พรต | มรรยาท, เขตแห่งความประพฤติ, ธรรมเนียม, ประเพณี, การสมาทานหรือประพฤติตามลัทธิศาสนา, การจำศีล (เช่น การเว้นบริโภค เว้นเมถุนธรรม) |
อหิงสา, อหึงสา | (อะ-) น. ความไม่เบียดเบียน, การเว้นจากการทำร้าย. |
อารดี, อารติ | (อาระดี, -ติ) น. การเว้น, การเลิก, การหยุด, อารัติ ก็ว่า. |
อารัติ | (-รัด) น. การเว้น, การเลิก, การหยุด, อารดี หรือ อารติ ก็ว่า. |
abstention | การงด, การเว้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
birth spacing | การเว้นช่วงการมีบุตร [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
Convention for the Avoidance of Double Taxation with Respect to Taxes on Income | อนุสัญญาเพื่อการเว้นการเก็บภาษีซ้อนในส่วนที่เกี่ยวกับภาษีเก็บจากเงินได้ [การทูต] |
การเว้นวรรค | [kān wēnwak] (n) FR: espace [ m ] ; espacement [ m ] |
quitrent | (n) ค่าเช่า, See also: ปลดปล่อย, การเว้นภาษีที่ชำระเป็นค่าแรงงาน |
quit-rent | (n) ค่าเช่า, See also: ปลดปล่อย, การเว้นภาษีที่ชำระเป็นค่าแรงงาน |
spacing | (n) การเว้นวรรค |
ellipsis | (อิลิพ'ซิส) n., (pl. ellipses) การตัดคำทิ้งจากประโยค, วิธีการเว้นคำหรือถ้อยคำไว้เข้าใจเอง, เครื่องหมายเว้นคำ " ", "....." |
spacebar | คานเคาะเป็นแป้นยาว ๆ ด้านล่างของแผงแป้นอักขระ (keyboard) การกดแป้นนี้แต่ละครั้ง จะทำให้เกิดช่องว่าง 1 ช่อง ใช้เมื่อต้องการเว้นวรรค หรือแยกตัวอักษรออกจากกัน |
spacing | (สเพสฺ'ซิง) n. การเว้นวรรค, การเว้นช่อง, สิ่งที่เว้นวรรค, สิ่งที่เว้นช่อง, การจัดให้มีช่อง, การปรับวรรคตอน, การปรับระยะ |
abstention | (n) การเว้น, การสละสิทธิ์, การละเว้น |
abstinence | (n) การเว้น, การละเว้น |
cessation | (n) การสิ้นสุด, การหยุด, การยุติ, การเลิก, การเว้น |
omission | (n) การเว้น, การละเลย, การละเว้น, การคัดออก |
punctuation | (n) การเว้นวรรค, การคั่น, การสลับ |
pragmatic | ข้อตกลงในการใช้ภาษา เช่นการเว้นช่องไฟระหว่างคำ และควรพูดนานแค่ไหน แล้วจึงเปลี่ยนให้ฝ่ายตรงข้ามพูดบ้าง |
分かち書き | [わかちがき, wakachigaki] การเขียนโดยมีการเว้นวรรคเพื่อให้ผู้อ่านตัดคำได้ถูกต้อง ลดความกำกวม. ตัวอย่าง ตากลม: (1) ตา กลม, (2) ตาก ลม |