ข้อเขียน | น. เรียกการสอบแบบเขียนคำตอบ ว่า สอบข้อเขียน, มักใช้คู่กับ สอบสัมภาษณ์. |
ข้อสอบ | น. ปัญหาที่ตั้งขึ้นในการสอบความรู้. |
คะแนน | น. เครื่องหมายในการนับ, หน่วยที่ใช้กำหนดค่าในการสอบหรือแข่งขันเป็นต้น. |
จิตวิสัย | เรียกการสอบแบบที่ให้ผู้ตอบแสดงความคิดเห็น ว่า การสอบแบบจิตวิสัย, อัตนัย ก็ว่า. |
ดูหนังสือ | ก. อ่านเพื่อทบทวนสำหรับการสอบ. |
ทุจริต | (ทุดจะหฺริด) ก. โกง เช่น ทุจริตในการสอบ, คดโกง, ฉ้อโกง, เช่น ทุจริตต่อหน้าที่. |
ใบไต่สวน | น. หนังสือแสดงการสอบสวนเพื่อออกโฉนดที่ดิน. |
ปรนัย | (ปะระ-, ปอระ-) ว. เรียกการสอบแบบที่ผู้สอบมักไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็นส่วนตัว เป็นคำถามที่ต้องการคำตอบตายตัว ว่า การสอบแบบปรนัย, คู่กับ อัตนัย, วัตถุวิสัย ก็ว่า. |
ประเมินผล | วัดคุณค่าหรือผลความก้าวหน้าการศึกษา เช่น การสอบไล่เป็นวิธีประเมินผลการศึกษาวิธีหนึ่ง. |
ปล่อยชั่วคราว | ก. ปล่อยผู้ต้องหาหรือจำเลยจากการควบคุมหรือขังชั่วระยะเวลาหนึ่งในระหว่างการสอบสวนหรือระหว่างการพิจารณาของศาล โดยไม่มีประกัน มีประกัน หรือมีประกันและหลักประกัน. |
ปิดสำนวน | ก. ยุติการสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดี. |
พนักงานสอบสวน | น. เจ้าพนักงานซึ่งกฎหมายให้มีอำนาจและหน้าที่ทำการสอบสวน. |
แม่กองธรรมสนามหลวง | น. พระเถระผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการสอบไล่พระปริยัติธรรม แผนกนักธรรมและธรรมศึกษาของคณะสงฆ์. |
แม่กองบาลีสนามหลวง | น. พระเถระผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการสอบไล่พระปริยัติธรรม แผนกบาลีของคณะสงฆ์. |
ลูกผีลูกคน | ว. หวังเป็นที่แน่นอนยังไม่ได้, มักใช้ในกรณีสำคัญ ๆ เช่น เด็กที่เกิดใหม่จะรอดหรือไม่ ยังเป็นลูกผีลูกคนอยู่ การสอบไล่ครั้งนี้ ยังเป็นลูกผีลูกคนอยู่. |
วัตถุวิสัย | เรียกการสอบแบบที่ผู้สอบมักไม่มีโอกาสแสดงความคิดเห็นส่วนตัว เป็นคำถามที่ต้องการคำตอบตายตัว ว่า การสอบแบบวัตถุวิสัย, ปรนัย ก็ว่า. |
วิมังสา | น. การสอบสวน, ความไตร่ตรอง, ความพิจารณา. |
สัมภาษณ์ | การสอบท่วงทีวาจาและไหวพริบ พิจารณาดูชั้นเชิงและความสามารถของผู้เข้าสอบ ว่าจะเป็นผู้เหมาะสมตามที่ต้องการหรือไม่ เรียกว่า สอบสัมภาษณ์. |
หงายท้อง, หงายหลัง | ก. ผิดไปจากที่คาดหวังไว้อย่างมาก เช่น มั่นใจว่าจะต้องสอบได้แน่ แต่พอไปดูประกาศผลการสอบ ไม่พบชื่อตัวเอง ก็หงายท้องกลับมา. |
หนักใจ | ก. วิตก เช่น เขาหนักใจในการสอบครั้งนี้, หนักอก ก็ว่า. |
อัตนัย | ว. ที่เปิดโอกาสให้แสดงความรู้หรือความคิดเห็นส่วนตัวได้, เรียกการสอบแบบที่ให้ผู้ตอบแสดงความคิดเห็น ว่า การสอบแบบอัตนัย, คู่กับ ปรนัย, จิตวิสัย ก็ว่า. |
pharmaceutical assaying | การสอบฤทธิ์ยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
preaudit | การสอบบัญชีก่อนจ่าย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
practical examination | การสอบภาคปฏิบัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
postal inquiry | การสอบถามทางไปรษณีย์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
postaudit | การสอบบัญชีหลังจ่าย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
