การงาน | (n) work, See also: job, duty, business, Syn. การทำงาน, งาน, กิจธุระ, ธุรกิจ, Example: ไพโรจน์เป็นคนที่เอาใจใส่การงานดี, Thai Definition: กิจการที่ทำ |
จัดการงานนอกสั่ง | น. การที่บุคคลคนหนึ่งเข้าทำกิจการแทนผู้อื่น โดยเขามิได้ว่าขานวานใช้ให้ทำหรือโดยมิได้มีสิทธิที่จะทำการงานนั้นแทนผู้อื่น. |
กรรม ๑, กรรม- ๑ | (กำ, กำมะ-) น. การ, การกระทำ, การงาน, กิจ, เช่น พลีกรรม ต่างกรรมต่างวาระ, เป็นการดีก็ได้ ชั่วก็ได้ เช่น กุศลกรรม อกุศลกรรม. |
กรรมฐาน | (กำมะถาน) น. ที่ตั้งแห่งการงาน หมายเอาอุบายทางใจ มี ๒ ประการ คือ สมถกรรมฐาน เป็นอุบายสงบใจ และวิปัสสนากรรมฐาน เป็นอุบายเรืองปัญญา. |
กรรมสัมปาทิก | (กำมะสำปาทิก) น. ผู้ยังการงานให้ถึงพร้อม |
กระยาดอกเบี้ย | น. สิ่งที่ส่งชำระแทนดอกเบี้ยเงินกู้ เช่น มอบบุตรภริยาให้รับใช้การงานแทนการจ่ายดอกเบี้ย, กระยาเบี้ย หรือ เชิงกระยาดอกเบี้ย ก็เรียก. |
กลาง | ที่รวม, ที่รวมกิจการงานที่มีสาขาย่อยออกไป, เช่น สำนักงานกลาง ไปรษณีย์กลาง. |
การ ๑ | น. งาน, สิ่งหรือเรื่องที่ทำ, มักใช้เข้าคู่กับคำ งาน เช่น การงาน เป็นการเป็นงาน ได้การได้งาน, ถ้าอยู่หน้านาม หมายความว่า เรื่อง, ธุระ, หน้าที่, เช่น การบ้าน การครัว การคลัง การเมือง, ถ้าอยู่หน้ากริยา ทำกริยาให้เป็นนาม เช่น การกิน การเดิน. |
กิจการ | น. การงานที่ประกอบ, ธุระ. |
กิจจานุกิจ | (กิดจานุกิด) น. การงานน้อยใหญ่ หมายเอาการงานทั่วไป. |
ขยัน ๑ | (ขะหฺยัน) ก. ทำการงานอย่างแข็งขันไม่ปล่อยปละละเลย, ทำหรือประพฤติเป็นปรกติสมํ่าเสมอ, ไม่เกียจคร้าน |
ขาย | ก. เอาของแลกเงินตรา, โอนกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินให้แก่กันโดยตกลงกันว่าผู้รับโอนจะใช้ราคาแห่งทรัพย์สินนั้น มีหลายลักษณะ คือ ชำระเงินในขณะที่ซื้อขายกัน เรียกว่า ขายเงินสด, ขายโดยยอมเก็บเงินอันเป็นราคาของในวันหลัง เรียกว่า ขายเชื่อ, (เลิก) เอาเงินเขามาโดยยอมตนเข้ารับใช้การงานของเจ้าเงิน เรียกว่า ขายตัวลงเป็นทาส. |
เข้มแข็ง | ก. แข็งแรงในการงาน, ขยันขันแข็ง, ไม่ย่อท้อหวั่นไหว. |
คนเสมือนไร้ความสามารถ | น. บุคคลที่ไม่สามารถจัดการงานโดยตนเองได้ หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรือครอบครัว เพราะกายพิการ จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดทำนองเดียวกันนั้น และศาลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ. |
ค่าป่วยการ | น. ค่าชดเชยการงานหรือเวลาที่เสียไป เช่น ค่าป่วยการพยาน. |
งอมืองอตีน | ก. เกียจคร้าน, ไม่สนใจขวนขวายทำการงาน, ไม่คิดสู้. |
งาน ๑ | น. สิ่งหรือกิจกรรมที่ทำ, มักใช้เข้าคู่กับคำ การ เช่น การงาน เป็นการเป็นงาน ได้การได้งาน |
