บุนนาค | น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Mesua ferrea L. ในวงศ์ Guttiferae ใบยาวรี ปลายใบเรียวแหลม ดอกสีขาวคล้ายสารภีแต่ใหญ่กว่า กลิ่นหอม ใช้ทำยาได้ แก่นสีแดงเข้ม ใช้ทำเครื่องเรือน. |
เกสรทั้งห้า | น. เกสรดอกไม้ ๕ ชนิด มี เกสรดอกพิกุล เกสรดอกบุนนาค เกสรดอกสารภี เกสรดอกบัวหลวง เกสรดอกมะลิ. |
ขอนดอก | น. ท่อนไม้ของต้นตะแบก พิกุล และบุนนาค ที่ผุราขึ้นเป็นจุดขาว ๆ มีกลิ่นหอม ใช้เป็นเครื่องยาไทย. |
เทวตรีคันธา | (ทะเวตฺรี-) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีกลิ่นหอม ๒ ชนิด ชนิดละ ๓ อย่าง คือ ดอกบุนนาค แก่นบุนนาค รากบุนนาค กับ ดอกมะซาง แก่นมะซาง รากมะซาง. |
เทวสุคนธ์ | น. กลิ่นหอม ๒ อย่าง คือ กลิ่นที่เกิดจากรากบุนนาคและรากมะซาง. |
ปุนนาค | น. ต้นบุนนาค. |
หม่อม | เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หรือหม่อมเจ้า ที่ต้องโทษถูกถอดจากฐานันดรศักดิ์, คำนำหน้านามสตรีสามัญที่ไม่มีบรรดาศักดิ์ซึ่งเป็นภรรยาของบุคคลในตระกูลบุนนาคที่ได้รับยกย่องเป็นพิเศษ เช่น หม่อมปาน หม่อมรอด, คำนำหน้านามบุคคลที่เป็นบุตรขุนนางผู้ใหญ่ เช่น หม่อมบุนนาค สมัยกรุงธนบุรี. |
บุนนาค | น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Mesua ferrea L. ในวงศ์ Guttiferae ใบยาวรี ปลายใบเรียวแหลม ดอกสีขาวคล้ายสารภีแต่ใหญ่กว่า กลิ่นหอม ใช้ทำยาได้ แก่นสีแดงเข้ม ใช้ทำเครื่องเรือน. |
เกสรทั้งห้า | น. เกสรดอกไม้ ๕ ชนิด มี เกสรดอกพิกุล เกสรดอกบุนนาค เกสรดอกสารภี เกสรดอกบัวหลวง เกสรดอกมะลิ. |
ขอนดอก | น. ท่อนไม้ของต้นตะแบก พิกุล และบุนนาค ที่ผุราขึ้นเป็นจุดขาว ๆ มีกลิ่นหอม ใช้เป็นเครื่องยาไทย. |
เทวตรีคันธา | (ทะเวตฺรี-) น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีกลิ่นหอม ๒ ชนิด ชนิดละ ๓ อย่าง คือ ดอกบุนนาค แก่นบุนนาค รากบุนนาค กับ ดอกมะซาง แก่นมะซาง รากมะซาง. |
เทวสุคนธ์ | น. กลิ่นหอม ๒ อย่าง คือ กลิ่นที่เกิดจากรากบุนนาคและรากมะซาง. |
ปุนนาค | น. ต้นบุนนาค. |
หม่อม | เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หรือหม่อมเจ้า ที่ต้องโทษถูกถอดจากฐานันดรศักดิ์, คำนำหน้านามสตรีสามัญที่ไม่มีบรรดาศักดิ์ซึ่งเป็นภรรยาของบุคคลในตระกูลบุนนาคที่ได้รับยกย่องเป็นพิเศษ เช่น หม่อมปาน หม่อมรอด, คำนำหน้านามบุคคลที่เป็นบุตรขุนนางผู้ใหญ่ เช่น หม่อมบุนนาค สมัยกรุงธนบุรี. |