กรสุทธิ์ | (กะระ-) น. “การชำระมือให้หมดจด”, พิธีอย่างหนึ่งของพราหมณ์ ก่อนที่จะประกอบพิธีใด ๆ จะต้องชำระมือให้สะอาดเสียก่อน, กระสูทธิ์ ก็ว่า. |
ก่อน | ว. ใช้บอกลำดับเวลา หมายความว่า เดิม เช่น แต่ก่อนที่ผ่านมา วันก่อน เดือนก่อน, ลำดับแรก เช่น ก่อนอื่น หยุดก่อน รอก่อน. |
เกร็ด ๒ | (เกฺร็ด) น. ส่วนย่อยหรือส่วนเบ็ดเตล็ด ซึ่งเป็นเรื่องสนุกหรือน่าสนใจที่เล่าหรือเขียนถึงเหตุการณ์สั้น ๆ ตอนใดตอนหนึ่งในชีวประวัติบุคคลสำคัญ ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นเรื่องจริง เช่น เกร็ดพงศาวดาร, เรื่องที่เขียนเล่าถึงบรรยากาศที่น่าสนใจหรือสนุกขบขันในที่ประชุมก่อนที่จะมีผลสรุปออกมา. |
เกิด | มีขึ้นเป็นขึ้นโดยกะทันหัน เช่น เกิดตายไปเสียก่อนที่จะได้รับมรดก เกิดฝนตกลงมา. |
คมิกภัต | (คะมิกะ-) น. อาหารที่เตรียมถวายภิกษุก่อนที่ท่านจะออกเดินทาง. |
คาร์บูเรเตอร์ | น. อุปกรณ์ประกอบในเครื่องยนต์ชนิดใช้นํ้ามันเผาไหม้ภายใน ใช้ประโยชน์เพื่อผสมอากาศเข้ากับไอนํ้ามันก่อนที่จะถูกเผาไหม้. |
คุย ๑ | ปรึกษาหารือ เช่น เรื่องนี้ขอคุยกันก่อนที่จะตัดสินใจ |
เงินปากถุง | น. เงินที่ผู้ให้กู้เรียกเก็บจากผู้กู้ก่อนที่จะจ่ายเงินจำนวนที่ตกลงให้กู้. |
ชั่งใจ | ก. คิดให้แน่ก่อนที่จะตัดสินใจ. |
ซัดชาตรี | น. การรำไหว้ครูก่อนที่จะแสดงละครชาตรี. |
โซเดียมไฮโดรเจนซัลเฟต | น. เกลือกรดชนิดหนึ่ง มีสูตร NaHSO4 ลักษณะเป็นของแข็ง ละลายนํ้าได้ ใช้ประโยชน์เป็นสารทำความสะอาดแผ่นเหล็กก่อนที่จะฉาบด้วยดีบุก. |
แดะ | น. ท่าแอ่นตัวก่อนที่จะทิ้งตัวลงเช่นในการแข่งขันกระโดดไกล กระโดดสูง เป็นต้น. |
ต้นเรื่อง | น. มูลเหตุที่ทำให้เกิดเรื่องนั้น ๆ, เรื่องเดิม, เรื่องก่อนที่จะเริ่มเรื่องที่แต่ง, เช่น เรื่องนนทุกเป็นต้นเรื่องรามเกียรติ์. |
ติเรือทั้งโกลน | ก. ตำหนิสิ่งที่ยังทำไม่เสร็จหรือที่ยังไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร, ติพล่อย ๆ ไปเสียก่อนที่จะรู้ว่าอะไรเป็นอะไร, มักใช้เข้าคู่กับ ติโขนยังไม่ได้แต่งตัว เป็น ติเรือทั้งโกลน ติโขนยังไม่ได้แต่งตัว. |
ทาบทาม | ก. ติดต่อสอบถามเพื่อฟังความเห็นก่อนที่จะตกลงกัน. |
เทียบ ๑ | ชิมอาหารหรือยาโดยเจ้าพนักงานก่อนที่จะถวายพระมหากษัตริย์เพื่อป้องกันสิ่งที่เป็นพิษ ในคำว่า เทียบเครื่อง เทียบพระโอสถ. |
โทรสาร | น. ระบบสื่อสารที่ใช้ส่งและรับรูปภาพหรือข้อความในรูปของคลื่นสัญญาณไฟฟ้าผ่านระบบโทรคมนาคม เครื่องส่งในระบบนี้จะกราดเอกสารที่ต้นทางแล้วแปลงข้อมูลเป็นคลื่นสัญญาณไฟฟ้า ก่อนที่จะส่งผ่านสายไฟฟ้า เส้นใยแก้ว หรือคลื่นวิทยุ ไปยังเครื่องรับที่ปลายทาง ซึ่งจะแปลงคลื่นสัญญาณไฟฟ้ากลับมาเป็นข้อมูลเอกสารเดิม ก่อนที่จะพิมพ์ออกมาในแผ่นกระดาษ, เดิมใช้ โทรภาพ |
เปิดคดี | ก. การที่โจทก์หรือจำเลยแถลงต่อศาลถึงข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย อีกทั้งพยานหลักฐานที่จะอ้างอิงก่อนที่จะนำพยานเข้าสืบ. |
ยับยั้งชั่งใจ | ก. คิดทบทวนดูผลดีผลเสียให้รอบคอบก่อนที่จะทำอะไรลงไป. |