จรรยาบรรณ | (จันยาบัน) น. ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้น เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้. |
จ้างทำของ | น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับจ้าง ตกลงรับจะทำการงานสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนสำเร็จให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้ว่าจ้าง และผู้ว่าจ้างตกลงจะให้สินจ้างเพื่อผลสำเร็จแห่งการที่ทำนั้น. |
ชักใบให้เรือเสีย | ก. พูดหรือทำขวาง ๆ ให้การสนทนาหรือการงานเขวออกนอกเรื่องไป. |
ชำระบัญชี | ก. ชำระสะสางการงานให้เสร็จไป กับจัดการใช้หนี้เงินและแจกจำหน่ายสินทรัพย์เมื่อเลิกกิจการ อันเป็นอำนาจและหน้าที่ของผู้ชำระบัญชี. |
ตรวจการ | ก. ตรวจดูการงานให้ดำเนินไปโดยเรียบร้อย เช่น ผู้ตรวจการ, ตรวจราชการ ก็ว่า. |
ตรวจราชการ | ก. ตรวจดูการงานให้ดำเนินไปโดยเรียบร้อย เช่น ผู้ตรวจราชการภาค, ตรวจการ ก็ว่า. |
ตัวยืน | ผู้ที่เป็นหลักในการงานอย่างใดอย่างหนึ่ง, ตัวยืนโรง หรือ ตัวยืนพื้น ก็ว่า. |
ตำแหน่ง | หน้าที่การงาน |
ตื่นแต่ดึก สึกแต่หนุ่ม | ก. เร่งรัดทำการงานให้เหมาะสมแก่เวลาและวัยที่ยังแข็งแรงอยู่. |
ทะเบียน | น. บัญชีจดลักษณะจำนวนคน จำนวนสัตว์ หรือจำนวนสิ่งของ ตลอดจนการงานต่าง ๆ ที่รัฐบันทึกไว้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับประชาชนพลเมือง. |
ทั้งที่, ทั้ง ๆ ที่ | ว. ในขณะที่ เช่น เขาออกจากบ้านไปทั้งที่ฝนกำลังตก เขาลาออกทั้ง ๆ ที่หน้าที่การงานกำลังเจริญก้าวหน้า. |
ทันกิน | ก. คิดหรือทำการใด ๆ ทันท่วงที (โดยปรกติใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น ทำการงานช้าไม่ทันกิน มัวงุ่มง่ามอยู่อย่างนี้ไม่ทันกิน. |
ทำ | ประกอบการงาน เช่น ทำนา ทำสวน ทำโป๊ะ |
ทุพพลภาพ | (ทุบพนละพาบ) ว. หย่อนกำลังความสามารถที่จะประกอบการงานตามปรกติได้. |
ธุร-, ธุระ | (ทุระ-) น. หน้าที่การงานที่พึงกระทำ, กิจในพระศาสนา มี ๒ อย่าง คือ การเล่าเรียน เรียกว่า คันถธุระ และ การปฏิบัติทางใจ เรียกว่า วิปัสสนาธุระ |
ธุรการ | น. การจัดกิจการงานโดยส่วนรวมของแต่ละหน่วย ซึ่งมิใช่งานวิชาการ. |
ธุรกิจ | น. การงานประจำเกี่ยวกับอาชีพค้าขาย หรือกิจการอย่างอื่นที่สำคัญและที่ไม่ใช่ราชการ |
นายจ้าง | น. ผู้จ้างทำการงาน, คู่กับ ลูกจ้าง |
บัญชาการ | ก. สั่งการงานตามอำนาจหน้าที่. |
บุริมสิทธิสามัญ | น. บุริมสิทธิของเจ้าหนี้ผู้ทรงสิทธิเรียกร้องในมูลหนี้อย่างหนึ่งอย่างใดเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์อันร่วมกัน ค่าปลงศพ ค่าภาษีอากร และเงินที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับเพื่อการงานที่ได้ทำให้แก่ลูกหนี้ซึ่งเป็นนายจ้าง ค่าเครื่องอุปโภคบริโภคอันจำเป็นประจำวัน ในอันที่จะได้รับชำระหนี้ที่ค้างชำระแก่ตนจากทรัพย์สินทั้งหมดของลูกหนี้. |
