14 ผลลัพธ์ สำหรับ -เขตข้อมูล-
หรือค้นหา: -เขตข้อมูล-, *เขตข้อมูล*

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Fieldเขตข้อมูล, Example: เขตข้อมูล (field) คือ พื้นที่ที่กันไว้สำหรับเก็บข้อมูลตามที่กำหนดไว้ในโปรแกรมฐานข้อมูล ซึ่งเป็นหน่วยย่อยรองลงมาจากระเบียน เป็นข้อมูลที่แสดงลักษณะและคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละระเบียน เช่น เขตข้อมูลปีที่พิมพ์จะเป็นส่วนที่บอกได้ว่าระเบียนที่ค้นคืนได้ หรือที่แสดงผลอยู่นั้นจัดพิมพ์ในปีใด หรือเขตข้อมูลชื่อเรื่องช่วยจำกัดผลการค้นให้ตรงกับความต้องการมากขึ้น</p> <p> การลงรายการทรัพยากรห้องสมุดนั้น เขตข้อมูล (field) เป็นการกำหนดว่าแต่ละเขตข้อมูลนั้นจะมีความยาวเท่าไร และตำแหน่งเริ่มต้นที่ตำแหน่งใด โดยแต่ละระเบียนจะประกอบไปด้วยเขตข้อมูลจำนวนมากรวมกัน และจัดกลุ่มหรือประเภทของเขตข้อมูลด้วยหมายเลขประจำเขตข้อมูล โดยใช้เลข 3 หลัก เริ่มต้นจาก 001 ถึง 999 แทนชื่อเขตข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถอ่านข้อมูล ค้นหา และประมวลผลได้อย่างรวดเร็ว</p> <p> <img alt="เขตข้อมูล (field)" src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/images/php451SyK.preview.jpg" style="width: 427px; height: 466px" /></p> <p> ตัวอย่างเขตข้อมูลโดยหมายเลขประจำเขตข้อมูล 3 หลัก ที่จำเป็น เช่น</p> <ul> <li> 020 หมายเลขมาตรฐานหนังสือสากล (International Standard Book Number)</li> <li> 100 ชื่อบุคคลที่เป็นรายการหลัก (Personal name main entry)</li> <li> 245 ชื่อเรื่อง (Title information)</li> <li> 260 ข้อมูลการพิมพ์(Publication information)</li> <li> 300 ข้อมูลลักษณะทางกายภาพ (Physical information)</li> <li> 440 ชื่อชุด/รายการเพิ่ม (Series statement/added entry)</li> <li> 500 หมายเหตุ (Note (s))</li> <li> 650 หัวเรื่อง (Tropical subject headings)</li> </ul> <p> นอกจากนี้ ยังทำให้ฐานข้อมูลมีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องในระบบงานต่าง ๆ ร่วมกันได้ โดยที่จะไม่เกิดความซ้ำซ้อนของข้อมูล หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล อีกทั้งข้อมูลในระบบก็จะถูกต้องเชื่อถือได้ และเป็นมาตรฐานเดียวกัน</p> <p> &nbsp;</p> <p> อ้างอิง :</p> <p> คูคิน, แดน และวัง, เวลเลซ. (2539). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์ ฉบับอ่านสนุก. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.</p> <p> ทักษิณา สวนานนท์ และฐานิศรา เกียรติบารมี. (2546). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต (พิมพ์ครั้งที่ 10 ฉบับปรับปรุงใหม่ตลอดเล่ม). กรุงเทพฯ: วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น.