เร่งเร้า | ก. รบเร้าให้รีบทำ, รบเร้าให้ทำโดยเร็ว, เช่น เขายังไม่พร้อมที่จะแต่งงาน ก็อย่าเพิ่งไปเร่งเร้าเขาเลย เกษตรกรเร่งเร้าให้ทางการช่วยเหลือก่อนที่พืชผลจะเสียหาย. |
ลงพื้น | ก. เอาวัตถุเช่นดินสอพองหรือรักสมุกทาลงบนพื้นเพื่อให้ผิวเรียบก่อนที่จะทาน้ำมัน ทาสี หรือ เขียนลวดลาย. |
เลี้ยงลา | ก. เลี้ยงอาหารเป็นการอำลาของผู้ที่จะจากไป เช่น นายแดงเลี้ยงลาเพื่อน ๆ ก่อนที่จะย้ายไปอยู่ที่อื่น. |
วันทาสีมา | ก. ไหว้พัทธสีมาก่อนที่จะเข้าอุโบสถในพิธีอุปสมบท (ใช้แก่นาค). |
แว่นส่องหน้า | น. สิ่งที่ทำด้วยโลหะขัดจนเป็นเงา ใช้ส่องหน้าในสมัยก่อนที่จะมีกระจกเงา. |
สนามวัด | น. สถานที่ที่สำนักเรียนพระปริยัติธรรมแต่ละสำนักได้กำหนดให้เป็นที่ทดสอบบาลีก่อนที่จะส่งเข้าสอบบาลีสนามหลวง. |
สมุก ๑ | (สะหฺมุก) น. ถ่านทำจากใบตองแห้งใบหญ้าคาเป็นต้นป่นให้เป็นผงประสมกับรักนํ้าเกลี้ยง สำหรับทารองพื้นบนสิ่งต่าง ๆ เช่นบานประตูหน้าต่างโบสถ์วิหารก่อนที่จะเขียนลายรดนํ้าปิดทอง. |
ส่าเห็ด | น. ราที่ขึ้นตามพื้นดินก่อนที่เห็ดจะขึ้น. |
สุขุม | ว. ประณีต, ลึกซึ้ง, รอบคอบ, ไม่วู่วาม, เช่น เขาจะไม่ด่วนตัดสินใจ ก่อนที่จะพิจารณาอย่างสุขุมทั้งทางได้และทางเสีย เขามีปัญญาสุขุม, บางครั้งใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น สุขุมคัมภีรภาพ สุขุมรอบคอบ สุขุมลึกซึ้ง. |
ให้เสียง | ก. กระทำเสียงใด ๆ ให้ผู้อื่นรู้ตัวล่วงหน้าก่อนที่จะปรากฏกาย เช่น ฉันตกใจ เธอเข้ามาไม่ให้เสียงเลย. |
อุปนิสัย | (อุปะนิไส, อุบปะนิไส) น. ความประพฤติที่เคยชินเป็นพื้นมาในสันดาน เช่น ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จไปเทศน์โปรดผู้ใดจะต้องทรงพิจารณาถึงอุปนิสัยของผู้นั้นก่อน, ความประพฤติที่เคยชินจนเกือบเป็นนิสัย เช่น นักเรียนคนนี้มีอุปนิสัยดี. |
Fish/Fishing | อุปกรณ์การเจาะ, อุปกรณ์การเจาะ เช่น ก้านเจาะ ที่หลุดและติดค้างอยู่ในหลุมเจาะซึ่งจะต้องกู้และนำออกจากหลุมเจาะก่อนที่จะทำการเจาะต่อไปได้ [ปิโตรเลี่ยม] |
Floating Storage Unit | ถังเก็บน้ำมันขนาดใหญ่, ถังเก็บน้ำมันขนาดใหญ่ซึ่งใช้เก็บน้ำมันที่ผลิตได้จากแท่นผลิตในทะเล ก่อนที่จะส่งไปยังเรือบรรทุกน้ำมัน (tanker) [ปิโตรเลี่ยม] |
Interim storage | การเก็บรักษาเฉพาะกาล, การเก็บรักษาเชื้อเพลิงใช้แล้วหรือกากกัมมันตรังสีในสถานที่เก็บชั่วคราวก่อนที่จะนำไปดำเนินการหรือเก็บรักษาในสถานที่เก็บถาวรต่อไป <br> (ดู storage, waste และ disposal, waste ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Blastocyst | ตัวอ่อนซึ่งเป็นระยะก่อนที่จะฝังตัวกับมดลูก, Example: โดยประกอบด้วยเซลล์ประมาณ 150 เซลล์ ซึ่งเกิดจากการแบ่งตัวหลังจากการปฏิสนธิ บลาสโตซิสต์จะมีลักษณะเป็นทรงกลมและประกอบด้วยโครงสร้างสามส่วน ซึ่งได้แก่ โทรโฟบลาส (Trophoblast) เป็นโครงสร้างชั้นนอกสุดของเซลล์ บลาสโตซีล (Blastocoel) เป็นโครงสร้างชั้นในมีลักษณะเป็นช่องกลวง และมวลเซลล์ชั้นใน (Inner Cell Mass) เป็นกลุ่มเซลล์ซึ่งอยู่ที่ปลายด้านหนึ่งของบลาสโตซีล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
