4 ผลลัพธ์ สำหรับ electronic journals
/อิ เละ ขึ ทร้า หนิ ขึ เจ๊อ (ร) เหนิ่ล สึ/     /ˌɪlˌektrˈɑːnɪk dʒˈɜːʴnəlz/
หรือค้นหา: -electronic journals-, *electronic journals*, electronic journal
เนื่องจากผลลัพธ์มีน้อย ระบบจึงเปลี่ยนคำค้นเป็น *electronic journal*

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Electronic journalsวารสารอิเล็กทรอนิกส์ [TU Subject Heading]
Electronic journalวารสารอิเล็กทรอนิกส์, Example: วารสารในรูปแบบวารสารอิเล็กทรอนิกส์ คือ วารสารทางวิชาการที่ผลิตและเผยแพร่สู่ผู้ใช้โดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวารสารที่ห้องสมุดบอกรับโดยเสียค่าบริการเพื่อให้ผ่านอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารนิเทศได้รวดเร็วในเวลาเดียวกันหลายคน โดยไม่จำกัดเวลา และสถานที่ สามารถจัดหาได้เมื่อต้องการ ( Acquisition on Demand) และมีบริการจัดส่งบทความ (Document Delivery) เมื่อมีผู้ต้องการสั่งซื้อทาง E - mail หรือ Fax หรืออื่นๆได้ตามต้องการ วารสารอิเล็กทรอนิกส์เป็นพัฒนาการของวารสารที่ทันสมัยที่สุดในปัจจุบัน <p>ข้อดีของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ <ol>1. ผู้ใช้สามารถติดตามอ่านวารสารได้อย่างรวดเร็ว ทันทีที่วารสารมีการจัดพิมพ์ เนื่องจากสำนักพิมพ์จัดพิมพ์แบบอิเล็กทรอนิกส์ จึงทำให้เผยแพร่สู่ผู้อ่านได้อย่างรวดเร็ว</ol> <ol>2. ผู้อ่านสามารถเข้าถึงวารสารได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โดยไม่จำกัดเวลา โอกาส และ สถานที่</ol> <ol>3. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเย็บเล่มวารสาร การเสียแรงงานบุคลากรในการเตรียมวารสารก่อนส่งเย็บเล่มและหลังการเย็บเล่ม</ol> <ol>4. ช่วยแก้ปัญหาการได้รับวารสารไม่ครบ วารสารถูกฉีกขาด</ol> <ol>5. ช่วยแก้ปัญหาสถานที่เก็บ ไม่มีปัญหาการเพิ่มน้ำหนักพื้นที่ของห้องสมุด</ol> <p>ข้อจำกัดของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ <ol>1. ค่าใช้จ่ายในการบอกรับ แต่ละสำนักพิมพ์จะกำหนดค่าบอกรับแตกต่างกัน เช่น บางสำนักพิมพ์เมื่อบอกรับวารสารฉบับพิมพ์จะให้สิทธิ์สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ บางสำนักพิมพ์แยกราคากันระหว่างฉบับพิมพ์กับวารสารอิเล็กทรอนิกส์ </ol> <ol>2. ลิขสิทธิ์ในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ยังไม่ชัดเจนเช่นกฎหมายลิขสิทธิ์ของสิ่งพิมพ์</ol> <ol>3. วารสารย้อนหลัง การจัดเก็บวารสารอิเล็กทรอนิกส์ฉบับย้อนหลังยังไม่มีรูปแบบที่ชัดเจน ห้องสมุดที่บอกรับหารูปแบบ วิธีการจัดเก็บเอง หรือบริษัทเป็นผู้จัดทำ</ol> <ol>4. การเข้าถึงวารสารอิเล็กทรอนิกส็ ปัญหาสำคัญประการหนึ่งก็คือ ความล่าช้าของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ บรรณารักษ์และผู้ใช้ขาดความเข้าใจในวิธีการสืบค้นข้อมูล ตลอดจนปัญหาของข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบที่แตกต่างกัน King (1991 : 5-6) กล่าวว่า ประมาณปี 2006 จะมีการเปลี่ยนแปลงอีกมากในการสืบค้นข้อมูล ตลอดจนการนำส่งข้อมูลเข้าห้องสมุด ในขณะที่สื่อสิ่งพิมพ์ยังคงมีใช้อยู่ แต่จะมีบทบาทที่แตกต่างไป โดยความคิดนี้ตรงกับความเห็นของ McKnight (1993 : 9) และ Piternick (1989 b : 96) ที่กล่าวว่า วารสารในรูปแบบสิ่งพิมพ์จะมีการใช้ต่อไป ในขณะที่การใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์จะเป็นเสมือนเส้นขนานมากกว่าจะเป็นเทคโนโลยีที่เข้ามาแทนที่ นักวิชาการและนักวิจัยจะใช้เวลาเล็กน้อยในห้องสมุด