probe | การสอบหาข้อเท็จจริง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
system, competitive | ๑. ระบบการแข่งขันโดยเสรี๒. ระบบการสอบแข่งขันทั่วไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
selective examination | การสอบคัดเลือก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sweating | ๑. การใช้แรงงานอย่างทารุณ๒. การสอบสวนอย่างทารุณ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sweating | ๑. การสอบสวนอย่างทารุณ๒. การใช้แรงงานอย่างทารุณ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
oral examination | การสอบปากเปล่า [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
assay | การสอบปริมาณ, การสอบศักยภาพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
assay | การสอบเนื้อแร่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
auditing | การสอบบัญชี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
auditing, internal | การสอบบัญชีภายใน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
questioning of suspects | การสอบสวนผู้ต้องหา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
qualifying examination | การสอบคุณสมบัติ (ในระดับบัณฑิตศึกษา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
bioassay | การสอบปริมาณโดยชีววิธี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
competitive examination | การสอบแข่งขัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
competitive system | ๑. ระบบการแข่งขันโดยเสรี๒. ระบบการสอบแข่งขันทั่วไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
close the inquiry | ปิดสำนวนการสอบสวน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
diligent inquiry | การสอบสวนอย่างหนักหน่วง (เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงอย่างสมบูรณ์) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
field inquiry | การสอบถามภาคสนาม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
fire assay | การสอบวิเคราะห์โดยการหลอม [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
examination, competitive | การสอบแข่งขัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
examination, oral | การสอบปากเปล่า [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
examination, practical | การสอบภาคปฏิบัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
examination, qualifying | การสอบคุณสมบัติ (ในระดับบัณฑิตศึกษา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
examination, selective | การสอบคัดเลือก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
examination | ๑. การสอบ๒. การไต่สวน, การตรวจสอบ๓. การชันสูตร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
enquiry | การสอบถาม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
enquiry | การสอบสวน [ ดู inquiry ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
inquiry | การสอบถาม, การสอบสวน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
inquiry | การสอบสวน [ ดู enquiry ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
internal auditing | การสอบบัญชีภายใน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
voluntary inquiry | การสอบถามแบบให้ตอบโดยสมัครใจ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
narcoanalysis | การสอบสวนโดยทำให้ง่วงซึม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Auditing | การสอบบัญชี [เศรษฐศาสตร์] |
Auditing | การสอบบัญชี [TU Subject Heading] |
Bar examinations | การสอบเนติบัณฑิต [TU Subject Heading] |
College entrance achivement tests | แบบทดสอบการสอบเข้ามหาวิทยาลัย [TU Subject Heading] |
Entrance examination | การสอบเข้า [TU Subject Heading] |
Examinations | การสอบ [TU Subject Heading] |
Interviewing in child abuse | การสอบปากคำคดีการทารุณกรรมเด็ก [TU Subject Heading] |
Interviewing in law enforcement | การสอบปากคำในการบังคับใช้กฎหมาย [TU Subject Heading] |
Law examinations | การสอบทางกฎหมาย [TU Subject Heading] |
Multiple-choice examinations | การสอบแบบสอบปรนัย [TU Subject Heading] |
Police questioning | การสอบสวนของตำรวจ [TU Subject Heading] |
Tax auditing | การสอบบัญชีภาษีอากร [TU Subject Heading] |
Telephone answering services | บริการสอบถามข้อมูลทางโทรศัพท์ [TU Subject Heading] |
Bioassay | การสอบวิเคราะห์โดยชีววิธี, Example: การใช้สิ่งมีชีวิตเพื่อวัดผลหรือสภาวะ [สิ่งแวดล้อม] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] |
International Labor Organization | คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] |
The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] |
Audit evidence | หลักฐานจากการสอบบัญชี [การบัญชี] |
Cross check | การสอบยันความถูกต้อง [การบัญชี] |
External audit | การสอบบัญชีโดยผู้ตรวจสอบภายนอก [การบัญชี] |
Cases, Short | การสอบแบบรายสั้น [การแพทย์] |
Certification | ประกาศนียบัตร, การสอบเพื่อตัดสินผล [การแพทย์] |
Clinical Examination, Objective Structure | การสอบคลินิคแบบปรนัย [การแพทย์] |
Comprehensive Examination | การสอบประมวลความรู้ [การแพทย์] |
Epidemiological Investigations | การสอบสวนวิชาการเกี่ยวกับการระบาดของโรค [การแพทย์] |
calibration | calibration, การสอบเทียบ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
Long Case | การสอบแบบรายยาว [การแพทย์] |
ดำเนินการสอบสวน | [damnoēnkān søpsūan] (v, exp) EN: interrogate ; examine |
การสอบ | [kān søp] (n) EN: examination FR: examen [ m ] ; épreuve [ f ] ; concours [ m ] ; test [ m ] |
การสอบใบขับขี่ | [kān søp bai khapkhī] (n, exp) EN: driving test |
การสอบเอ็นทรานซ์ | [kān søp enthrān] (n, exp) EN: entrance examination ; admission FR: épreuve d'admission [ f ] |
การสอบแข่งขัน | [kān søp khaengkhan] (n, exp) EN: competitive examination FR: concours [ m ] |