ประสิทธิภาพ | น. ความสามารถที่ทำให้เกิดผลในการงาน. |
ป่วยการ | ว. เรียกค่าชดเชยการงานหรือเวลาที่เสียไป ว่า ค่าป่วยการ. |
เปิด | ทำพิธีเป็นประเดิมเพื่อดำเนินกิจการงานหรือให้ใช้ได้เป็นต้น เช่น เปิดร้านใหม่ เปิดถนน เปิดสมาคม |
ผละงาน | ก. ละทิ้งการงานไปโดยกะทันหัน, นัดหยุดงาน. |
ผู้ว่าจ้าง | น. บุคคลซึ่งตกลงว่าจ้างผู้รับจ้าง ในสัญญาจ้างทำของ ให้ทำการงานสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนสำเร็จ โดยจะให้สินจ้างเพื่อผลสำเร็จแห่งการที่ทำนั้น. |
ผู้หลักผู้ใหญ่ | น. ผู้มีอายุมาก เช่น โตจนเป็นผู้หลักผู้ใหญ่แล้วยังทำตัวเหลวไหล, ผู้ที่เป็นหัวหน้าในการงาน, บุคคลชั้นผู้บังคับบัญชา เช่น งานนี้มีผู้หลักผู้ใหญ่มากันมาก |
ผู้ใหญ่ | น. คนที่มีอายุมาก, บุคคลที่มีอายุครบ ๑๘ ปีบริบูรณ์แล้ว, คนที่เป็นหัวหน้าในการงาน, บุคคลชั้นผู้บังคับบัญชา. |
ผูกดอก | ก. ทำหนังสือสัญญาเป็นลูกจ้างรับเงินล่วงหน้าแล้วให้ดอกเบี้ยแทนรับใช้การงาน. |
พ่อบ้าน | น. ชายที่เป็นหัวหน้าครอบครัว, ชายผู้จัดการงานในบ้านเป็นต้น, ชายผู้จัดการงานธุรการในสถานที่เช่นโรงพยาบาลเป็นต้น, คู่กับ แม่บ้าน. |
พ่อพวงมาลัย | น. ชายที่ปล่อยชีวิตตามสบาย ไม่ยอมตั้งตัวหรือทำการงานเป็นหลักฐาน. |
ภาร, ภาร-, ภาระ ๑ | ธุระที่หนัก, การงานที่หนัก |
ภารธุระ | (พาระทุระ, พานทุระ) น. การงานที่รับทำ, กิจการที่ขวนขวายประกอบ. |
มรรค, มรรค-, มรรคา | ในพระพุทธศาสนา เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม คู่กับ ผล มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค, ทางที่จะนำไปสู่ความพ้นทุกข์ เป็น ๑ ในอริยสัจ ๔ ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค เรียกเต็มว่า มรรคมีองค์ ๘ ประกอบด้วย สัมมาทิฐิ–ความเห็นชอบ ๑ สัมมาสังกัปปะ–ความดำริชอบ ๑ สัมมาวาจา–การเจรจาชอบ ๑ สัมมากัมมันตะ–การงานชอบ ๑ สัมมาอาชีวะ–การเลี้ยงชีวิตชอบ ๑ สัมมาวายามะ–ความพยายามชอบ ๑ สัมมาสติ–ความระลึกชอบ ๑ สัมมาสมาธิ–ความตั้งใจชอบ ๑ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มัชฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง. |
มอบหมาย | ก. กำชับสั่งเสีย เช่น มอบหมายการงาน, กะให้, กำหนดให้, เช่น มอบหมายหน้าที่ให้แต่ละคนรับผิดชอบ. |
procurator | ผู้จัดการงานแทน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
private service | การงานส่วนบุคคล, บริการเอกชน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
procuration | ๑. การเป็นผู้จัดการงานแทน (ก. แพ่ง)๒. การจัดหาหญิงไปเพื่อให้สำเร็จความใคร่ของผู้อื่น (ก. อาญา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
