กิตติ | (n) rumour, See also: fame, renown, report, Syn. คำเล่าลือ, คำกล่าวขวัญ, คำเลื่องลือ, Notes: (บาลี) |
กิตติ | (n) praise, See also: laudation, exaltation, Syn. คำสรรเสริญ, คำเยินยอ, คำชมเชย, คำยกยอ, Ant. คำตำหนิ, คำด่าว่า, คำสาปแช่ง, Notes: (บาลี) |
กิตติคุณ | (n) prestige, See also: fame, renown, report, Syn. ชื่อเสียง, เกียรติยศ, คำเล่าลือ, คำกล่าวขวัญ, คำเลื่องลือ, Example: ทางสมาคมประกาศกิตติคุณของเขาให้เป็นที่ประจักษ์แก่คนทั่วไป, Thai Definition: คุณที่เลื่องลือ |
กิตติศัพท์ | (n) fame, See also: prestige, rumour, renown, report, Syn. ชื่อเสียง, เกียรติคุณ, เสียงสรรเสริญ, เสียงเล่าลือ, เสียงยกย่อง, Example: กิตติศัพท์ความสำเร็จของโครงการสิ่งแวดล้อมของไทยรู้กันไปทั่วโลก |
กิตติมศักดิ์ | (adj) honorary, See also: glorious, honorable, Example: ในปีนี้ทางมหาวิทยาลัยมอบปริญญาดุษฎีกิตติมศักดิ์แก่นายชวน หลีกภัย, Thai Definition: ยกย่องเพื่อเป็นเกียรติยศ |
กิตติกรรมประกาศ | (n) acknowledgement, See also: repute, recognized virtues, Example: เขาเขียนกิตติกรรมประกาศในวิทยานิพนธ์เป็นอย่างดี, Thai Definition: ข้อความที่กล่าวถึงผลงานและแสดงความขอบคุณบุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือที่ให้ความช่วยเหลือต่างๆ มักเขียนไว้ตอนต้นของวิทยานิพนธ์ |
ปริญญากิตติมศักดิ์ | (n) honorary degree, Example: ปีนี้ทางมหาวิทยาลัยได้มอบปริญญากิตติมศักดิ์แก่ศิษย์เก่าที่ทำประโยชน์ให้แก่บ้านเมือง, Thai Definition: ปริญญาที่ประสาทแก่ผู้ทรงวิทยาคุณ หรือผู้มีเกียรติตามที่เห็นสมควร |
กิตติ | (กิดติ) น. คำเล่าลือ, คำสรรเสริญ. |
กิตติกรรมประกาศ | น. ข้อความที่กล่าวถึงผลงานและแสดงความขอบคุณบุคคลที่เกี่ยวข้อง หรือที่ให้ความช่วยเหลือต่าง ๆ มักเขียนไว้ตอนต้นของวิทยานิพนธ์. |
กิตติคุณ | น. คุณที่เลื่องลือ. |
กิตติมศักดิ์ | (-ติมะ-) ว. ยกย่องเพื่อเป็นเกียรติยศ เช่น ปริญญากิตติมศักดิ์ สมาชิกกิตติมศักดิ์. |
กิตติศัพท์ | น. เสียงเล่าลือ, เสียงสรรเสริญ, เสียงยกย่อง. |
กิตติมศักดิ์ | ดู กิตติ. |
กรมการนอกทำเนียบ | น. กรมการเมืองพวกหนึ่ง เป็นตำแหน่งกิตติมศักดิ์ ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาแก่ผู้ว่าราชการเมืองในการบริหารราชการในเมืองนั้น ๆ แต่งตั้งจากบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิหรือคหบดีในเมืองนั้น ๆ โดยไม่จำกัดจำนวน และถือว่าเป็นกรมการชั้นผู้ใหญ่, กรมการพิเศษ ก็ว่า. |
กรมการพิเศษ | น. กรมการเมืองพวกหนึ่ง เป็นตำแหน่งกิตติมศักดิ์ ทำหน้าที่ให้คำปรึกษาแก่ผู้ว่าราชการเมืองในการบริหารราชการในเมืองนั้น ๆ แต่งตั้งจากบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิหรือคหบดีในเมืองนั้น ๆ โดยไม่จำกัดจำนวน และถือว่าเป็นกรมการชั้นผู้ใหญ่, กรมการนอกทำเนียบ ก็ว่า. |
กระจายนะมณฑล | น. ชื่อกลบท วรรคต้นใช้อักษรสูงนำหน้า วรรคที่ ๒ ใช้อักษรกลาง วรรคที่ ๓ ใช้อักษรตํ่า ตัวอย่างว่า สมเด็จพระศิริวิบุลกิตติ์ กำจัดจากโศกวิโยคหา ค่อยตรึกตรองฉลองคุณพระชนมา (ชุมนุมตำรากลอน). |
ดุริยางค์จำเรียง | น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง กำหนดให้วรรคหนึ่งมี ๙ คำ ในแต่ละวรรคให้มีคำซ้ำ ๓ คู่ ในแต่ละคู่มีคำอื่นมาคั่นตำแหน่งละ ๑ คำ เช่น หวั่นหวั่นจิตรคิดคิดไปใจใจหวล อ่อนอ่อนท้อรอรอรวนนวลนวลสมร ท้าวท้าวแนบแอบแอบน้องย่องย่องจร เหนื่อยเหนื่อยนอนขอนขอนไม้ใต้ใต้ไทร (กลบลศิริวิบุลกิตติ์). |
ตรียมก | (ตฺรียะมก) น. ชื่อกลอนกลบทชนิดหนึ่ง กำหนดบังคับวรรคละ ๙ คำ วรรคหนึ่งแบ่งออกเป็น ๓ ช่วง ให้ใช้พยัญชนะที่มีเสียงพ้องกัน ๒ เสียงในแต่ละช่วง เช่น สิ้นอาสัญในอาศรมที่อาศรัย อนาถใจอนาโถโอ้อางขนาง พระองค์เดียวพระอับเปลี่ยวพระองค์นาง ม้วยชีพวางสิ้นชีวาตม์ขาดชีวัง (ศิริวิบุลกิตติ). |
ถาวรธิรา | น. ชื่อกลบทอย่างหนึ่ง บังคับให้มีคำที่ใช้ไม้ม้วนทุกวรรค ไม่ให้มีคำที่ใช้ไม้มลาย เช่น จักกล่าวถึงมเหษีที่อยู่ใน อรัญใหญ่องค์เดียวอนาถา อนาถใจถึงองค์พระภัศดา ให้โศกาถึงบุตรสุดอาวรณ์ (ศิริวิบุลกิตติ์). |
นกกางปีก | น. กลอักษรแบบหนึ่ง บังคับคำซ้ำ ๑ คู่ โดยมีคำอื่นคั่นกลาง ๑ คำ ทุกวรรค มีลักษณะเหมือนนกกางปีกบิน เวลาอ่านให้อ่านคำซ้ำที่ละไว้นั้นด้วยจึงจะได้ความครบถ้วน เช่น สองกระษัตริย์ศัลย์ให้รันทด แสนกำสดสุดคิดพิไสมย ต่างองค์ทรงโศกาไลย พระภูวไนยนารถให้หวาดทรวง (ศิริวิบุลกิตติ์) อ่านว่า สองกระษัตริย์กระศัลย์ให้รันทด แสนกำสดสุดคิดสุดพิไสมย ต่างองค์ต่างทรงโศกาไลย พระภูวไนยภูวนารถให้หวาดทรวง. |
นาคเกี้ยวกระหวัด, นาคบริพันธ์ ๑ | (นากบอริพัน) น. ชื่อกลอนกลบทแบบหนึ่ง กำหนดให้ ๒ คำต้นของวรรคต่อไปซ้ำกับ ๒ คำสุดท้ายของวรรคหน้า โดยให้สลับคำกัน เช่น พระปิตุรงค์ฟังบุตรเห็นสุดห้าม ห้ามสุดความคิดบุตรเห็นสุดหาญ หาญสุดไม่หยุดยั้งจะรั้งราญ ราญรั้งนานแน่วเนตรสังเวชบุตร (ศิริวิบุลกิตติ์). |
นาคราชแผลงฤทธิ์ ๑ | น. ชื่อกลอนกลบทแบบหนึ่ง กำหนดให้วรรคหนึ่งมี ๘ คำ บังคับซ้ำเสียงพยัญชนะ ๓ คำ คือ คำท้ายวรรค (คำที่ ๖, ๗ และ ๘) กับ ๓ คำต้นวรรคถัดไป (คำที่ ๑, ๒ และ ๓) และซ้ำเสียงสระวรรคละ ๓ คู่ ในคำที่ ๓ กับ ๔ คำที่ ๕ กับ ๗ และคำที่ ๘ กับคำที่ ๑ ในวรรคถัดไป เช่น กรุงกระษัตริย์ตรัสฟังแค้นคั่งจิตร คิดแค้นใจไหวหวิดในจิตรฉงน จนฉงายกายไฉงใจร้อนรน จนร้าวราญการกระมลจิตรวนเวียน (ศิริวิบุลกิตติ์). |