การสอบเข้า | [kān søp khao] (n, exp) EN: entrance FR: examen d'entrée [ m ] ; épreuve d'admission [ f ] |
การสอบไล่ | [kān søplai] (n) FR: examen [ m ] |
การสอบปากคำ | [kān søppākkham] (n) EN: interrogation |
การสอบปากคำพยาน | [kān søppākkham phayān] (n, exp) EN: examination of witnesses |
การสอบปากเปล่า | [kān søp pākplāo] (n, exp) EN: oral examination FR: épreuve orale [ f ] |
การสอบสวน | [kān søpsūan] (n) FR: enquête [ f ] ; investigation [ f ] |
การสอบสวนทางวินัย | [kān søpsūan thāng winai] (n, exp) FR: enquête disciplinaire [ f ] |
การสอบถามข้อมูล | [kān søpthām khømūn] (n, exp) EN: query FR: requête [ f ] |
การสอบย่อย | [kān søp yøi] (n, exp) EN: test FR: test [ m ] |
คณะกรรมการสอบสวน | [khanakammakān søpsūan] (n, exp) EN: committee of enquiry FR: commission d'enquête [ f ] |
flunk out | (phrv) สอบตก (คำไม่เป็นทางการ), See also: ล้มเหลวในการสอบ |
enquiry | (n) การสอบถาม, See also: การขอข้อมูล, Syn. query, request |
exam | (n) การสอบ, See also: การทดสอบ, Syn. examination, test |
examination | (n) การสอบ, See also: การทดสอบ, Syn. exam, test |
finals | (n) การสอบปลายเทอม, See also: การสอบปลายภาค, Syn. last exams |
flunk | (vt) ให้คะแนนการสอบต่ำ, See also: กดคะแนน |
flunk | (n) การสอบตก, See also: การทำคะแนนไม่ผ่าน, Syn. failure |
grader | (n) ผู้ให้คะแนนในการสอบ |
inquest | (n) การสอบสวนคดี, See also: การพิจารณาคดี, ผู้สอบสวนคดี, Syn. inquiry, investigation |
inquisition | (n) การสอบสวนหาความผิด, See also: การสืบสวน, การพิจารณาคดี, Syn. investigation, official inquiry, trial |
inquisitor | (n) ผู้ทำการสอบสวน, See also: สมาชิกของศาลพระสเปนสมัยก่อนที่มีชื่อเกี่ยวกับการทารุณ, Syn. analyst, examiner |
investigation | (n) การสืบสวน, See also: การไต่สวน, การสอบสวน, Syn. examination, inquiry, probe |
nurse through | (phrv) ช่วยทำให้ได้, See also: ช่วยทำให้สำเร็จ, ช่วยติวจนผ่าน การสอบ |
O level | (n) การสอบในระดับต่ำกว่า A level (ใน England และ Wales) |
oral | (n) การสอบปากเปล่า, Syn. spoken exam |
pass | (n) การสอบผ่าน |
proctor | (n) ผู้ควบคุมการสอบ |
proctor | (vi) ควบคุมการสอบ |
proctor | (vt) ควบคุมการสอบ |
push through | (phrv) ช่วยให้ผ่าน (การสอบ, ขั้นตอน ฯลฯ) |
query | (n) การสอบถาม |
quiz | (n) การสอบ, Syn. test, exam |
quizzicality | (n) การสอบถาม, See also: ความสงสัย |
prelims | (sl) การสอบขั้นต้น |
shove through | (phrv) ช่วยให้ผ่าน (การสอบ, ขั้นตอน ฯลฯ), Syn. push through |
witch-hunt | (n) การสอบสวนและเปิดเผยแผนการกบฏ หรือศัตรูทางการเมือง, See also: มักเป็นการอาศัยหลักฐานที่คลุมเครือ หรือแค่ความสงสัยเท่านั้น |
ccp | (ซีซีพี) ย่อมาจาก Certificate in Computer Programming หมายถึงประกาศนียบัตรที่ให้แก่ผู้ที่สอบผ่านความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม การสอบนี้จะทำปีละ 1 ครั้งในประเทศใหญ่ ๆ เช่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา ฯ |
examination | (อิกแซมมะเน'เชิน) n. การสอบ, การทดสอบ, การตรวจสอบ, Syn. inspection |
failure | (เฟ'เลียร์) n. ความล้มเหลว, การสอบตก, การได้ต่ำกว่าที่กำหนด, การขาดแคลน, ความเสื่อมถอย, ภาวะล้มละลาย, ผู้ที่ล้มเหลว, สิ่งที่ล้มเหลว |
inquest | (อิน'เควสทฺ) n. การสอบสวนคดี, การพิจารณาคดี' (โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการชันสูตรศพ) คณะผู้สอบสวน, Syn. legal, inquiry |
inquiry | หมายถึง การสอบถามหาข้อมูลผ่านทางเครื่องปลายทาง (terminal) เพื่อให้คอมพิวเตอร์ไปค้นหาข้อมูลที่ต้องการให้ โดยปกติข้อมูลเหล่านี้ จะต้องเก็บ ๆ ไว้ในจานบันทึก เพื่อให้ค้นหาได้รวดเร็ว เมื่อหาพบแล้ว ก็จะแสดงผลให้ดูบนจอภาพ ตัวอย่างง่าย ๆ ที่จะอธิบายในเรื่องนี้ ก็คือเครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) |
inquisition | (อินควิซิช'เชิน) n. การสอบสวนอย่างขู่เข็ญ, การสืบสวน, การวินิฉัย, คณะผู้ทำการสอบสวน, ศาลพระสเปนสมัยก่อนที่มีชื่อเกี่ยวกับการทารุณ, Syn. investigation |
inquisitor | (อินควิซ'ซิเทอะ) n. ผู้ทำการสอบสวน, เจ้าหน้าที่ผู้ทำการสอบสวน, ผู้ชอบถาม, สมาชิกของศาลพระสเปญสมัยก่อนที่มีชื่อเกี่ยวกับการทารุณ, See also: inquisitorial adj., Syn. inquisitionist |
interrogation | (อินเทอระเก'เชิน) n. การสอบถาม, การซักถาม, การซักไซ้, เครื่องหมายคำถาม., Syn. inquiry |
investigation | (อินเวสทิเก'เชิน) n. การสำรวจ, การสืบสวน, การไตร่สวน, การสอบสวน |
make-up | (เมค'คัพ) n. เครื่องสำอางเสริมสวย, เครื่องสำอางแต่งหน้า, การสอบซ่อม, ลักษณะ, อุปนิสัย, Syn. makeup |
midyear | (มิด'เยียร์) n., adj. ช่วงกลางปี, ช่วงกลางปีการศึกษา, See also: midyears n., adj. การสอบกลางปี |
oral | (ออ'เริล) adj. ด้วยปาก, เกี่ยวกับคำพูด n. การสอบปากเปล่า, Syn. verbal |
pass | (พาส) v. ผ่าน, แซง, ยติ, นำส่ง, n. ถนน, หนทาง, สิทธิผ่าน, การสอบผ่าน, บัตรผ่าน การส่งลูก, ท่าส่งลูก, การบินผ่าน, การเปลี่ยน, การล่วงของเวลา |
preliminary | (พริลิม'มะนะรี) adj. เบื้องต้น, ขั้นต้น, ขั้นเตรียมการ, ตอนต้น, อุ่นเครื่อง, เริ่มต้น, คำนำ n. สิ่งที่เป็นเบื้องต้น, การชกอุ่นเครื่อง, การแข่งขันอุ่นเครื่อง, การสอบเบื้องต้น, ขั้นเบื้องต้น, คำนำ, See also: preliminarily adv. |
query | (ควี'อะรี) n. คำถาม, การสอบถาม, เครื่องหมายคำถาม, ความสงสัย vt. ถาม, สอบถาม, ตั้งคำถาม., See also: queryingly adv., Syn. inquiry, probe |
question | (เควส'เชิน) n. คำถาม, ประโยคคำถาม, ปัญหา, การถาม, การสอบถาม, กระทู้, เรื่องที่อภิปราย -v. ถาม, สอบถาม, See also: questioner n. questionable adj. questionably adv. -Phr. beyond all question ไม่ต้องสงสัย -Phr. out of the question เป็นไปไม่ได้ |
search | (เซิร์ชฺ) vt., vi. ค้น, หา, ตรวจสอบ, สอดส่อง, สอบถาม, สืบหา, สืบสวน, พินิจพิเคราะห์ -Phr. (search me คำอุทานแสดงการปฎิเสธ) n. การค้น, การหา, การตรวจสอบ, การสืบสวน, การสอบสวน., See also: searchable adj. searchness, Syn. probe |
trial | (ไทร'เอิล) n. การทดลอง, การสอบสวน, การซ้อม, การทรมาน, ความเจ็บปวด, ความยากลำบาก, บุคคลที่ลำบากลำบน, เรื่องที่ยากลำบาก adj. เกี่ยวกับการทดสอบ, เป็นตัวอย่าง, Syn. experiment, tryout, ordeal, test |
unheard | (อันเฮิร์ด') adj. ไม่ได้ยิน, ไม่มีการสอบสวน, ไม่ได้ฟังกันก่อน |
viva voce | (ไว'วะ โว'ซี) โดยวาจา, การสอบสัมภาษณ์ (โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัยอังกฤษ), See also: viva voce adj., Syn. orally |
enquiry | (n) การไต่ถาม, การสอบถาม, การสอบสวน, การสืบสวน, คำถาม |
examination | (n) การตรวจสอบ, การทดสอบ, ข้อสอบ, การสอบสวน |
exploration | (n) การสำรวจ, การตรวจค้น, การสอบสวน, การวินิจฉัย |
failure | (n) ความล้มเหลว, การล้มละลาย, การสอบตก |
inquest | (n) การไต่สวน, การพิจารณาคดี, การสอบสวนคดี, การชันสูตรศพ |
inquiry | (n) การถาม, การสืบสวน, การสอบสวน, การไต่สวน |
inquisition | (n) การไต่สวน, การสอบสวน, การสืบสวน |
interrogation | (n) การถาม, การสอบถาม, คำถาม |
investigation | (n) การสืบสวน, การสอบสวน, การไต่สวน, การสำรวจ |
pass | (n) บัตรผ่าน, บัตรอนุญาต, การโบกมือ, ทางผ่าน, การสอบผ่าน |
query | (n) เครื่องหมายคำถาม, คำถาม, การสอบถาม, การตั้งกระทู้ถาม |
question | (n) ปัญหา, คำถาม, เรื่อง, ข้อสงสัย, กระทู้, การสอบถาม |
questionnaire | (n) แบบสอบถาม, กระทู้ถาม, การสอบถาม, คำถาม |
quiz | (n) การถาม, การทดสอบความรู้, การตั้งปัญหา, การสอบถาม |
test | (n) การทดลอง, การสำรวจ, การสอบ, การพิสูจน์ |
trial | (n) การทดลอง, การพิสูจน์, การพิจารณา, การสอบสวน, ความทรมาน |
Verhandlung | (n) |die, pl. Verhandlungen| การสอบสวน, การไต่สวน |
bereit | (adj) เตรียมพร้อม, พร้อม เช่น Ich bin bereit für die Prüfung. ฉันพร้อมสำหรับการสอบแล้ว |
Viel Glück! | (phrase) เป็นคำอวยพร แปลว่า โชคดี เช่น Viel Glück bei der Prüfung! ขอให้โชคดีในการสอบ |
Prüfungsamt | (n) |das| ฝ่ายวิชาการในมหาวิทยาลัย ซึ่งรับผิดชอบเรื่องที่เกี่ยวกับการสอบโดยตรง |
Prüfungsabmeldung | (n) |die| การลงทะเบียนยกเลิกการสอบที่ได้ลงเอาไว้แล้ว |
mündlich | (adj, adv) (การสอบ)ทางปาก, ที่เกี่ยวกับปาก, ที่เกี่ยวกับการสัมภาษณ์, See also: A. schriftlich |
schriftlich | (adj, adv) ที่เกี่ยวกับการเขียน, (การสอบ)โดยการเขียนตอบ, See also: A. mündlich |
Prüfung | (n) |die, pl. Prüfungen| การสอบซึ่งอาจเป็นได้ทั้งข้อเขียนและปากเปล่า (ต่างจาก Klausur ตรงที่ Klausur หมายถึงการสอบข้อเขียนเท่านั้น) |
durchführen | (vt) |führt durch, führte durch, hat durchgeführt, etw.(A)| ดำเนินการทำให้สมบูรณ์, ทำให้สำเร็จ เช่น Das Promotionsverfahren soll bei der Fakultät Chemie durchgeführt werden. ขบวนการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกถูกดำเนินการที่คณะเคมี |
Abschlussprüfung | (n) |die, pl. Abschlussprüfungen| สอบไล่, สอบจบ, การสอบจบการศึกษา, |
beaufsichtigen | (vt) |beaufsichtigte, hat beabsichtigt, etw.(A)| คุม(สอบ), คอยดูความเรียบร้อยในการสอบ เช่น eine Prüfung beabsichtigen คุมสอบ |
Ermittlung | [แอ-มิท-หลุ่ง] (n) |die, pl. Ermittlungen| การหาค่า การสอบหา การสืบสวน การสอบสวน |