service | ๑. บริการ, การงาน๒. การส่งหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
settle the affairs | ชำระสะสางการงาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
activity | ๑. การงาน, กิจกรรม๒. กัมมันตภาพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
absent from service | ละทิ้งการงาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
job management | การจัดการงาน [ ใช้ในโอเอส ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
management of affairs without mandate | การจัดการงานนอกสั่ง [ ดู negotiorum gestio ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
earnings | รายได้จากการทำงาน, รายได้จากการประกอบการงาน [ ดู earned income ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
earned income | รายได้จากการทำงาน, รายได้จากการประกอบการงาน [ ดู earnings ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
negotiorum gestio (L.) | การจัดการงานนอกสั่ง [ ดู management of affairs without mandate ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
undertaking | การงาน, การรับทำการงาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Negotiorum gestio | จัดการงานนอกสั่ง [TU Subject Heading] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
International Labor Organization | คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] |
Wives of Diplomats | ภรรยาของนักการทูต ในประเทศที่มีกษัตริย์ และเอกอัครราชทูตจัดถวายพระราชสาส์นตราตั้งต่อกษัตริย์หรือราชินีในฐานะ ประมุขของรัฐนั้น มักจะให้ภรรยาเข้าเฝ้าด้วยต่างหาก แต่การเข้าเฝ้านั้นจะมีพิธีรีตองน้อยกว่าของเอกอัครราชทูตในอดีตกาล ภรรยาของเอกอัครราชทูตมักจะไม่ได้รับการพิจารณารับรองและยกย่องเหมือนกับที่ เป็นอยู่ในปัจจุบัน อาทิเช่น ที่กรุงเวนิส ตามกฎหมายปี ค.ศ. 1268 ไม่อนุญาตให้ภรรยาของเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย ไม่ว่าจะไปประจำแห่งไหน เพราะเกรงว่าภรรยาอาจจะปากโป้งเกี่ยวกับการงานของสามี แต่กฎหมายได้กำหนดให้เอกอัครราชทูตนำพ่อครัวของตนเองติดตามไปด้วย เพื่อกันมิให้เอกอัครราชทูตต้องถูกวางยาพิษในอาหารที่รับประทานกล่าวโดยทั่ว ไปแล้ว ทุกวันนี้ภรรยาของเอกอัครราชทูตได้อุปโภคเอกสิทธิ เกียรติ ลำดับอาวุโส และความคุ้มกันต่าง ๆ เหมือนกับสามี ถึงแม้ในบางกรณีเอกอัครราชทูตกับภรรยาอาจแยกกันอยู่ก็ตาม ภรรยาของเอกอัครราชทูตที่เพิ่งยื่นสารตราตั้ง มักจะหาโอกาสไปเยี่ยมคารวะภรรยาของเอกอัครราชทูตอื่น ๆ ด้วย แม้ว่าในทุกวันนี้ธรรมเนียมปฏิบัติดังกล่าวอาจจะไม่เคร่งครัดเหมือนกับสมัย ก่อน อนึ่ง ในบางประเทศได้มีระเบียบข้อบังคับ ห้ามมิให้ผู้แทนทางการทูตและทางการกงสุลที่ประจำอยู่ในต่างประเทศ แต่งงานกับคนต่างชาติโดยมิได้รับอนุมัติจากรัฐบาลของตนก่อน [การทูต] |
