ฝ่าละอองธุลีพระบาท | ส. ท่าน (ใช้แก่พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ), เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. |
ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้แก่พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. |
ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท | ก. รู้ (ใช้กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ). |
ภาษาแบบแผน | น. ภาษาที่ถือเป็นแบบฉบับที่จะต้องใช้เป็นแบบเดียวกันในโอกาสอย่างเดียวกัน เช่น คำกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขึ้นต้นว่า “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม...” และลงท้ายว่า “ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า...”, ภาษาที่ใช้เป็นทางการในโอกาสสำคัญ หรือใช้แก่บุคคลสำคัญ หรือบุคคลสำคัญเป็นผู้ใช้ เช่น คำประกาศเกียรติคุณในการประสาทปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ คำปราศรัยของนายกรัฐมนตรีในวันขึ้นปีใหม่, ภาษาระดับพิธีการ ก็เรียก. |
sire | (n) พ่อม้า, พ่อ, ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท |
ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท | (v) know, See also: understand (used when speaking to royalty), Syn. รู้, Example: เมื่อความทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ก็พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สร้างพระบรมรูปทรงม้าขึ้น, Notes: (ราชา) |
ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท | ส. คำใช้แทนผู้ที่เราพูดด้วย ใช้แก่พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. |
ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท | ก. รู้ (ใช้กราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถ). |
ฝ่าละอองธุลีพระบาท | ส. ท่าน (ใช้แก่พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ), เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. |
ภาษาแบบแผน | น. ภาษาที่ถือเป็นแบบฉบับที่จะต้องใช้เป็นแบบเดียวกันในโอกาสอย่างเดียวกัน เช่น คำกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขึ้นต้นว่า “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม...” และลงท้ายว่า “ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า...”, ภาษาที่ใช้เป็นทางการในโอกาสสำคัญ หรือใช้แก่บุคคลสำคัญ หรือบุคคลสำคัญเป็นผู้ใช้ เช่น คำประกาศเกียรติคุณในการประสาทปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ คำปราศรัยของนายกรัฐมนตรีในวันขึ้นปีใหม่, ภาษาระดับพิธีการ ก็เรียก. |
sire | (n) คำกล่าวแสดงความเคารพกษัตริย์หรือบุคคลสำคัญ, See also: เช่น ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท |
sire | (n) พ่อม้า, พ่อ, ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท |