การดำรง | (n) maintenance, See also: protection, preservation, keeping, Syn. การรักษา, Thai Definition: การรักษาไว้ให้มีอยู่ |
การดำรง | (n) living, See also: existence, subsistence, Syn. การคงอยู่, Thai Definition: การมีชีวิตอยู่ |
การดำรงอยู่ | (n) existence, See also: living, Syn. การดำรงชีวิต, การดำรงชีพ, Example: การรักษาคุ้มครองระบบนิเวศน์จำเป็นอย่างยิ่งต่อการดำรงอยู่ของธรรมชาติ |
การดำรงอยู่ | (n) existence, See also: living, Syn. การดำรงชีวิต, การดำรงชีพ, Example: การรักษาคุ้มครองระบบนิเวศน์จำเป็นอย่างยิ่งต่อการดำรงอยู่ของธรรมชาติ |
การดำรงชีวิต | (n) living, See also: existence, Syn. การดำรงอยู่, การดำรงชีพ, Example: ปัจจุบันปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจสำคัญอย่างยิ่งสำหรับการดำรงชีวิต |
การดำรงชีวิต | (n) living, See also: existence, Syn. การดำรงอยู่, การดำรงชีพ, Example: ปัจจุบันปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจสำคัญอย่างยิ่งสำหรับการดำรงชีวิต |
การดำรงตำแหน่ง | (n) holding the post of, See also: being in charge of, holding a position, Example: การดำรงตำแหน่งประธานของบริษัททำให้เขาเครียดจนต้องเข้าร.พ. |
ค่าครองชีพ | น. ค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพ. |
ค่ายเยาวชน | น. สถานที่ซึ่งจัดขึ้นหรือใช้ฝึกอบรมเยาวชนให้รู้จักการดำรงชีวิตเป็นหมู่คณะ โดยให้ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ให้รู้จักช่วยตัวเอง ช่วยหมู่คณะ รู้จักระเบียบวินัย. |
จระเข้คับคลอง | น. ผู้ที่ชอบวางตัวใหญ่โตเกินไปย่อมมีอุปสรรคในการดำรงตนในสังคม. |
ชายกระเบน | คำเรียกผู้ชายที่อาศัยน้ำพักน้ำแรงผู้หญิงในการดำรงชีวิต. |
ฐิติ | (ถิติ) น. การตั้งอยู่, การยืนอยู่, การดำรงอยู่ |
ทะเลทราย | น. อาณาบริเวณที่กว้างใหญ่เต็มไปด้วยทราย มีอากาศหนาวจัดในเวลากลางคืนและร้อนจัดในเวลากลางวัน ยากแก่การดำรงชีวิต มีพืชขึ้นอยู่น้อยมาก. |
ธรรมฐิติ | น. “การตั้งอยู่แห่งความจริงแท้”, การดำรงอยู่แห่งความจริงแท้คือ สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ สิ่งทั้งปวงเป็นอนัตตา. |
ธรรมธาตุ | น. “การทรงอยู่แห่งความจริงแท้”, การดำรงอยู่แห่งความจริงแท้ คือ สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ สิ่งทั้งปวงเป็นอนัตตา. |
ธรรมนิยาม | น.“การกำหนดแน่นอนแห่งความจริงแท้”, การดำรงอยู่แห่งความจริงแท้ คือ สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ สิ่งทั้งปวงเป็นอนัตตา. |
ธรรมสถิติ | น. “การตั้งอยู่แห่งความจริงแท้”, การดำรงอยู่แห่งความจริงแท้ คือ สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ สิ่งทั้งปวงเป็นอนัตตา. |
เลี้ยงตัว | ก. ทำมาหากินเพื่อให้ชีวิตดำรงอยู่ได้, เลี้ยงชีพ หรือ เลี้ยงอาตมา ก็ว่า, ดำเนินงานพอให้กิจการดำรงอยู่ได้ เช่น กิจการพอเลี้ยงตัวได้ |
เศรษฐกิจพอเพียง | น. ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเป็นแนวทางการดำรงชีวิตและปฏิบัติตนของประชาชนตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ให้ดำเนินไปในทางสายกลาง ไม่ประมาท ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตให้รอดพ้นจากวิกฤติ มีความมั่นคงและยั่งยืนท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ. |
หลัก ๑ | เครื่องยึดเหนี่ยว เช่น มีธรรมะเป็นหลักในการดำรงชีวิต, เครื่องจับยึด เช่น หลักแจว |
Mutual fund for resolving capital problem of commercial banks | กองทุนรวมเพื่อแก้ไขปัญหาการดำรงเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์, Example: กองทุนรวมที่มีนโยบายการลงทุนเพื่อแก้ไขปัญหาการดำรงเงินกองทุนของธนาคารพาณิชย์ โดยจะต้องเป็นกองทุนรวมที่กำหนดอายุโครงการจัดการกองทุนรวมที่แน่นอน [ตลาดทุน] |