Erratic Performance | ความบกพร่องในการกระทำการงาน [การแพทย์] |
resource | ทรัพยากรทางเทคโนโลยี, ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการดำเนินการงานของระบบเทคโนโลยี ซึ่งอาจเป็นสิ่งที่ส่งเสริมหรือขัดขวางการดำเนินงานก็ได้ ประกอบด้วย 7 ด้าน คือ คน ข้อมูลและสารสนเทศ วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ พลังงาน ทุน และเวลา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
การงาน | [kān ngān] (n) EN: employement ; work ; job ; activities ; duty ; business ; action ; act FR: emploi [ m ] ; activité [ f ] ; action [ f ] ; acte [ m ] |
การงานชอบ | [kān ngān chøp] (n, exp) EN: right action FR: action juste [ f ] |
หน้าที่การงาน | [nāthī kān ngān] (n, exp) EN: job |
affair | (n) การงาน, Syn. business, concern, responsibility |
ascent | (n) ความก้าวหน้าขึ้น (เช่น ในหน้าที่การงาน), Syn. advancement |
business | (n) หน้าที่, See also: ธุระ, ภารกิจ, กิจธุระ, กิจ, งาน, หน้าที่การงาน, Syn. task |
ball and chain | (idm) ภาระสำคัญ (คำไม่เป็นทางการ), See also: ภาระหน้าที่ในการงาน |
career | (n) อาชีพ, See also: การงาน, Syn. occupation, vocation, work |
employment | (n) การงาน, See also: งาน, Syn. job, occupation, work |
foothold | (n) ฐานที่มั่นคง (ทางธุรกิจ, อาชีพการงาน) |
keep open | (phrv) รักษาตำแหน่งหรือการงานไว้ให้ |
low | (adv) ระดับต่ำ (การเรียน, การงาน) |
occupational | (adj) ซึ่งเกี่ยวกับอาชีพ, See also: ซึ่งเป็นอาชีพ, เกี่ยวกับการงานที่ปฏิบัติ, Syn. professional, official |
post | (n) ตำแหน่ง, See also: ตำแหน่งการงาน, หน้าที่, Syn. appointment, assighment |
profession | (n) อาชีพ, See also: อาชีพที่สุจริต, การงาน |
shop | (n) การงาน, See also: อาชีพ |
sinecure | (n) ตำแหน่งการงานที่ไม่ต้องทำงานมาก, See also: ตำแหน่งการงานที่มีแต่เฉพาะในนาม, Syn. easy job, cinch |
transfer | (vi) ย้าย, See also: เปลี่ยนตำแหน่ง, โยกย้ายตำแหน่งหน้าที่การงาน, โอนตำแหน่ง |
work | (n) งาน, See also: การงาน, Syn. career, job, occupation |
business | (บิซ'ซิเนส) n. ธุรกิจ, การค้า, เรื่องที่ยากลำบาก, เรื่องที่ถือว่าสำคัญและเอาจริงเอาจัง, ธุระ, สถานการณ์, ภาระหน้าที่, การงาน -Id. (mean business) เอาจริง adj. เกี่ยวกับธุรกิจการค้า |
chair | (แชร์) n. เก้าอี้, ตำแหน่งการงาน, Syn. seat |
couture | (คูเที่ยว') n. อาชีพหรือการงานของนักออกแบบหรือขายเสื้อผ้าอาภรณ์สตรี |