นารายณ์ทรงเครื่อง | น. ชื่อกลอนกลบทแบบหนึ่ง กำหนดบังคับวรรคหนึ่ง ๘ คำ แบ่งเป็น ๔ จังหวะ จังหวะละ ๒ คำ โดยให้ ๒ จังหวะแรกใช้พยัญชนะเสียงซ้ำ ๒ ตัว และ ๒ จังหวะหลังใช้พยัญชนะเสียงอื่นซ้ำกัน ๒ ตัวในลักษณะเดียวกัน เช่น ข้าสาวข้าวศรีทรวดมีทรงมิ่ง นางแอบแนบอิงสุดถวิลแสนถวิล นมตั้งนั่งเต้าคลอเคล้าแคลคลิ้น ฬ่อหลาลาลินเลิศลินลาดลอย (ศิริวิบุลกิตติ์). |
เบญจวรรณห้าสี | น. ชื่อกลอนกลบทแบบหนึ่ง บังคับเสียงพยัญชนะตัวเดียวใน ๕ คำแรกของทุกวรรค เช่น จอมจักรเจ้าแจ้งเจาะฟังเพราะพร้อง จวนจิตรจ่องจนใจสงไสยสนิท (ศิริวิบุลกิตติ์), โบราณเขียนเป็น เบญจวรรณห้าศรี ก็มี. |
ปริญญา | ชั้นความรู้ขั้นมหาวิทยาลัยซึ่งประสาทให้แก่ผู้ที่สอบไล่ได้ตามที่กำหนดไว้, ถ้าประสาทแก่ผู้ทรงวิทยาคุณหรือผู้มีเกียรติตามที่เห็นสมควร เรียกว่า ปริญญากิตติมศักดิ์. |
ภาษาแบบแผน | น. ภาษาที่ถือเป็นแบบฉบับที่จะต้องใช้เป็นแบบเดียวกันในโอกาสอย่างเดียวกัน เช่น คำกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขึ้นต้นว่า “ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม...” และลงท้ายว่า “ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า...”, ภาษาที่ใช้เป็นทางการในโอกาสสำคัญ หรือใช้แก่บุคคลสำคัญ หรือบุคคลสำคัญเป็นผู้ใช้ เช่น คำประกาศเกียรติคุณในการประสาทปริญญาบัตรกิตติมศักดิ์ คำปราศรัยของนายกรัฐมนตรีในวันขึ้นปีใหม่, ภาษาระดับพิธีการ ก็เรียก. |
ศรุติ | (สะรุติ) น. สิ่งที่ได้ยิน, กิตติศัพท์ |
Acknowledgement | กิตติกรรมประกาศ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Acknowledgement | กิตติกรรมประกาศ, ประกาศคุณูปการ, Example: คำที่ผู้เขียนกล่าวขอบคุณผู้ที่ให้ความช่วยเหลือในการเขียนหนังสือ บางครั้งอาจแห่ง อาจใช้เป็น กิตติกรรมประกาศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
emeritus professor | ศาสตราจารย์กิตติคุณ, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ, ตำแหน่งที่แต่งตั้งจากอาจารย์ประจำ ผู้เคยดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีความรู้ ความสามารถและความชำนาญเป็นพิเศษ และพ้นจากตำแหน่งไปโดยไม่มีความผิด สภามหาวิทยาลัยอาจแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณในสาขาวิชาที่ศาสตราจารย์นั้นมีความเชี่ยวชาญเพื่อเป็นเกียรติยศได้ <p>ศาสตราจารย์ผู้นี้อาจสอนในมหาวิทยาลัยต่อไปก็ได้ แต่ไม่ใช่ศาสตราจารย์ที่ต่ออายุราชการ บางมหาวิทยาลัยจะปรากฏชื่อศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณแยก จากศาสตราจารย์ธรรมดาในคู่มือการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา <p>การเรียกชื่อศาสตาราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณนั้นขึ้นอยู่กับ พระราชบัญญัติของแต่ละมหาวิทยาลัย เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกว่า ศาสตราจารย์กิตติคุณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรียกว่า ศาสตราจารย์เกียรติคุณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Classes of Consuls | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ กงสุลอาชีพ (Consules de Carriere) กับกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consuls) กงสุลอาชีพเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง และจะประจำทำงานเต็มเวลาในที่ทำการทางกงสุล ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์นั้นไม่มีฐานะเป็นกงสุลอาชีพ โดยมากเป็นนักธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งจะประจำทำงานเพียงส่วนหนึ่งของวัน (ไม่ใช่เต็มวัน) ในสถานที่ทำการทางกงสุลของตน และอาจจะเป็นคนชาติของรัฐที่เขาเป็นตัวแทนอยู่ หรือไม่เป็นคนชาติของรัฐนั้นก็ได้ ความแตกต่างอื่นๆ ระหว่างกงสุลอาชีพกับกงสุลกิตติมศักดิ์ มีดังนี้1. กงสุลอาชีพจะได้รับเงินเดือนประจำ แต่กงสุลกิตติมศักดิ์ไม่มีเงินเดือน2. กงสุลอาชีพมีตำแหน่งหน้าที่ถาวร ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์มีตำแหน่งว่าจ้างเพียงชั่วคราว 3. ส่วนมากกงสุลอาชีพจะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์มาก่อน ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์ไม่ต้องเป็นเช่นนั้น4. กงสุลอาชีพมีสิทธิได้รับความคุ้มกัน (immunities) และการยกเว้นต่าง ๆ มากกว่ากงสุลกิตติมศักดิ์สำหรับบุคคลที่เป็นหัวหน้าในที่ทำการทางกงสุลนั้น มีตำแหน่งตามลำดับชั้น คือ1) กงสุลใหญ่ (Consuls-general)2) กงสุล (Consuls)3) รองกงสุล (Vice-consuls) [การทูต] |
Conference of Honorary Consuls-General of Thailand | การประชุมกงสุลกิตติมศักดิ์ไทย [การทูต] |
Consular Office | บุคคลรวมทั้งหัวหน้าของที่ทำการทางกงสุล ซี่งได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานในฐานะกงสุลโดยได้รับ ภาระหน้าที่ทางกงสุล เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลมีอยู่ 2 ประเภทคือ 1. เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลอาชีพ (Career Consular Office)2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consular Office) [การทูต] |