เพราะสามารถสืบค้นข้อมูลได้จากคอมพิวเตอร์ หรือจาก Workstation จากที่ห่างไกลได้</ol> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Electronic journalวารสารอิเล็กทรอนิกส์, Example: วารสารในรูปแบบวารสารอิเล็กทรอนิกส์ คือ วารสารทางวิชาการที่ผลิตและเผยแพร่สู่ผู้ใช้โดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวารสารที่ห้องสมุดบอกรับโดยเสียค่าบริการเพื่อให้ผ่านอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารนิเทศได้รวดเร็วในเวลาเดียวกันหลายคน โดยไม่จำกัดเวลา และสถานที่ สามารถจัดหาได้เมื่อต้องการ ( Acquisition on Demand) และมีบริการจัดส่งบทความ (Document Delivery) เมื่อมีผู้ต้องการสั่งซื้อทาง E - mail หรือ Fax หรืออื่นๆได้ตามต้องการ วารสารอิเล็กทรอนิกส์เป็นพัฒนาการของวารสารที่ทันสมัยที่สุดในปัจจุบัน <p>ข้อดีของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ <ol>1. ผู้ใช้สามารถติดตามอ่านวารสารได้อย่างรวดเร็ว ทันทีที่วารสารมีการจัดพิมพ์ เนื่องจากสำนักพิมพ์จัดพิมพ์แบบอิเล็กทรอนิกส์ จึงทำให้เผยแพร่สู่ผู้อ่านได้อย่างรวดเร็ว</ol> <ol>2. ผู้อ่านสามารถเข้าถึงวารสารได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โดยไม่จำกัดเวลา โอกาส และ สถานที่</ol> <ol>3. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการเย็บเล่มวารสาร การเสียแรงงานบุคลากรในการเตรียมวารสารก่อนส่งเย็บเล่มและหลังการเย็บเล่ม</ol> <ol>4. ช่วยแก้ปัญหาการได้รับวารสารไม่ครบ วารสารถูกฉีกขาด</ol> <ol>5. ช่วยแก้ปัญหาสถานที่เก็บ ไม่มีปัญหาการเพิ่มน้ำหนักพื้นที่ของห้องสมุด</ol> <p>ข้อจำกัดของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ <ol>1. ค่าใช้จ่ายในการบอกรับ แต่ละสำนักพิมพ์จะกำหนดค่าบอกรับแตกต่างกัน เช่น บางสำนักพิมพ์เมื่อบอกรับวารสารฉบับพิมพ์จะให้สิทธิ์สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ บางสำนักพิมพ์แยกราคากันระหว่างฉบับพิมพ์กับวารสารอิเล็กทรอนิกส์ </ol> <ol>2. ลิขสิทธิ์ในรูปสื่ออิเล็กทรอนิกส์ยังไม่ชัดเจนเช่นกฎหมายลิขสิทธิ์ของสิ่งพิมพ์</ol> <ol>3. วารสารย้อนหลัง การจัดเก็บวารสารอิเล็กทรอนิกส์ฉบับย้อนหลังยังไม่มีรูปแบบที่ชัดเจน ห้องสมุดที่บอกรับหารูปแบบ วิธีการจัดเก็บเอง หรือบริษัทเป็นผู้จัดทำ</ol> <ol>4. การเข้าถึงวารสารอิเล็กทรอนิกส็ ปัญหาสำคัญประการหนึ่งก็คือ ความล่าช้าของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ บรรณารักษ์และผู้ใช้ขาดความเข้าใจในวิธีการสืบค้นข้อมูล ตลอดจนปัญหาของข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบที่แตกต่างกัน King (1991 : 5-6) กล่าวว่า ประมาณปี 2006 จะมีการเปลี่ยนแปลงอีกมากในการสืบค้นข้อมูล ตลอดจนการนำส่งข้อมูลเข้าห้องสมุด ในขณะที่สื่อสิ่งพิมพ์ยังคงมีใช้อยู่ แต่จะมีบทบาทที่แตกต่างไป โดยความคิดนี้ตรงกับความเห็นของ McKnight (1993 : 9) และ Piternick (1989 b : 96) ที่กล่าวว่า วารสารในรูปแบบสิ่งพิมพ์จะมีการใช้ต่อไป ในขณะที่การใช้วารสารอิเล็กทรอนิกส์จะเป็นเสมือนเส้นขนานมากกว่าจะเป็นเทคโนโลยีที่เข้ามาแทนที่ นักวิชาการและนักวิจัยจะใช้เวลาเล็กน้อยในห้องสมุด เพราะสามารถสืบค้นข้อมูลได้จากคอมพิวเตอร์ หรือจาก Workstation จากที่ห่างไกลได้</ol> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Electronic journalsวารสารอิเล็กทรอนิกส์ [TU Subject Heading]

Time: 4.864 secondsLongdo Dict -- https://dict.longdo.com/