Assistive Technology | เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวก, เครื่องมือ อุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรือบริการที่ใช้สำหรับคนพิการหรือผู้สูงวัย หรือที่มีการดัดแปลงหรือปรับใช้ให้ตรงกับความต้องการจำเป็นพิเศษของแต่ละบุคคล เพื่อเพิ่ม รักษา คงไว้ หรือพัฒนาความสามารถและศักยภาพที่จะเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร การสื่อสาร รวมถึงกิจกรรมอื่นใดในชีวิตประจำวันเพื่อการดำรงชีวิตอิสระ [Assistive Technology] |
Independent Living | การดำรงชีวิตอิสระ, การดำรงชีวิตอิสระเป็นแนวคิดการเคลื่อนไหวทางสังคม ที่เชื่อว่าคนพิการควรได้รับสิทธิความเป็นพลเมืองและสิทธิการตัดสินใจเช่นเดียวกับผู้ที่ไม่พิการ นั่นหมายถึงเป็นการจัดการชีวิตความเป็นอยู่ของคนพิการให้มีความเป็นอิสระมากที่สุด โดยให้คนพิการได้เลือกตัดสินใจด้วยตนเอง เพื่อใช้ชีวิตอยู่ในชุมชน [Assistive Technology] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Bacteria, Anaerobic | แบคทีเรียชนิดแอนแอโรบิก, พวกที่ไม่จำเป็นต้องใช้ก๊าซออกซิเจนในการดำรงชีวิต, แอนแอโรบิคแบคทีเรีย, แบคทีเรียเจริญเติบโตได้โดยไม่ต้องมีอ๊อกซิเจน [การแพทย์] |
Endocrine Glands, Nonessential | ไม่ใช่ต่อมที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต [การแพทย์] |
คุณภาพชีวิต | คุณภาพชีวิต, ความรู้สึกพึงพอใจในเรื่องต่าง ๆ อันเป็นความต้องการของตัวบุคคล ที่มีการดำรงชีพของมนุษย์ในระดับที่เหมาะสมตามความจำเป็นพื้นฐานในสังคม หนึ่ง ๆ ในช่วงเวลาหนึ่ง โดยจะมีเกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐานที่ต้องบรรลุแต่ละด้าน หรือกำหนดเป็นตัวชี้วัด จึงเป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงระด [สุขภาพจิต] |
predation | การล่าเหยื่อ, วิธีการดำรงชีพของสิ่งมีชีวิตที่คอยล่าสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เป็นอาหาร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
respiration | การหายใจ, กระบวนการสลายโมเลกุลของอาหารในสิ่งมีชีวิตเพื่อให้ได้พลังงานในการดำรงชีวิต มี 2 ชนิด คือ การหายใจแบบใช้ออกซิเจน และการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
aerobic respiration | การหายใจแบบใช้ออกซิเจน, การสลายโมเลกุลของอาหารในสิ่งมีชีวิตเพื่อให้ได้พลังงานในการดำรงชีวิต โดยใช้ออกซิเจนเข้าไปทำปฏิกิริยา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
saprophytism | ภาวะย่อยสลาย, สภาพการดำรงชีวิตของผู้ย่อยอินทรียสารซึ่งดำรงชีพโดยได้พลังงานจากการย่อยสลายซากของสิ่งมีชีวิต เช่น พวกเชื้อรา แบคทีเรีย เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
mutualism | ภาวะพึ่งพากัน, สภาพความสัมพันธ์แบบหนึ่งของการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่ต่างฝ่ายต่างได้รับประโยชน์จากการดำรงชีวิตร่วมกัน ถ้าขาดฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งก็ไม่สามารถจะดำรงชีวิตอยู่ได้ เช่น ไลเคน ซึ่งเป็นการอยู่ร่วมกันของสาหร่ายและรา เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
water pollution | มลพิษทางน้ำ, สภาวะของน้ำที่ไม่บริสุทธิ์ มีสิ่งสกปรกเจือปน อาจไม่เหมาะต่อการดำรงชีพของสิ่งมีชีวิต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
nutrient | สารอาหาร, สารที่สิ่งมีชีวิตนำเอาไปใช้ในกระบวนการดำรงชีวิต สารอาหารมี 6 ชนิด คือ คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน เกลือแร่ น้ำ และ วิตามิน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
environment | สิ่งแวดล้อม, ภาวะแวดล้อม, สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ล้อมรอบตัวของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งภาวะการณ์ต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตนั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
enzyme | เอนไซม์, สารอินทรีย์จำพวกโปรตีนที่ทำหน้าที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในปฏิกิริยาชีวเคมี เฉพาะอย่างให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีอันจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของเซลล์ เช่น ในปฏิกิริยาย่อยแป้งไปเป็นน้ำตาลมอลโทส จะต้องมีเอนไซม์ชื่ออะไมเลส [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
metabolism | เมแทบอลิซึม, การเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต และมีผลต่อการดำรงชีพของสิ่งชีวิต [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
physical factor | ปัจจัยทางกายภาพ, องค์ประกอบทางกายภาพ, สภาพแวดล้อมทางกายภาพ, สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิตซึ่งมีอิทธิพลต่อการดำรงชีพของสิ่งมีชีวิต เช่น ดิน น้ำ อากาศ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
biological factor | ปัจจัยทางชีวภาพ, องค์ประกอบทางชีวภาพ, สภาพแวดล้อมทางชีวภาพ, สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในสภาวะแวดล้อมและมีอิทธิพลต่อการดำรงชีพของสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่ง เช่น สาหร่ายเป็นปัจจัยทางชีวภาพของปลา เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
nitrogen fixing bacteria | แบคทีเรียตรึงไนโตรเจน, แบคทีเรียที่ใช้ไนโตรเจนจากบรรยากาศเพื่อการดำรงชีวิต โดยปกติอาศัยอยู๋ในปมรากพืชตระกูลถั่ว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
natural resources | ทรัพยากรธรรมชาติ, สิ่งที่เกิดขึ้นหรือมีอยู่ในธรรมชาติ ซึ่งอำนวยประโยชน์ในการดำรงชีพของมนุษย์ ได้แก่ อากาศ น้ำ พืช สัตว์ ดิน และแร่ธาตุต่าง ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
design and technology | การออกแบบและเทคโนโลยี, การเรียนรู้เพื่อพัฒนาความสามารถของมนุษย์ในการแก้ปัญหา และสนองความต้องการอย่างสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และกระบวนการเทคโนโลยี สร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำรงชีวิตและกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
input | ตัวป้อน, ความต้องการของมนุษย์หรือปัญหาที่ต้องการแก้ไข เช่น ความต้องการที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต (need) ความต้องการที่จะเพิ่มความสามารถของมนุษย์ (want) รวมถึงสถานการณ์เทคโนโลยีและรายละเอียดของปัญหาหรือความต้องการนั้น ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Life Style | แบบแผนการดำรงชีวิต, แบบอย่างการดำเนินชีวิต, พฤติกรรมในการดำรงชีวิต [การแพทย์] |
aerobic | (adj) ซึ่งต้องการอากาศหรือออกซิเจนในการดำรงชีวิต |
being | (n) การมีอยู่, See also: การดำรงอยู่, Syn. existence |
draw apart | (phrv) แยกกัน (ความคิดหรือการดำรงชีวิต) |
existence | (n) การดำรงอยู่, See also: การคงอยู่, การมีชีวิตอยู่, Syn. being, living, survival |
go down | (phrv) ตกต่ำลง (ระดับสังคม, มาตรฐานการดำรงชีวิต), Syn. come down: come up |
hedonist | (n) คนเจ้าสำราญ, See also: ผู้ที่แสวงหาความสนุกสนานเพลิดเพลินในการดำรงชีวิต, Syn. pleasure-lover, sensualist, thrill-seeker |
life | (n) รูปแบบการดำเนินชีวิต, See also: การดำรงชีวิต, วิถีชีวิต |
livelihood | (n) ความเป็นอยู่, See also: การดำรงชีวิต, การครองชีพ, Syn. sustenance, subsistence |