Honorary Consul | กงสุลกิตติมศักดิ์ " ได้แก่ บุคคลในท้องถิ่นผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งและมอบหมายให้ดูแล ส่งเสริมผลประโยชน์ของประเทศและคนชาติในพื้นที่ในเขตอาณา และดำเนินการตรวจลงตราหนังสือเดินทางแก่บุคคลที่จะเดินทางเข้าประเทศที่ กงสุลกิตติมศักดิ์เป็นผู้แทน การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจากประเทศผู้รับ และต้องยื่นสัญญาบัตร และได้รับอนุมัติบัตรเช่นเดียวกับผู้แทนฝ่ายกงสุลอาชีพ (career consular officer) ทั้งนี้ กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์จะได้รับมอบหมายให้ดูแลเขตอาณาที่ครอบคลุมพื้นที่ กว้างกว่าและสำคัญกว่า ในส่วนของไทย กงสุลกิตติมศักดิ์แตกต่างจากกงสุลอาชีพใน 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) กงสุลกิตติมศักดิ์ส่วนใหญ่เป็นชาวต่างประเทศที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม หรือเป็นผู้นำที่มีความสัมพันธ์พิเศษกับไทย (2) กงสุลกิตติมศักดิ์ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งสำนักงาน ได้แก่ สถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์หรือสถานกงสุลกิตติมศักดิ์ทั้งหมด (3) กงสุลกิตติมศักดิ์ได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางกงสุลน้อยกว่ากงสุลอาชีพ ในการปฏิบัติงานของกงสุลกิตติมศักดิ์ของไทยจะมีคู่มือกงสุลกิตติมศักดิ์ เป็นระเบียบกฎเกณฑ์และข้อมูลสำหรับการปฏิบัติงาน " [การทูต] |
fame | (เฟม) n. ชื่อเสียง, กิตติศัพท์, เกียรติยศ, เกียรติคุณ, ศักดิ์ศรี, ข่าวลือ, การเล่าลือ. vt. ทำให้มีชี่อเสียง, เลื่องลือ. |
honorary | (ออน'นะระรี) adj. เป็นเกียรติ, เป็นเกียรติยศ, เกี่ยวกับกิตติมศักดิ์ |
honourary | (ออน'นะระรี) adj. เป็นเกียรติ, เป็นเกียรติยศ, เกี่ยวกับกิตติมศักดิ์ |
renown | (รีเนานฺ') n. ชื่อเสียง, กิตติศัพท์, เกียรติคุณ, Syn. fame, repute, celebrity |
renowned | (รีเนาดฺ') adj. มีชื่อเสียง, มีกิตติ-ศัพท์เลื่องลือ, มีเกียรติคุณ |
reputation | (เรพพิวเท'เชิน) n. ชื่อเสียง, กิตติ-ศัพท์, ความโด่งดัง, ความมีหน้ามีตา, Syn. good name |
repute | (รีพิวทฺ') n. ชื่อเสียง, กิตติศัพท์, ความโด่งดัง vt. มีชื่อว่า, ขนานนามว่า, ถือว่า |
fame | (n) กิตติศัพท์, ชื่อเสียง, เกียรติศักดิ์, ศักดิ์ศรี |
honorary | (adj) กิตติมศักดิ์, ให้เป็นพิเศษ, เป็นเกียรติ |
renown | (n) กิตติศัพท์, ชื่อเสียง, เกียรติคุณ |
renowned | (adj) เป็นที่เลื่องลือ, มีชื่อเสียง, มีกิตติศัพท์ |
report | (n) กิตติศัพท์, รายงาน, ข่าวลือ, บันทึก, ชื่อเสียง, คำประกาศ |
reputation | (n) ชื่อเสียง, ความดัง, กิตติศัพท์, ความมีหน้ามีตา, ความเลื่องลือ |
repute | (n) ชื่อเสียง, ความดัง, กิตติศัพท์, ความมีหน้ามีตา, ความเลื่องลือ |
rumour | (n) ข่าวลือ, ข่าวโคมลอย, กิตติศัพท์, เรื่องโจษจัน |