apartheid | การปกครองประเทศแบบแบ่งแยกผิวพันธุ์ เป็นระบบปกครองที่ใช้ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งโดยไม่ แบ่งแยกผิวพันธุ์ครั้งแรกขึ้นระหว่างวันที่ 26-29 เมษายน 2537 ในระบบการปกครองดังกล่าว ประชาชนแอฟริกาใต้ผิวดำถูกจำกัดสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิทางด้านการเมือง สิทธิการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิรับสมัครเลือกตั้ง การเป็นสมาชิกรัฐสภา การมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินบางพื้นที่ การเลือกที่อยู่อาศัย การใช้สถานที่พักผ่อน การรับราชการ การเข้ารับการศึกษา การประกอบอาชีพ และการใช้บริการสาธารณูปโภคจากรัฐบาล เป็นต้น [การทูต] |
Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] |
Indigent Nationals | คนในชาติที่ต้องประสบความยากจนข้นแค้นในต่างแดน ในเรื่องนี้ มีหลายประเทศได้อนุญาตให้ผู้แทนทางการทูตและทางกงสุลของตนอำนวยความช่วย เหลือเท่าที่จำเป็นแก่คนชาติของตนที่ประสบความยากจนข้นแค้นในต่างประเทศรวม ทั้งค่าส่งตัวกลับประเทศด้วย มีหลายรายที่กำหนดให้คนชาติที่ต้องทุกข์นั้น แจ้งถึงสาเหตุที่ต้องประสบความยากจนข้นแค้น และสัญญาว่าเงินที่ได้รับนี้จะต้องชดใช้คืนภายหลัง ตามปกติ ผู้แทนทางการทูตหรือกงสุลจะต้องปรึกษากับกระทรวงการต่างประเทศของตน ก่อนที่จะนำเงินให้คนชาติของตนกู้ยืมหรือไปรับรองบุคคลเหล่านั้น หรือไปรับผิดชอบทางการเงินใดๆ [การทูต] |
Judicial Settlement | การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยศาลตุลาการ ก่อนที่จะเกิดองค์การสหประชาชาติ รัฐทั้งหลายที่มีกรณีพิพาทระหว่างประเทศจะฟ้องร้องต่อศาลระวห่างประเทศแห่ง หนึ่ง มีชื่อว่าศาลประจำยุติธรรมระหว่าประเทศ (Permanent Court of International Justice) ซึ่งองค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1920 ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1922 หลังจากนั้นเป็นเวลา 23 ปี ผู้พิพากษาของศาลก็ได้ลาออกในปีค.ศ. 1946 และสันนิบาตชาติได้ยุบศาลนี้ในปีเดียวกันเมื่อมีการสถาปนาองค์การสหประชา ชาติขึ้น ได้มีการจัดตั้งศาลระหว่างประเทศขึ้นใหม่ เรียกว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ตามกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรนี้ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 92 ว่า ?ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจักเป็นองค์กรทางตุลาการอันสำคัญของสหประชาชาติ ศาลจักดำเนินหน้าที่ตามธรรมนูญผนวกท้าย ซึ่งยึดถือธรรมนูญของศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นมูลฐาน และซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับกฎบัตรฉบับปัจจุบัน?ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศนี้ ประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1946 [การทูต] |