employment | (เอมพลอย'เมินทฺ) n. การจ้าง, การว่าจ้าง, ภาวะที่ถูกว่าจ้าง, อาชีพ, การงาน, ธุรกิจ, กิจกรรม, Syn. work |
occupation | (ออคคิวเพ'เชิน) n. อาชีพ, การงาน, การครอบครอง, Syn. vocation, profession |
officiary | (อะฟิช'เซียรี) adj. เกี่ยวกับสำนักงาน, ซึ่งมีตำแหน่งการงาน |
operative | (ออพ'พะเรทิฟว) n. ผู้ปฏิบัติการ, นักสืบ, สายลับ, ช่าง, คนงาน. adj. เกี่ยวกับปฏิบัติการ, มีอิทธิพล, มีผล, ได้ผล, เกี่ยวกับศัลยกรรม, เกี่ยวกับการงาน, See also: operativity n. |
place | (เพลส) n. สถานที่, บริเวณ, จุดหมาย, ที่, ที่พัก, เขต, ฐานะ, ตำแหน่ง, สภาพ, สถานการณ์, เทศะ, หน้าที่, การงาน, ที่ตั้ง, โอกาสที่เหมาะ. -Phr. (give place to ให้ความสำคัญ, ถูกแทนที่โดย) -Phr. (go places ประสบความสำเร็จ) -Phr. (take place เกิดขึ้น) vt. จัด, วาง, กะ, คาดคะเน, บรรจุ, ใส่, เอาไว้, ฝาก, มอบ, แต่งตั้ง, วินิจฉัย, ปรับเสียง, วางลูก, ส่งกระสุน vi. อยู่ในอันดับ |
ploy | (พลอย) n. วิธีการ, แผน, การเล่นสนุกสนาน, การงาน, กิจกรรม vt., vi. แปรขบวน, Syn. maneuver, stratagem |
practitioner | (แพรคทิช'ชะเนอะ) n. ผู้ประกอบการงาน, ผู้ปฏิบัติ, แพทย์ |
pursuit | (เพอซิวทฺ') n. การติดตาม, การไล่ตาม, การตามจับ, การดำเนินต่อไป, การดำเนินตาม, อาชีพ, การงาน, การเจริญรอย, Syn. chase |
schoolwork | n. การงานและงานที่โรงเรียน |
shop | (ชอพ) n. ร้าน, ร้านค้า, ร้านขายปลีก, ร้านเล็ก ๆ , โรงฝึกงาน, โรงซ่อม, สำนักงาน, ห้องทำงาน, ที่ทำงาน, อาชีพ, การงาน, talk shop สนทนาเกี่ยวกับอาชีพการงาน vi. เดินดูหรือซื้อสินค้าตามร้าน, Syn. market, store |
sinecure | (ไซ'นะเคียวเออะ) n. ตำแหน่งการงานที่มีแต่นาม, ตำแหน่งว่าง, ตำแหน่งศาสนาที่ได้เงินแต่ไม่ต้องสอน., See also: sinecurist n. sinecureship n. |
thing | (ธิง) n. สิ่งของ, ของ, สรรพสิ่ง, กรณี, สิ่งสำคัญ, เรื่องราว, การกระทำ, เหตุการณ์, รายละเอียด, จุดประสงค์, เป้าหมาย, วิธีการ things เสื้อผ้าอาภรณ์, การงาน, สิ่งมีชีวิต, ความคิด, ข้อความ, สิ่งที่เป็นทรัพย์สินได้, Syn. object, entity |
work | (เวิร์ค) n. งาน, การงาน, การทำงาน, สิ่งที่ทำ, ผลิตผลจากการทำงาน, งานฝีมือ, สิ่งก่อสร้าง, งานฝีมือ, ผล, พฤติการณ์, adj. เกี่ยวกับงาน vi. ทำงาน, รับจ้างทำงาน, ดำเนินงาน, เดินเครื่อง, ใช้สอย, ใช้งาน, ได้ผล, มีผล, ทำด้วยมือ, ทำด้วยสมอง vt. จัดการ, ควบคุม, ใช้สอย, ใช้งาน, ทำให้ได้ผ |
activity | (n) กิจกรรม, การงาน |
affair | (n) กิจ, ธุระ, ธุรกิจ, การงาน, ราชการ, เรื่องรักๆใคร่ๆ |
avocation | (n) งาน, การงาน, อาชีพ, งานอดิเรก, การทำมาหากิน |
business | (n) ธุรกิจ, การงาน, กิจธุระ, การค้า, อาชีพ |
