำ ๔ เท้าช้าง เช่น จตุลังคบาทสี่ตน ล้วนขุนพลสามรรถ (ตะเลงพ่าย), จัตุลังคบาท หรือ แวงจตุลังคบาท ก็ว่า.
จัตุลังคบาท(จัดตุลังคะบาด) น. จตุลังคบาท เช่น จัตุลังคบาทบริรักษ พิทักษ์เท้ากุญชร (ตะเลงพ่าย).
จำบัง ๑ก. รบ เช่น คชจำบังข้าศึก (ตะเลงพ่าย).
จืดหมด เช่น อันสมรรถมือผจญ จืดเสี้ยน (ตะเลงพ่าย).
ชัค-(ชักคะ-) น. แผ่นดิน เช่น ชัคสัตว์เสพสำราญ รมยทั่ว กันนา (ตะเลงพ่าย).
ชื้อว. เย็นเยือก, ชื้น, ร่ม เช่น ร่มไซรใบชิด ชรอื้อชื้อฉาย (สรรพสิทธิ์), บัดดลวลาหกชื้อ ชรอับ อยู่แฮ (ตะเลงพ่าย).
โชยงการ(ชะโยง-) น. คำสั่งของพระเจ้าแผ่นดิน เช่น ภูวไนยผายโอษฐอื้น โชยงการ (ตะเลงพ่าย).
ซั้นรีบ, เร็ว, ถี่, ติด ๆ กัน, เช่น เชอญเสด็จภักพลหมั้น แต่งทับซั้นไปหน่วง (ตะเลงพ่าย).
ดัด ๑ทำให้เที่ยงตรง เช่น พระดัดคดีดล โดยเยี่ยง ยุกดิ์นา (ตะเลงพ่าย)
ตระแบง ๑(ตฺระ-) ก. สะแบง, สะพาย, เช่น ทวยท้ายใดตั้งถือ มือกระลึงโล่ห์สล้าง คว้างคระวีตาวตะแบง แขวงซ้ายขวาห้าร้อย (ตะเลงพ่าย).
ตางส. คำใช้แทนนามหลายฝ่ายให้แยกออกเป็นส่วน ๆ เช่น ทุกทั่วสัตวตื่นตาง แตกเต้า (ตะเลงพ่าย), ต่าง ก็ว่า.
ตื่นฟ้าก. ทำให้ฟ้าปั่นป่วน เช่น ไพรฦกแหล่งหล้าลั่น ฦๅถึง สรวงฤๅ เสียงอัคนีศรตึง ตื่นฟ้า (ตะเลงพ่าย).
เตรียบจัดไว้เสร็จ, จัดไว้พร้อม, เช่น เตรียบตั้งต่อฉาน (ตะเลงพ่าย).
โตยน. นํ้า เช่น แปรกรรหายหอบโตย (ตะเลงพ่าย).
ถนัดเช่น, ราวกับ, เช่น ถนัดดั่งภูผาหลวง ทุ่มแท้ (ตะเลงพ่าย), สนัด ก็ว่า.
ทบ ๒ก. กระทบ เช่น ของ้าวทบประทะกัน (ตะเลงพ่าย).
ทบท่าวก. ทรุดลง, ล้มลง, เช่น เอนพระองค์ลงทบ ท่าวดิ้น (ตะเลงพ่าย).
ทรหึงทรหวล(ทอระหึงทอระหวน) ว. เสียงดังปั่นป่วน เช่น พอวายวรวาคยอ้าง โอษฐ์พระ ดานมหาวาตะตื่นฟ้า ทรหึงทรหวลพะ พานพัด หาวแฮ หอบธุมางจางจ้า จรัดด้าวแดนสมร (ตะเลงพ่าย).
ทะ ๒ก. ปะทะ เช่น ของ้าวทบประทะกัน (ตะเลงพ่าย).
ทุ่มตี เช่น กระทุ่มดั่งทุ่มกร ตีอก เรียมฤๅ (ตะเลงพ่าย).
เท้ง ๒ก. ทิ้ง เช่น ผีจักเท้งที่โพล้ ที่เพล้ใครเผา (ตะเลงพ่าย).
ธเรษตรีศวร(ทะเรดตฺรีสวน) น. ผู้เป็นใหญ่ในโลก, บางทีเขียนเป็น ธเรศตรีศวร เช่น สายัณห์หวั่นสวาทไท้ ธเรศตรี ศวรแฮ (ตะเลงพ่าย).
นกคุ่มน. ชื่อปืนชนิดหนึ่ง เช่น เครื่องพิธยุทธยรรยง รายจ่ารงมณฑก นกคุ่มขนัดฉัตรชัย ไสวนกสับสลับสล้าง (ตะเลงพ่าย).
นาคี ๒น. ช้าง เช่น ขี่ยาตรานาคี (ตะเลงพ่าย).
นิตย- ๒(นิดตะยะ-) น. นิติ เช่น ผู้ชำนินิตยสาตรไสย (ตะเลงพ่าย).
นุ ๑ตัดมาจากอุปสรรค อนุ เช่น ทราบนุสนธิ์ทุกแห่ง (ตะเลงพ่าย), โดยนุกรม (ม. คำหลวง วนปเวสน์).
เนือง, เนือง ๆมาก เช่น แสนเสนางค์เนืองบร (ตะเลงพ่าย).
บกย่อยยับหมดกำลัง เช่น โจมปรปักษบกบาง (ตะเลงพ่าย).
บง ๒ก. มองดู, แลดู, เช่น พลางพระบงจัตุบาท (ตะเลงพ่าย).
บทกวีนิพนธ์น. บทร้อยกรองที่กวีแต่ง เช่น มหาชาติคำหลวง ลิลิตตะเลงพ่าย สามัคคีเภทคำฉันท์, เดิมใช้หมายถึงร้อยแก้วที่แต่งดีด้วย เช่น สามก๊ก ราชาธิราช.
บาท ๔น. ช่วงเวลาเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่วโมง เท่ากับ ๖ นาที, โบราณเขียนเป็น บาตร ก็มี เช่น ย่ำรุ่งสองนาลิกา เสษสังขยาห้าบาตร (ตะเลงพ่าย).
บาบีน. คนมีบาป, คนมีความชั่ว, เช่น ชนะแต่บาบีพรรค์ พรั่งพร้อม (ตะเลงพ่าย).
บ่ายควายน. เวลาที่ควายบ่ายหน้ากลับบ้าน, เวลาเย็น, เช่น สุริยประภาธรงกลด จนกำหนดบ่ายควาย ชายสามนาลิกาเศษ (ตะเลงพ่าย).
โบชุกน. ตำแหน่งแม่ทัพพม่า เช่น ให้มางจาชโร เปนโบชุกที่สอง ยกทัพรองไปตาม (ตะเลงพ่าย).
ประทบก. กระทบ เช่น ประทบประทะอลวน (ตะเลงพ่าย).
พรรลายเซ็งแซ่ เช่น ร้องก้องเสียงพรรลาย (ตะเลงพ่าย).

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
talaing(n) คำที่ใช้เรียกตัวเองของ"มอญ" แต่พม่าเรียก"มอญ"ว่า ตะเลง (Talaings) ซึ่งเพี้ยนมาจากคำว่า Talingana อันเป็นแคว้นหนึ่ง ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดีย, Syn. Mon

Time: 0.5539 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/