<span _fck_bookmark="1" style="display: none">&nbsp;</span></p> <p> มหาวิทยาลัยบูรพา. (2548). สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.</p> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Tagเขตข้อมูล, Example: เขตข้อมูล เป็นรหัสประกอบด้วยตัวเลข 3 ตัว ใช้ในการลงรายการทางบรรณานุกรมที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ หรือ MAchine-Readable Cataloging (MARC) ซึ่งเป็นแต่ละเขตข้อมูลจะเป็นตัวบ่งบอกข้อมูล แบ่งเป็น 10 กลุ่ม <p> <p> 0XX เขตข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมและระบุเลขเรียกวัสดุสารสนเทศ <p>1XX เขตข้อมูลรายการหลัก <p>2XX เขตข้อมูลชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ ฉบับพิมพ์ การพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p>3XX เขตข้อมูลลักษณะรูปร่าง <p>4XX เขตข้อมูลชื่อชุด <p>5XX เขตข้อมูลหมายเหตุ <p>6XX เขตข้อมูลหัวเรื่อง <p>7XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มที่ไม่ใช่หัวเรื่อง และชื่อชุด <p>8XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มชื่อชุด <p>9XX เขตข้อมูลที่สงวนไว้ให้หน่วยงาน กำหนดใช้ภายในได้ <p>XX หมายถึง การแทนค่ารหัสเขตข้อมูลที่มีรายละเอียดลงไปอีก ตัวอย่าง เขตข้อมูลที่ใช้บ่อยสำหรับการลงรายการทางบรรณานุกรมของหนังสือในระบบห้องสมุดอัตโนมัติด้วย MRAC มีดังนี้ <p>เขตข้อมูล 020 เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ <p>เขตข้อมูล 040 แหล่งที่มาของการลงรายการ <p>เขตข้อมูล 050 เลขหมู่แบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>เขตข้อมูล 082 เลขหมู่แบบทศนิยมดิวอี้ <p>เขตข้อมูล 100 รายการหลักที่เป็นผู้แต่ง <p>เขตข้อมูล 130 ชื่อเรื่องแบบฉบับ <p>เขตข้อมูล 245 ชื่อเรื่อง <p>เขตข้อมูล 246 ชื่อเรื่องอีกชื่อหนึ่ง <p>เขตข้อมูล 250 ครั้งที่พิมพ์ <p>เขตข้อมูล 260 พิมพลักษณ์ <p>เขตข้อมูล 300 บรรณลักษณ์ จำนวนหน้า ภาพประกอบ และขนาด <p>เขตข้อมูล 440 ชื่อชุด <p>เขตข้อมูล 500 หมายเหตุ <p>เขตข้อมูล 505 สารบัญ <p>เขตข้อมูล 520 สาระสังเขป <p>เขตข้อมูล 600 หัวเรื่องที่เป็นชื่อบุคคล <p>เขตข้อมูล 610 หัวเรื่องที่เป็นชื่อนิติบุคคล <p>เขตข้อมูล 650 หัวเรื่องทั่วไป <p>เขตข้อมูล 700 รายการเพิ่มบุคคล (ผู้แต่งเพิ่ม ผู้แปล ผู้วาดภาพประกอบ บรรณาธิการ เป็นต้น) <p>เขตข้อมูล 710 รายการเพิ่มนิติบุคคล <p>เขตข้อมูล 800 ชื่อชุดที่เป็นบุคคล <p>เขตข้อมูล 830 รายการเพิ่มชื่อชุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]

ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Track-and-field award. ที่ได้รับรางวัลการติดตามและเขตข้อมูล The Birdcage (1996)
I discovered a recommendation to make you a Field Agent. ผมค้นพบคำแนะนำ ในเขตข้อมูลของคุณ Booked Solid (2013)
He walked these fields, tormented by mystery. เขาเดินเขตข้อมูลเหล่า นี้ทรมานด้วยความลึกลับ The Electric Boy (2014)
The patterns were the traces, the footprints of invisible fields of force, that reached out into the space around anything magnetic. รูปแบบร่องรอยรอยเท้า ของเขตข้อมูลที่มอง ไม่เห็นของแรง ที่เอื้อมมือออกไปใน อวกาศรอบอะไรแม่เหล็ก The Electric Boy (2014)

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
เขตข้อมูล[khēt khømūn] (n) EN: field  FR: champ [ m ] ; rubrique [ f ]

Hope Dictionary
data fieldเขตข้อมูลหมายถึง ที่ซึ่งใช้เก็บข้อมูลเฉพาะในโปรแกรมประเภทการจัดการฐานข้อมูล โดยจัดแบ่งให้แต่ละเขตเก็บข้อมูลแต่ละเรื่อง เช่น แบ่งเป็นเขต ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ อายุ เพศ ฯ ถ้าเรานำเขตข้อมูลเหล่านี้หลาย ๆ เขตมารวมกัน จะเรียกว่า "ระเบียน" (record)
data recordระเบียนข้อมูลหมายถึง หน่วยหนึ่งของข้อมูลที่บันทึกไว้ในฐานหรือคลังข้อมูล โดยปกติ ระเบียนหนึ่งจะประกอบด้วยเขตข้อมูล (field) 1 เขตขึ้นไป เช่น ระเบียนของพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยเขตข้อมูล 10 เขต มี ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ วันเข้าทำงาน เงินเดือนที่ได้รับ ตำแหน่งปัจจุบัน ฯ เป็นต้น ดู data field ประกอบ
data structureโครงสร้างข้อมูลหมายถึง รูปแบบของการจัดระเบียบของข้อมูล ซึ่งมีอยู่หลายรูปแบบ ศัพท์ต่าง ๆ ในเรื่องของโครง สร้างของข้อมูลที่คุ้นหู มีอยู่หลายคำ เช่น เขตข้อมูล (field) , แถวลำดับ (array) , ระเบียน (record) , ต้นไม้ (tree) , รายการโยง (linked list) เป็นต้น
field(ฟีลดฺ) { fielded, fielding, fields } n. ทุ่ง, ทุ่งนา, ทุ่งกว้าง, เขตเหมืองแร่, สนาม, อาณาจักร, ขอบเขต, พื้น, ลาน vt. เก็บได้ลูก (บอล) , จับลูกได้ vi. เป็นคนรับลูกในการเล่น (บาสเก็ตบอล, คริคเก๊ต), Syn. area หมายถึง ที่ซึ่งใช้เก็บข้อมูลเฉพาะในโปรแกรมประเภทการจัดการฐานข้อมูล โดยจัดแบ่งให้แต่ละเขตเก็บข้อมูลแต่ละ เรื่อง เช่น แบ่งเป็นเขต ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ อายุ เพศ ฯ ถ้าเรานำเขตข้อมูลเหล่านี้ หลาย ๆ เขตมารวมกัน จะเรียกว่า "ระเบียน" record
field lengthความยาวเขตข้อมูลหมายถึงขนาดความยาวของเขตข้อมูล (field) ที่สามารถกำหนดได้ เช่นเขตข้อมูล "ชื่อ" อาจใช้ความยาวถึงขนาด 30 ตัวอักขระ ส่วนเขตข้อมูล "อายุ" อาจใช้เพียง 2 ตัวอักขระ เป็นต้น แฟ้มข้อมูล (file) แต่ละแฟ้มจะต้องกำหนดเขตข้อมูลที่ใช้ชื่อเดียวกันให้ยาวเท่ากัน เช่น ถ้าเป็นเขตข้อมูล "ชื่อ" ไม่ว่าจะชื่อสั้นหรือยาวเพียงใด ก็ต้องใช้เนื้อที่ 30 ตัว อักขระหมดทั้งแฟ้ม
file creationการสร้างแฟ้มหมายถึงการสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาเพื่อเก็บสารสนเทศต่าง ๆ โดยกำหนดแบ่งเป็นเขตข้อมูลว่า จะให้มีกี่เขต แต่ละเขตจะต้องใช้ความยาวเท่าใด
record(เรค'เคิร์ด) n. บันทึก, การบันทึก, สำนวน, สิ่งที่บันทึกไว้, ประวัติ, เอกสาร, หลักฐานที่บันทึกหรือเก็บไว้, จานเสียง, แผ่นเสียง, เทปบันทึก vt., vi. (รีคอร์ด') บันทึก, ลงบันทึก adj. เป็นบันทึก, เกี่ยวกับบันทึก, ยอดเยี่ยม, ทำลายสถิติ, ตีกว่าคนอื่น ๆ ทั้งหมด, -Phr. (on record เป็นที่รู้กัน) ระเบียนบันทึก1. หมายถึงหน่วยหนึ่งของข้อมูลที่บันทึกไว้ในฐานหรือคลังข้อมูลโดยปกติ ระเบียนหนึ่งจะประกอบด้วยเขตข้อมูล (field) 1 เขตขึ้นไป เช่น ระเบียนของพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยเขตข้อมูล 10 เขต มี ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ วันเข้าทำงาน เงินเดือนที่ได้รับ ตำแหน่งปัจจุบัน ฯ เป็นต้น ดู field ประกอบ2. ในอีกความหมายหนึ่ง แปลว่า บันทึกเก็บในหน่วยความจำหรือในสื่อที่ใช้เก็บข้อมูลชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น จานบันทึก (ในภาษาอังกฤษ มักใช้คำว่า write แทนมากกว่า)

Time: 0.5444 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/