living | (n) การดำรงชีวิต, See also: การดำรงชีพ |
living | (adj) เพียงพอต่อการมีชีวิตอยู่, See also: เหมาะสมกับการดำรงชีพ |
living wage | (n) เงินที่เพียงพอในการดำรงชีวิต |
necessaries | (n) สิ่งจำเป็นโดยเฉพาะต่อการดำรงชีวิต |
ontology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการดำรงอยู่ |
preservation | (n) การสงวน, See also: การรักษาไว้, การดำรงรักษา, Syn. security, safety, conservation |
privation | (n) การขาดแคลนซึ่งสิ่งจำเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต, Syn. want, poverty |
survival | (n) การอยู่รอด, See also: การคงอยู่, การดำรงอยู่, การรอดตาย, Syn. continuation, existence |
survival of the fittest | (n) หลักการดำรงชีวิตอย่างเหมาะสม, See also: หลักการอยู่รอดอย่างเหมาะสม, Syn. natural selection, selection |
aerobe | (แอ' โรบ) n. สิ่งมีชีวิต (โดยเฉพาะแบคทีเรีย) ที่ต้องอาศัยออกซิเจนในการดำรงชีพ |
aerobic | (แอโร' บิค) adj. ซึ่งต้องการอากาศหรือออกซิเจนในการดำรงชีพ |
beige | (เบจ) n. สีเทาอ่อน, การดำรงอยู่, ชีวิต |
being | (บี'อิง) n. การเป็นอยู่, การดำรงอยู่, ชีวิต, สาร, ธรรมชาติ, สิ่งมีชีวิต, บุคคล, พระเจ้า (Being) , ธาตุแท้, คุณสมบัติ, Syn. existence, creature |
competition | (คอมพิทิช'เชิน) n. การแข่งขัน, การชิงชัย, ผู้แข่งขัน, การดิ้นรนต่อสู้ในการดำรงชีพ |
existence | (เอคซิส'เทินซฺ) n. การดำรงอยู่, การมีอยู่, การมีชีวิตอยู่, ความเป็นอยู่, สิ่งที่มีอยู่จริง |
free-living | n. การดำรงชีวิตอย่างอิสระ |
life | (ไลฟฺ) n. ชีวิต, สิ่งมีชีวิต, การดำรงชีวิต, ช่วงระยะเวลาที่มีชีวิต, ชั่วชีวิต, ชีวประวัติ, ความยืดหยุ่น, ความกลับได้ง่าย, วิธีการดำรงชีวิต, สิ่งมีค่าของชีวิต, บุคคลที่มีค่าของชีวิต, ช่วงระยะเวลาแห่งอำนาจ, ความรุ่งเรืองหรืออื่น ๆ , โทษจำคุกตลอดชีวิต, ฟอง |
lifetime | (ไลฟฺ'ไทมฺ) n. ช่วงระยะเวลาของการดำรงชีวิต, ตลอดชีวิต, ชั่วชีวิต. adj. ตลอดชีวิต |
livelihood | (ไลว'ลิฮูด) n. การดำรงชีวิต, วิธีการดำเนินชีวิต, ชีวิต, Syn. support |
living | (ลิฟ'วิง) adj. มีชีวิตอยู่, ไม่ตาย, มีอยู่, แรง, ขะมักเขม้น, คุกรุ่น, ไหล, เกี่ยวกับการครองชีพ, ในสภาพธรรมชาติ, แน่นอนที่สุด, n. การดำรงชีพ, วิธีการครองชีพ, คนที่มีชีวิตอยู่, เงินเดือนของพระ (ศาสนาคริสต์), Syn. live, alive, -A. dead, dull |
preservation | (เพรซเซอเว'เชิน) n. การเก็บรักษาไว้, การสงวน, การปกปักรักษา, การคุ้มครอง, การดำรง, การคงไว้, การพิทักษ์รักษา, See also: preservationist n. |
privation | (ไพรเว'เชิน) n. การขาดแคลนสิ่งจำเป็นในการดำรงชีพ, การขาดแคลน, ความคับแค้น, การเพิกถอน, Syn. want, need |
subsistence | (ซับซิส'เทินซฺ) n. การมีอยู่, การยังชีพ, การดำรงชีพ, วิธีการอยู่รอดหรือดำรงชีพ, แหล่งอาหารและปัจจัยการยังชีพอื่น ๆ , สิ่งที่มีอยู่, สิ่งที่เป็นของจริง, Syn. life, existence, sustenance |
survival | (เซอไว'เวิล) n. การอยู่รวด, การรอดตาย, การดำรงอยู่, การเหลืออยู่, สิ่งที่ดำรงอยู่, บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่, สิ่งหรือบุคคลที่เหลืออยู่. adj. เกี่ยวกับเครื่องยังชีพ |
sustenance | (ชัส'ทะเนินซฺ) n. วิธีการยังชีพ, การบำรุงเลี้ยง, วิธีการดำรงชีพ, ขบวนการสนับสนุน, การสนับสนุน, การค้ำจุน, การยังชีพ, Syn. food, support |
term | (เทอม) n. เวลาที่กำหนด, คราว, ครั้ง, ระยะเวลา, ภาคเรียน, สมัย, วาระ, ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง, คำศัพท์, พจน์, จำนวนในคณิตศาสตร์, ภาคศาล, ระยะเวลาการตั้งครรภ์, ข้อสรุป, ข้อสัญญา, เกณฑ์, ขอบเขต, ฐานะ, ความสัมพันธ์, เครื่องหมายเขตvt. ใช้คำ, ตั้งชื่อ, See also: terms n. เง |