demory's | |
memory |
memory lapse | (n, phrase) อาการหลงๆลืมๆ, ความจำเสื่อม เช่น Do you worry that, as you're getting older, these memory lapses are happening more often? |
memory stick | (n) อุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ชนิดหนึ่ง ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท SONY และใช้กับผลิตภัณฑ์ต่างๆของ SONY มีขนาดเล็กประมาณเท่าแผ่นหมากฝรั่ง magic gate memory stick คือ memory stick ที่มีหมายเลขรหัสประจำในแต่ละแผ่น เพื่อให้สามารถควบคุมการทำสำเนาข้อมูลที่มีลิขสิทธิ์ (เช่น ข้อมูลเพลง หรือภาพ) ได้ คือ ข้อมูลที่บันทึกจะนำมาใช้ได้เมื่ออ่านจากแผ่นที่มีหมายเลขที่กำหนดเท่านั้น และจะใช้ไม่ได้เมื่อทำสำเนาข้อมูลนั้นไปยังแผ่นหรืออุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่น, See also: flash memory |
flash memory | (n) หน่วยความจำประเภทสารกึ่งตัวนำชนิดหนึ่ง ที่สามารถลบข้อมูลแล้วเขียนใหม่ได้ และสามารถคงข้อมูลไว้ได้แม้ไม่มีกระแสไฟฟ้าเลี้ยง |
CompactFlash memory | (n, uniq) หรือ CF memory เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลประเภท flash memory ที่พัฒนาโดยสมาคม CompactFlash (http://www.compactflash.org/) และผลิตจำหน่ายโดยผู้ผลิตหลายราย หลายยี่ห้อ, See also: flash memory, memory stick |
memory | (n) ความจำ, See also: ความทรงจำ, ระบบความจำ, Syn. recollection, remembrance |
memory | (n) การจำได้, See also: การระลึกถึง, Syn. recall, retention, remembrance, Ant. forgetfulness |
memory | (n) หน่วยความจำ (ในคอมพิวเตอร์), See also: ความจุของข้อมูล, Syn. memory bank |
memory lane | (n) ช่วงเวลาที่นึกถึงหรือจดจำสิ่งในอดีต |
memory | (เมม'มะรี) n. ความจำ, ความทรงจำ, บุคคลหรือสิ่งที่จำไว้, หน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์ pl. memories |
memory map | แผนที่แสดงการใช้หน่วยความจำหมายถึงแผนที่หรือแผนผังที่แสดงถึงการใช้หน่วยความจำส่วนที่เรียกว่า แรม (RAM) ในเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะคล้ายกับแผนที่แสดงที่ตั้งจังหวัดต่าง ๆ ในแต่ละประเทศนั้นเอง สำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไปแล้ว ไม่จำเป็นต้องรู้เรื่องนี้เลยก็ได้ |
memory resident program | โปรแกรมในหน่วยความจำหมายถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนที่เก็บเอาไว้ในหน่วยความจำของเครื่องคอมพิวเตอร์โดยที่เราไม่รู้ไม่เห็น และไม่สามารถเรียกมาดูได้ โดยมากเป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ต่าง ๆ เช่น โปรแกรมตัวขับเมาส์ (mouse driver) เป็นต้น โปรแกรมประเภทนี้บางทีเรียกว่า TSR (terminate and stay residnts) |
memory unit | หน่วยความจำหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น เมื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์อ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว เครื่องอ่านก็จะนำข้อมูลที่อ่านได้ไปเก็บไว้ในหน่วยความจำนี้ แล้วจะเรียกมาใช้ในเวลาที่ต้องการ ข้อความหรือข้อมูลที่นำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำแล้วไม่ว่าจะนำมาใช้สักกี่ครั้งกี่หน ก็จะยังคงเป็นอยู่อย่างเดิม แต่ถ้าข้อมูลอื่นถูกอ่านทับเข้าไป ข้อมูลเก่าจะถูกลบไปทันที หรือถ้าไฟดับ ข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในหน่วยความจำก็จะหายไปหมดเช่นกัน คอมพิวเตอร์จะทำงานได้ดี หรือมีประสิทธิภาพมากหรือน้อย ย่อมขึ้นอยู่กับหน่วยความจำนี้มากกว่าอย่างอื่น สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์ เราเรียกหน่วยความจำนี้ว่า ชิป (chip) ซึ่งใช้เป็นที่เก็บข้อมูล แบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ ประเภทอ่านได้อย่างเดียว เรียกว่า "รอม" (ROM หรือที่ย่อมาจาก read-only memory) ซึ่งเก็บคำสั่งประเภทที่เครื่องต้องปฏิบัติตามทันที เช่น ไบออส (BIOS) ข้อมูลในนั้นจะไม่มีวันลบหายแม้ว่าจะปิดเครื่อง ส่วนอีกประเภทหนึ่ง เรียกว่า "แรม" (RAM หรือที่ย่อมาจาก random access memory) หน่วยความจำแรมนี้ใช้เก็บโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลที่กำลังจะใช้งาน เมื่อปิดไฟที่ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่อยู่ในแรมจะหายไปหมด และหากเริ่มต้นเปิดเครื่องใหม่ ต้องการจะใช้โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลใด ก็จะต้องบรรจุ (load) โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลนั้นมาเก็บไว้ในแรมก่อน จึงจะทำงานต่อไปได้ สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์แล้ว ยิ่งแรมมีขนาดใหญ่เท่าใด ก็ยิ่งแสดงว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นมีประสิทธิภาพเท่านั้นอย่างไรก็ตาม หน่วยความจำที่กล่าวถึงนั้นเป็นหน่วยความจำที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่เรายังมีหน่วยเก็บข้อมูลที่อยู่นอกเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย หน่วยความจำนอกเครื่องนี้ เราเรียกว่า หน่วยความจำช่วย (auxiliary memory) ซึ่งหมายถึงสื่อเก็บข้อมูลต่าง ๆ นั่นเอง เป็นต้นว่า จานบันทึก แถบบันทึก หน่วยความจำเหล่านี้ ไฟดับข้อมูลก็ยังอยู่ |
acoustic memory | หน่วยความจำเชิงเสียงเป็นหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ ที่ใช้สายหน่วงเสียง (acoustic delay line) ซึ่งใช้ปรอทหรือ ควอร์ทซ์ (quartz) เป็นสื่อ |
auxiliary memory | หน่วยความจำช่วย <คำแปล>หมายถึงหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูลนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ (เพิ่มไปจากหน่วยความจำหลัก) เช่น จานบันทึก เมื่อใดที่ต้องการใช้ ก็ให้เครื่องคอมพิวเตอร์นำมาเก็บในเครื่อง จะแก้ไขเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม แล้วเก็บลงใหม่ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อมิให้สิ้นเปลืองหน่วยความจำหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์ |
bubble memory | หน่วยความจำแบบฟองหมายถึง หน่วยความจำชนิดหนึ่งที่สามารถเก็บข้อมูลไว้ใด้แม้ว่าไฟฟ้าจะดับไปแล้วก็ตาม นิยมใช้กันมากสำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดวางตัก (laptop) หรือคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ๆ ที่ไม่มีเนื้อที่มากพอที่จะมีฮาร์ดดิสก์ได้ |
ccd memory | หน่วยความจำแบบซีซีดีย่อมาจาก charge coupled device memory (หน่วยความจำแบบอุปกรณ์ถ่ายเทประจุ) หมาย ถึงหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ที่ทำจากซิลิคอนชิป (silicon chip) ซึ่งสามารถเปลี่ยนสนามแม่เหล็กไฟฟ้าไปเป็นประจุไฟฟ้า และสามารถบันทึกข้อมูลลงในจานแม่เหล็ก (disk) ได้ เหมาะสำหรับงานที่เรียกใช้ข้อมูลในหน่วยความจำตามลำดับ (sequential) หน่วยความจำชนิดนี้ทำงานช้ากว่าแรม (RAM) แต่เร็วกว่าแบบแม่เหล็ก |
conventional memory | หน่วยความจำปกติใช้เรียก 640 กิโลไบต์แรกของหน่วยความจำ (RAM) ใน เครื่องคอมพิวเตอร์ไอบีเอ็ม และเครื่องเลียนแบบไอบีเอ็ม (IBM compatibles) ที่กำหนดว่าต้องมีหน่วยความจำอย่างน้อย 640 เค (เป็นมาตรฐานที่กำหนดไว้นานแล้ว) |
expanded memory | หน่วยความจำส่วนขยายหมายถึง หน่วยความจำที่เพิ่มเข้ามาภายหลัง วิธีเพิ่มหน่วยความจำแบบนี้คอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบดอส นิยมใช้อยู่ก่อนจะมีการนำชิป (chip) 80286 มาใช้ หน่วยความจำนี้เป็นหน่วยความจำต่างหากที่บริษัทที่ผลิตคอมพิวเตอร์ทำเป็นรายการแถมให้ เพิ่มจากหน่วยความจำ 640 K ที่ใช้อยู่เดิม ไม่ใช่นำหน่วยความจำเดิมมาทำให้ใหญ่ขึ้น เป็นหน่วยความจำคนละหน่วย แต่คอมพิวเตอร์สามารถเรียกข้อมูลจากหน่วยความจำนี้ได้รวดเร็ว จนทำให้ผู้ใช้รู้สึกเหมือนกับว่าเป็นหน่วยความจำเดียวกัน |
