pathological diagnosis | การวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pharmacodiagnosis | การวินิจฉัยโรคด้วยยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
physiognosis | การวินิจฉัยโรคจากโฉมหน้าและสีหน้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
laboratory diagnosis | การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radiological diagnosis | การวินิจฉัยทางรังสีวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
roentgen diagnosis | การวินิจฉัยด้วยรังสีเรินต์เกน [ มีความหมายเหมือนกับ diagnosis, X-ray ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ratio decidendi (L.) | เหตุผลในการวินิจฉัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
serum diagnosis; serodiagnosis | การวินิจฉัยโดยตรวจซีรัม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
serodiagnosis; diagnosis, serum | การวินิจฉัยโดยตรวจซีรัม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
administrative adjudication | การวินิจฉัยสั่งการในทางปกครอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
clinical diagnosis | การวินิจฉัยทางคลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
cytodiagnosis | การวินิจฉัยโรคจากเซลล์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
X-ray diagnosis | การวินิจฉัยด้วยรังสีเอกซ์ [ มีความหมายเหมือนกับ diagnosis, roentgen ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
differential diagnosis | การวินิจฉัยแยกโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
decision | คำวินิจฉัย, การวินิจฉัย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
decision-making | การวินิจฉัยสั่งการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
distinguishing a case | การชี้ข้อแตกต่างในการวินิจฉัยคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
diagnostician | ผู้เชี่ยวชาญการวินิจฉัยโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diagnostics | วิชาการวินิจฉัยโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diagnosis | การวินิจฉัย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
diagnosis | การวินิจฉัย(โรค) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diagnosis | การวินิจฉัย [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
diagnosis | การวินิจฉัยโรค [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
diagnosis by exclusion | การวินิจฉัยโดยคัดออก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diagnosis, clinical | การวินิจฉัยทางคลินิก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diagnosis, differential | การวินิจฉัยแยกโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diagnosis, laboratory | การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diagnosis, pathological | การวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diagnosis, radiological | การวินิจฉัยทางรังสีวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diagnosis, roentgen | การวินิจฉัยด้วยรังสีเรินต์เกน [ มีความหมายเหมือนกับ diagnosis, X-ray ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diagnosis, serum; serodiagnosis | การวินิจฉัยโดยตรวจซีรัม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diagnosis, tentative | การวินิจฉัยเบื้องต้น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
diagnosis, X-ray | การวินิจฉัยด้วยรังสีเอกซ์ [ มีความหมายเหมือนกับ diagnosis, roentgen ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
finding | ผลการวินิจฉัยข้อเท็จจริง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
immunodiagnosis | การวินิจฉัยทางภูมิคุ้มกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
tentative diagnosis | การวินิจฉัยเบื้องต้น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
urocrisia | การวินิจฉัยจากปัสสาวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Diagnosis | การวินิจฉัยโรค [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Cytodiagnosis | การวินิจฉัยจากเซลล์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Electrodiagnosis | การวินิจฉัยด้วยไฟฟ้า [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Preimplantation genetic diagnosis | การวินิจฉัยทางพันธุกรรมก่อนการฝังตัว [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Diagnosis, Laboratory | การวินิจฉัยโรคทางห้องปฏิบัติการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Diagnostic exposure | การรับรังสีจากการวินิจฉัยโรค, การได้รับรังสีของผู้มารับบริการทางการแพทย์ อันเป็นขั้นตอนหนึ่งในการวินิจฉัยโรค หรือตรวจหาความบกพร่องของอวัยวะ [นิวเคลียร์] |
Medical exposure | การได้รับรังสีจากการแพทย์, การได้รับรังสีของผู้มารับบริการทางการแพทย์ ซึ่งเป็นขั้นตอนหนึ่งของการวินิจฉัยโรคหรือการบำบัดโรคของผู้นั้น [นิวเคลียร์] |
AIDS serodiagnosis | การวินิจฉัยกลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อมโดยตรวจซีรั่ม [TU Subject Heading] |
Cytological techniques | เทคนิคการวินิจฉัยทางเซลล์ [TU Subject Heading] |
Diagnosis | การวินิจฉัย [TU Subject Heading] |
Diagnosis, Differential | การวินิจฉัยแยกโรค [TU Subject Heading] |
Diagnostic techniques and procedures | การวินิจฉัยโรค [TU Subject Heading] |
Diagnostic techniques, Neurological | การวินิจฉัยโรคประสาท [TU Subject Heading] |
Electrodiagnosis | การวินิจฉัยด้วยไฟฟ้า [TU Subject Heading] |
Histological Techniques | เทคนิคการวินิจฉัยทางจุลกายวิภาค [TU Subject Heading] |
Nursing diagnosis | การวินิจฉัยทางการพยาบาล [TU Subject Heading] |
Prenatal diagnosis | การวินิจฉัยก่อนคลอด [TU Subject Heading] |
Serodiagnosis | การวินิจฉัยโรคทางเซรุ่ม [TU Subject Heading] |
Ultrasonography ; Ultrasonic imaging | การวินิจฉัยด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง [TU Subject Heading] |
Ultrasonography, Prenatal | การวินิจฉัยก่อนคลอดด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง [TU Subject Heading] |
Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] |
Single Photon Emission Computed Tomography | เป็นเทคนิคการถ่ายภาพอวัยวะภายในร่างกายที่ต้องการตรวจ โดยการให้สารเภสัชรังสีแก่คนไข้ แล้วทำการตรวจวัดรังสีแกมมาที่แผ่ออกมาจากสารเภสัชรังสีนั้น ด้วยอุปกรณ์ที่เรียกว่า "กล้องถ่ายแกมมา (gamma camera)" ซึ่งมีทั้งแบบที่หมุนได้ และแบบอยู่กับที่รอบตัวคนไข้ จากนั้นคอมพิวเตอร์จะแปลข้อมูลที่ได้ออกมาให้เห็นเป็นภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสี โดยสร้างภาพตัดเนื้อเยื่อของอวัยวะนั้น ทำให้สามารถบอกความผิดปกติของอวัยวะได้ โดยดูการกระจายตัวของสารเภสัชรังสี แม้มีความแตกต่างเพียงเล็กน้อยก็สามารถตรวจวัดได้ เทคนิคSPECT สามารถตรวจอวัยวะหรือระบบอวัยวะใดๆ ก็ได้ ขึ้นอยู่กับสารเภสัชรังสีที่ให้ เป็นวิธีที่ใช้ในการบอกตำแหน่งของความผิดปกติ ทั้งทางกายภาพและทางสรีรวิทยาในเนื้อเยื่อที่มีชีวิต ซึ่งเป็นข้อดีทางเทคนิคนี้ จึงนำไปใช้ในการวินิจฉัยโรคหัวใจ โรคลมบ้าหมู และโรคมะเร็ง ข้อได้เปรียบของเทคนิคนี้ ต่อ PET คือ ไม่ต้องใช้เครื่องไซโคลตรอนในการผลิตไอโซโทปรังสี [พลังงาน] |
Community Development Approach | หลักการพัฒนาชุมชน, การวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน [การแพทย์] |
Community Diagnosis | การวินิจฉัยชุมชน [การแพทย์] |
Complement Fixation Tests | คอมพลีเมนท์ฟิคเซชัน, การทดสอบ;คอมพลีเมนต์ฟิกเซชัน, การทดสอบ;วิธีทดสอบตรึงคอมพลีเมนต์, การวินิจฉัยโดยการทดสอบคอมพลีเมนท์ [การแพทย์] |
Curettage, Fractional | ขูดมดลูกเพื่อการวินิจฉัย, วิธีการขูดเพื่อแยกส่วน [การแพทย์] |
Cytodiagnosis | การตรวจทางเซลล์วิทยา, เซลล์วินิจฉัย, การวินิจฉัยจากเซลล์ [การแพทย์] |
Decision Level, Medical | ค่าที่ใช้ตัดสินการวินิจฉัยโรค [การแพทย์] |
Decision Making | การวินิจฉัยสั่งการ, การตัดสินใจ [การแพทย์] |
Diagnosis | การวินิจฉัยโรค [การแพทย์] |
Diagnosis, Anatomical | การพิจารณาตำแหน่งของโรค, การวินิจฉัยโดยอาศัยลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางรูปร่าง [การแพทย์] |
Diagnosis, Clinical | การพิเคราะห์ทางคลินิก, การวินิจฉัยของแพทย์, การวินิจฉัยโรคโดยอาศัยประวัติของการเจ็บป่วย [การแพทย์] |
Diagnosis, Definite | การวินิจฉัยขั้นสุดท้าย [การแพทย์] |
Diagnosis, Differential | การวินิจฉัยแยกโรค, วิเคราะห์แยกโรค, การวิเคราะห์แยกโรค, วินิจฉัยเปรียบเทียบ [การแพทย์] |
Diagnosis, Early | การตรวจวินิจฉัยแต่แรกเริ่ม, การวินิจฉัยในระยะแรกเริ่ม, การวินิจฉัยแต่เนิ่นๆ [การแพทย์] |
Diagnosis, Histological | การวินิจฉัยทางจุลกายวิภาค [การแพทย์] |
Diagnosis, Hospital | การวินิจฉัยข้อมูลของโรงพยาบาล [การแพทย์] |
Diagnosis, Laboratory | การวินิจฉัยทางห้องปฎิบัติการ, การวินิจฉัยโรคโดยการตรวจในห้องชันสูตร, การตรวจทางห้องปฏิบัติการ, การวินิจฉัยโรคทางห้องปฏิบัติการ, การวินิจฉัยฝ่ายห้องทดลอง [การแพทย์] |
Diagnosis, Morphological | การวินิจฉัยโดยอาศัยลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางรูปร่าง [การแพทย์] |
Diagnosis, Pathologic | การวินิจฉัยทางพยาธิวิทยา [การแพทย์] |
Diagnosis, Preliminary | การวินิจฉัยโรคชั่วคราว [การแพทย์] |
Diagnosis, Presumptive | การตรวจพบเชิงแนะ, การวินิจฉัยโรคขั้นต้น, การสันนิษฐาน [การแพทย์] |
Diagnosis, Provisional Clinical | การวินิจฉัยขั้นแรกของแพทย์ [การแพทย์] |
Diagnosis, Routine | การวินิจฉัยที่ปฏิบัติกันเป็นประจำ [การแพทย์] |
Diagnosis, Symptom | การวินิจฉัยจากอาการแสดงทางคลินิก [การแพทย์] |
Diagnosis, Tentative | การวินิจฉัยเบื้องต้น [การแพทย์] |
Diagnosis, Therapeutic | การวินิจฉัยด้วยการรักษา, การทดลองรักษาเพื่อการวินิจฉัย [การแพทย์] |
Diagnostic Tests, Rapid | การวินิจฉัยชนิดรวดเร็ว [การแพทย์] |
assertion | (อะเซิร์ท'เชิน) n. การกล่าวยืนยัน, การอ้าง, การถือสิทธิ์, การวินิจฉัย, การพิทักษ์, การรักษา, ข้อเสนอ, ข้อวินิจฉัย, Syn. statement |
diagnosis | (ไดแอกโน'ซิส) n. การวินิจฉัย, การตรวจโรค, |
diagnostic | (ไดแอกนอส'ทิค) adj. เกี่ยวกับการวินิจฉัย |
diagnostic program | ชุดคำสั่งวินิจฉัยหมายถึง โปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ใช้ในการวินิจฉัยข้อบกพร่องของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือส่วนประกอบใด ๆ ของเครื่อง หรือวินิจฉัยข้อผิดพลาดของการลงรหัส |
discrimination | (ดิสคริมมะเน'เชิน) n. การแยกแยะ, การแบ่งแยก, การเลือกที่รักมักที่ชัง, การวินิจฉัย., Syn. perception, bias, Ant. equity, impartiality |
estimation | (เอสทิเม'เชิน) n. การประมาณ, การประเมิน, การวินิจฉัย, ความคิดเห็น, ความนับถือ, ความเคารพ, Syn. estimate |
exploration | (เอคซฺพละเร'เชิน) n. การสำรวจค้น, การสำรวจ, การตรวจ, การวินิจฉัย, สอบสวน |
profile | (โพร'ไฟล์) n. รูปภายนอก, รูปโครงร่าง, รูปเส้นรอบนอก, รูปหน้าเสี้ยว, รูปด้านข้าง, โครงร่าง, ภาพเงา, การวินิจฉัยขบวนการ, ประวัติบุคคลโดยย่อ vt. วาดรูปดังกล่าว, บรร-ยายประวัติบุคคลโดยย่อ, วาดโครงร่าง, วาดภาพเงา., See also: profilist n. คำที่มีความหมายเหมือน |
research | (รีเซิร์ชฺ', รี'เซิร์ชฺ) n. การวิจัย, การค้นคว้า, การวินิจฉัย, การสืบเสาะ, การสำรวจ vi., vt. วิจัย, ค้นคว้า, See also: researchable adj. researcher n. researchist n., Syn. scrutiny, study, inquire, investigation |
ruling | (รู'ลิง) n. การวินิจฉัย, การชี้ขาด, การลากเส้นด้วยไม้บรรทัด adj. ปกครอง, ครอบงำ, ควบคุม, แพร่หลาย, มีอยู่ทั่วไป, Syn. decision, governing |