Referral and consultation | การส่งต่อและการปรึกษา [TU Subject Heading] |
Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] |
The Nordic Council | องค์การที่ตั้งขึ้นเพื่อทำการปรึกษาหารือกัน ระหว่างรัฐสภาของประเทศเดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน รวมทั้งรัฐบาลของประเทศเหล่านี้ เกี่ยวกับเรื่องที่จะต้องปฎิบัติร่วมกัน กฎข้อบังคับของคณะรัฐมนตรี (Council) ซึ่งประกอบด้วยประเทศเหล่านี้ ได้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1958 คณะมนตรีประกอบด้วยผู้แทนซึ่งได้รับการเลือกตั้ง 69 คน รวมทั้งผู้แทนของรัฐบาลด้วย คณะมนตรีนี้ไม่มีสำนักงานถาวร และไม่มีสำนักเลขาธิการระหว่างประเทศ การประชุมได้กระทำกันโดยหมุนเวียนไปตามนครหลวงของประเทศสมาชิก [การทูต] |
Conferences | การปรึกษาหารือร่วมกัน, การประชุมแบบปรึกษาหารือ, ประชุมกลุ่ม, การประชุมปรึกษาหารือ [การแพทย์] |
Counseling | แนะแนว, การปรึกษา, การให้คำปรึกษา [การแพทย์] |
Counseling, Client-Centered | การปรึกษาแบบผู้ขอปรึกษาเป็นศูนย์กลาง [การแพทย์] |
Counseling, Cooperative | การปรึกษาแบบร่วมมือกัน [การแพทย์] |
Counseling, Directive | การปรึกษาแบบนำทาง [การแพทย์] |
Counseling, Non-directive | การปรึกษาแบบไม่นำทาง [การแพทย์] |
Counseling, Non-Directive | การปรึกษาแบบไม่นำทาง [การแพทย์] |
Mental Health Consultation | บริการปรึกษาสุขภาพ [การแพทย์] |
advisee | (แอดไวซี') n. ผู้ที่ได้รับการปรึกษา, นักเรียนที่อยู่ภายใต้การควบคุมของอาจารย์ |
consult | (คันซัลทฺ') { consulted, consulting, consults } v. ปรึกษา, หารือ, ขอความเห็น, ปรึกษาหมอ, พิจารณา, ปรึกษากับตรวจ, ค้น n. (คอน'ซัลทฺ, คันซัลทฺ') การปรึกษา, See also: consultable adj. ดูconsult consulter n., Syn. confer |
consultation | (คันซัลเท'เชิน) n. การปรึกษา, การประชุมปรึกษาหารือ |
consultative | (คันซัล'ทะทิฟว) adj. เกี่ยวกับการปรึกษา |
deliberation | (ดิลิบบะเร'เชิน) n. ความสุขุม, ความรอบคอบ, เจตนา, การพิจารณาหารือ, การปรึกษา, ความเชื่องช้า, Syn. thought, Ant. haste |
deliberative | adj. (เกี่ยวกับ) การพิจารณาอย่างรอบคอบ, การปรึกษาหารือ., See also: deliberativeness n. ดูdeliberative, Syn. thoughtful |
huddle | (ฮัด'เดิล) { huddled, huddling.huddles } v. จับกลุ่ม, รวมกลุ่ม, เบียดเสียด, ทำอย่างรีบเร่ง, ใส่เสื้อผ้าอย่างเร่งรีบ, ประชุม, หดม้วน, กอดกันกลม. -n. กลุ่ม, ก้อน, กอง, ความวุ่นวาย, ความสับสน, การประชุม, การปรึกษาหารือ, การจับกลุ่มกัน., See also: huddler n. huddli |
advisement | (n) การปรึกษา, การให้คำแนะนำ, การตักเตือน |
conference | (n) การประชุม, การปรึกษาหารือ, การชุมนุม |
consultation | (n) การปรึกษาหารือ, การพิจารณา, การประชุม |
counsel | (n) คำแนะนำ, คำปรึกษา, การปรึกษาหารือ, ที่ปรึกษากฎหมาย, ทนายความ |
deliberation | (n) การตรึกตรอง, การปรึกษาหารือ, การใคร่ครวญ, เจตนา, ความสุขุมรอบคอบ |
言論 | [げんろん, genron] (n) [ N ] การสนทนา, See also: การปรึกษาหารือ, การอภิปราย, การประชุม, การแลกเปลี่ยนความเห็น, การอภิปราย, Syn. consulation, argument, conference, seminar |
言論 | [げんろん, genron] (n) [ N ] การสนทนา, See also: การปรึกษาหารือ, การอภิปราย, การประชุม, การแลกเปลี่ยนความเห็น, การอภิปราย, Syn. consulation, argument, conference, seminar |