PA | Palestinian Authority หรือ Palestinian National Authority (PNA) เป็นองค์การบริหารดินแดนยึดครอง (Occupied Territories) ในเขต Gazza และเขต West Bank ได้รับการจัดตั้งเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ.2537 ซึ่งเป็นผลจากความตกลงออสโล (Oslo Accords) ระหว่างอิสราเอลกับ Palestinian Liberation Organization (PLO) เพื่อเป็นองค์กรบริหารดินแดนยึดครองก่อนที่การเจรจา Final Statua จะประสบความสำเร็จ [การทูต] |
Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] |
Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] |
Presentation of Credentials | หมายถึง การยื่นสารตราตั้ง เป็นธรรมเนียมปฏิบัติทางการทูตว่า ผู้ใดได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำประเทศใดประเทศหนึ่ง ก่อนที่จะปฏิบัติงานในหน้าที่ จะต้องนำสารตราตั้ง (Credentials) ไปยื่นต่อประมุขของรัฐนั้น ๆ พิธียื่นสารตราตั้งจะกระทำไม่เหมือนกันในแต่ละประเทศ แล้วแต่จะพิจารณาเห็นความเหมาะสม และความเคร่งต่อธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติติดต่อกันมาเป็นสำคัญ เช่น อังกฤษเป็นประเทศหนึ่งที่พิธียื่นสารตราตั้งของเอกอัครราชทูตต่อองค์ประมุข ของประเทศค่อนข้างวิจิตรพิสดารมาก ส่วนบางประเทศมีพิธียื่นสารอย่างง่าย ๆ แทบจะไม่มีพิธีรีตองอย่างใดในสหรัฐอเมริกา ณ กรุงวอชิงตันดีซี พิธียื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดีของสหรัฐฯ กระทำอย่างเรียบง่าย กล่าวคือ พอถึงเวลาที่กำหนดในวันยื่นสารตราตั้ง อธิบดีกรมพิธีการทูตหรือผู้แทนของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ จะนำรถยนต์ลีมูซีนสีดำไปยังทำเนียบของเอกอัครราชทูต เพื่อรับเอกอัครราชทูตและครอบครัวไปยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ณ ตึกทำเนียบขาว ( White House)มีข้อน่าสนใจอันหนึ่งคือ ทางฝ่ายสหรัฐฯ จะสนับสนุนให้เอกอัครราชทูตพาภรรยาและบุตรทั้งชายหญิงไปร่วมในการยื่นสารตรา ตั้งนั้นด้วย การแต่งกายของเอกอัครราชทูตก็สวมชุดสากลผูกเน็คไทตามธรรมดา ระหว่างที่ยื่นสารมีการปฏิสันถารกันพอสมควรระหว่างเอกอัครราชทูตกับ ประธานาธิบดีสหรัฐฯมีช่างภาพของทางราชการถ่ายรูปไว้เป็นที่ระลึก และมอบภาพถ่ายให้แก่เอกอัครราชทูตในวันหลัง (ต่างกับพิธีของอังกฤษมาก) เอกอัครราชทูตไม่ต้องพาคณะเจ้าหน้าที่ของสถานเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย หลังจากพบกับประธานาธิบดีสหรัฐฯ แล้ว อธิบดีกรมพิธีการทูตจะนำเอกอัครราชทูตและครอบครัวกลับไปยังทำเนียบที่พักโดย รถยนต์คันเดิม เป็นอันเสร็จพิธียื่นสารตราตั้ง โดยที่ประเทศต่าง ๆ ในโลกต่างมีสถานเอกอัครราชทูตของตนตั้งอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซี ดังนั้น ในวันไหนที่มีการยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ทางการทำเนียบขาวมักจะกำหนดให้เอกอัครราชทูตใหม่จากประเทศต่าง ๆ เข้ายื่นสารในวันนั้นราว 4-5 ประเทศติดต่อกัน มิใช่วันละคนอย่างที่ปฏิบัติในบางประเทศทันทีที่เอกอัครราชทูตยื่นสารตรา