memory | (n) ชื่อเสียง, ความทรงจำ, ความหลัง, อนุสรณ์ |
memory | หน่วยความจำ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
memory | หน่วยความจำ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
memory cycle; storage cycle; store cycle | ช่วงเวลารอบเก็บข้อมูล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Memory | ความจำ [TU Subject Heading] |
Memory | ความจำ, ความทรงจำ, จดจำ [การแพทย์] |
Memory Consolidation Process | กระบวนการเกิดความจำ [การแพทย์] |
Memory Disorders | ความจำเสื่อม, ความจำผิดปกติ [การแพทย์] |
Memory Impairment | ความผิดปกติเกี่ยวกับความจำ [การแพทย์] |
Memory in children | ความจำในเด็ก [TU Subject Heading] |
Memory management (Computer science) | การจัดการหน่วยความจำ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Memory management (Computer science) | การจัดการหน่วยความจำ (คอมพิวเตอร์ศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Memory systems | ระบบความจำ [TU Subject Heading] |
Memory Trace | รอยความจำ [การแพทย์] |
หน่วยความจำ | (n) memory, Example: ในคอมพิวเตอร์ส่วนตัวจะมีหน่วยความจำที่สามารถค้นหาข้อมูลได้ทันที |
ความทรงจำ | (n) memory, See also: remembrance, commemoration, Syn. ความจำ, Example: เหตุการณ์นี้จะอยู่ในความทรงจำของคนไทยตลอดไป |
ความจำ | (n) memory, See also: remembrance, commemoration, Ant. การลืม, Example: คนตีฆ้องใหญ่นี่ต้องคัดเด็กที่ความจำดีเพราะคนฆ้องใหญ่เป็นหลักสำคัญของวงปี่พาทย์เนื่องจากต้องจำเพลงแม่นยำ |
การจำ | [kān jam] (n) EN: memory |
การระลึกถึง | [kān raleuk theung] (n) EN: memory FR: mémoire [ f ] |
เมมโมรี่ | [mēmmōrī] (n) EN: memory FR: mémoire [ f ] |
memory |
memory |
memory | (n) something that is remembered |
memory | (n) the cognitive processes whereby past experience is remembered, Syn. remembering |
memory | (n) the power of retaining and recalling past experience, Syn. retention, retentiveness, retentivity |
memory | (n) an electronic memory device, Syn. storage, store, computer storage, computer memory, memory board |
memory | (n) the area of cognitive psychology that studies memory processes |
memory chip | (n) a RAM microchip that can be plugged into a computer to provide additional memory |
memory device | (n) a device that preserves information for retrieval, Syn. storage device |
memory image | (n) a mental image of something previously experienced |
memory picture | (n) a memory image that is similar to a visual perception |
Memory | n.; Memory is the purveyor of reason. Rambler. [ 1913 Webster ] And what, before thy memory, was done The memory of the just is blessed. Prov. x. 7. [ 1913 Webster ] That ever-living man of memory, Henry the Fifth. Shak. [ 1913 Webster ] The Nonconformists . . . have, as a body, always venerated her [ Elizabeth's ] memory. Macaulay. [ 1913 Webster ] These weeds are memories of those worser hours. Shak. [ 1913 Webster ]
|
内存 | [内 存 / 內 存] memory; random access memory; RAM (computer); internal storage #4,755 [Add to Longdo] |
存储 | [存 储 / 存 儲] memory; storage #5,345 [Add to Longdo] |