employment | (n) การงาน, อาชีพ, การจ้าง, การว่าจ้าง |
job | (n) การงาน, งานเหมา, งานชิ้น, ภาระหน้าที่ |
occupation | (n) อาชีพ, การงาน, การยึดครอง |
practitioner | (n) ผู้ฝึกหัด, ผู้ประกอบการงาน, ผู้ปฏิบัติ, แพทย์ |
pursuit | (n) การติดตาม, การแสวงหา, การงาน, อาชีพ, การดำเนินตาม |
shop | (n) สำนักงาน, ร้าน, โรงฝึกงาน, การงาน |
situation | (n) สถานการณ์, สถานะ, ตำแหน่ง, การงาน, เงื่อนไข, สถานที่ |
work | (n) การงาน, การทำงาน, งานฝีมือ, ผลงาน |
affaire | [af-fair] (n) การงาน, Syn. work |
lifeguard | [คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน] (n) lifeguard [ 1 ] - (N) - ชีพบาล คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน คำหมาย :: ผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่านการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ อ้างอิง :: life = ชีวิต, ชีพ guard = ยาม, ผู้ดูแล ในที่นี้ ขอใช้คำว่า บาล ซึ่งหมายถึงผู้ดูแล เช่น รัฐบาล, คชบาล, โคบาล, ทวารบาล, พยาบาล, อภิบาล, อนุบาล lifeguard [ 2 ] - (N) – ทหารรักษาพระองค์ (ทหารมหาดเล็ก) ในกองทัพ สหราชอาณาจักร (ประเทศอังกฤษ), See also: Lifesaving, Lifesaver |
lifesaving | [ชีบ-พะ-รัก] (n) Lifesaving [ 1 ] – ชีพรักษ์ คำอ่าน :: ชีบ-พะ-รัก ความหมาย :: วิชาชีพเกี่ยวกับการดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ที่มีการการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่าน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ |
step back | หยุดทำกิจกรรม/การงาน โดยเฉพาะเพื่อพิจารณาว่าจะทำอะไรต่อไป to pause in an activity, esp. to consider what to do next. We need to step back and look at all our options. |
wieldy | (adj) เหมาะสมแก่การงาน (นั่นคือ ปรับไปใช้กับงานชนิดไหนก็ได้นั่นเอง) |
ヤッピー | [やっぴー, yappi] (n) คนหนุ่มสาวที่มีการงานและการศึกษาที่ดี |
beruflich | (adj,, adv) ที่เกี่ยวข้องกับหน้าที่การงาน เช่น Sie ist beruflich verreist. |
bei | (prep) ใช้บ่งว่า มีการติดต่อหรือมีการข้องเกี่ยวส่วนมากด้านการงาน เช่น Ich war beim Augenarzt heute morgen. ฉันไปหาจักษุแพทย์มาเมื่อเช้านี้ หรือ ฉันได้รับการรักษาจากจักษุแพทย์มาเมื่อเช้านี้ |
Beschäftigung | (n) |die, pl. Beschäftigungen| อาชีพ, การงาน, การจ้างงาน เช่น Insgesamt blieben in Deutschland aber 4, 53 Millionen Menschen ohne Beschäftigung., See also: Beruf, Job, Berufstätigkeit, Syn. Arbeit |
affaire | (n) n.f. 1)กิจการงาน, ธุระ เช่น être à son affaire = พึงพอใจในงานของตน (สำนวน) 2) บริษัท |
lettre de rappel | (n) |f| จดหมายไล่ออก หรือ ย้ายตำแหน่งหน้าที่การงาน |