记忆力 | [记 忆 力 / 記 憶 力] memory (power) #14,372 [Add to Longdo] |
记性 | [记 性 / 記 性] memory #18,202 [Add to Longdo] |
存储器 | [存 储 器 / 存 儲 器] memory (unit) #35,212 [Add to Longdo] |
记忆广度 | [记 忆 广 度 / 記 憶 廣 度] memory span [Add to Longdo] |
Basisregister { n }; Basisadressregister { n } [ comp. ] | memory pointer [Add to Longdo] |
Erinnerung { f }; Andenken { n } | Erinnerungen { pl }; Andenken { pl } | zum Andenken an | Erinnerungen wecken | memory | memories | in memory of | to bring back memories [Add to Longdo] |
Gedächtnis { n } | aus dem Gedächtnis | gutes Gedächtnis | hervorragendes Gedächtnis | jds. Gedächtnis nachhelfen | memory | from memory | retentive memory | tenacious memory | to jog someone's memory [Add to Longdo] |
Gedächtnishilfe { f } | memory aid [Add to Longdo] |
Speicherbank { f } [ comp. ] | memory bank [Add to Longdo] |
Speicherblock { m } | memory stack [Add to Longdo] |
Speicherplatz { m } | memory cell [Add to Longdo] |
Speicherschreibmaschine { f } | memory typewriter [Add to Longdo] |
Speicherschutz { m } | memory protection [Add to Longdo] |
記念(P);紀念 | [きねん, kinen] (n, vs) commemoration; memory; (P) #465 [Add to Longdo] |
記憶 | [きおく, kioku] (n, vs) (1) memory; recollection; remembrance; (2) storage; (P) #2,119 [Add to Longdo] |
解放 | [かいほう, kaihou] (n, vs) (1) release; unleashing; liberation; emancipation; setting free; (2) { comp } deallocation (of computer memory); (P) #2,688 [Add to Longdo] |
覚え | [おぼえ, oboe] (n) memory; sense; experience; (P) #4,795 [Add to Longdo] |
メモリー(P);メモリ | [memori-(P); memori] (n) { comp } memory; (P) #9,519 [Add to Longdo] |
格納 | [かくのう, kakunou] (n, vs) (1) storage; housing for equipment and machines; (2) { comp } putting into computer memory #12,463 [Add to Longdo] |
覚える(P);憶える | [おぼえる, oboeru] (v1, vt) (1) to memorize; to memorise; to commit to memory; to learn by heart; to bear in mind; to remember; (2) (覚える only) to learn; to pick up; to acquire; (3) (覚える only) to feel; (4) (覚える only) to think; to regard; (P) #14,800 [Add to Longdo] |
CD−ROM;CDROM | [シーディーロム, shi-dei-romu] (n) compact disk read-only memory; CD-ROM [Add to Longdo] |
DMA | [ディーエムエー, dei-emue-] (n) { comp } direct memory access; DMA [Add to Longdo] |
EEPROM | [イーイープロム, i-i-puromu] (n) { comp } electrically erasable programmable read-only memory; EEPROM; E2PROM [Add to Longdo] |
エクステンドメモリ | [えくすてんどめもり, ekusutendomemori] extended memory [Add to Longdo] |
エクステンドメモリプロック | [えくすてんどめもりぷろっく, ekusutendomemoripurokku] extended memory block (EMB) [Add to Longdo] |
エクステンドメモリ仕様 | [エクステンドメモリしよう, ekusutendomemori shiyou] extended memory specification (XMS) [Add to Longdo] |
キャッシュメモリ | [きゃっしゅめもり, kyasshumemori] cache (memory) [Add to Longdo] |
グローバルメモリプール | [ぐろーばるめもりぷーる, guro-barumemoripu-ru] global memory pool [Add to Longdo] |
コンフィギュレーションメモリ | [こんふぃぎゅれーしょんめもり, konfigyure-shonmemori] configuration memory [Add to Longdo] |
シーディーロム | [しーでいーろむ, shi-dei-romu] compact disk read-only memory (CD-ROM) [Add to Longdo] |
シェアードメモリ | [しえあーどめもり, shiea-domemori] shared memory [Add to Longdo] |
システムメモリ | [しすてむめもり, shisutemumemori] system memory [Add to Longdo] |
スタティックメモリ | [すたていっくめもり, sutateikkumemori] static memory [Add to Longdo] |