ตั้งต่อประธานาธิบดีเรียบร้อยแล้ว เอกอัครราชทูตจะมีหนังสือเวียนไปยังหัวหน้าคณะทูตทุกแห่งในกรุงวอชิงตันดีซี แจ้งให้ทราบว่าในวันนั้น ๆ เขาได้ยื่นสารตราตั้งต่อประมุขของรัฐ ในฐานะเอกอัครราชทูตเรียบร้อยแล้ว พร้อมกับแสดงความหวังในหนังสือว่าความสัมพันธ์อันดีที่มีอยู่ระหว่างคณะผู้ แทนทางการทูตทั้งสอง ทั้งในทางราชการและทางส่วนตัว จะมั่นคงเป็นปึกแผ่นยิ่งขึ้นอีก จากนั้น เอกอัครราชทูตใหม่ก็จะหาเวลาไปเยี่ยมคารวะเอกอัครราชทูตของประเทศต่าง ๆ ที่ประจำอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซีทีละราย กว่าจะเยี่ยมหมดทุกคนก็กินเวลานานอยู่หลายเดือนทีเดียว [การทูต] |
Servicio Nacional de Sanidad y Calidad Agroalimentaria | สำนักงานตรวจสอบสุขอนามัยพืชและสัตว์ของ อาร์เจนตินา เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบการตรวจสอบมาตรฐานการส่งออก และนำเข้าสินค้าเกษตรและสัตว์ ซึ่งอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงเศรษฐกิจและการผลิตของอาร์เจนตินา โรงงานผลิตสัตว์น้ำของไทยที่ส่งออกสินค้าไปยังอาร์เจนตินาจะต้องได้รับใบ รับรองมาตรฐานการผลิตจาก SENASA ก่อนที่จะได้รับอนุญาตให้นำสินค้าเข้าสู่อาร์เจนตินา [การทูต] |
Embryp | เอ็มบริโอ, สิ่งมีชีวิตในช่วงการพัฒนาระยะต้น (ภายในฟองใช่หรือในมดลูก) โดยเฉพาะอย่างยิ่งก่อนที่จะมีการพัฒนาเต็มที่ เป็นระยะที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและพัฒนาของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ อย่างมาก ในมนุษย์มักจะใช้เรียกระยะเจ็ดถึงแปดสัปดาห์แรกภายหลังการปฏิสนธิ (การผสมของไข่กับอสุจิ) หลังจากนั้น นิยมเรียกเป็น ฟีตัส (Fetus หรือ Foetus) [เทคโนโลยีชีวภาพ] |
Constant viscosity rubber | ยางธรรมชาติที่มีการเติมสารเคมี เช่น hydroxylamine ลงไปในน้ำยางก่อนที่จะเติมกรดเพื่อทำให้ยางจับตัว สารดังกล่าวจะเข้าไปทำปฏิกิริยากับหมู่อัลดีไฮด์ ป้องกันไม่ให้เกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของยางดิบที่เก็บไว้ก่อนนำมา ใช้แปรรูป ทำให้ค่าความหนืดคงที่ ไม่เปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาการเก็บรักษา [เทคโนโลยียาง] |
Field or Fresh latex | น้ำยางธรรมชาติที่ได้จากต้นยางพารา มีลักษณะเป็นของเหลวสีขาวคล้ายน้ำนม มีสภาพเป็นคอลลอยด์หรือสารแขวนลอย มีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 0.975-0.980 กรัมต่อมิลลิลิตร มีค่า pH ประมาณ 6.5-7.0 ความหนืดของน้ำยางมีค่าประมาณ 12-15 เซนติพอยส์ โดยที่จะเติมหรือไม่เติมสารรักษาสภาพ (preservative) ก็ได้ ขึ้นกับระยะเก็บก่อนที่จะนำไปทำให้เข้มข้น หรือไปผ่านกระบวนการอื่นๆ ต่อไป [เทคโนโลยียาง] |
Retarder | สารหน่วงปฏิกิริยา คือ สารเคมีซึ่งลดอัตราเร็วการเกิดปฏิกิริยาเคมี เมื่อนำมาใส่ในยางจะช่วยเพิ่มระยะเวลาก่อนที่ยางจะเริ่มเกิดปฏิกิริยาคงรูป ช่วยลดโอกาสของการเกิดยางตายทั้งในระหว่างการเก็บรักษาและระหว่างกระบวนการ ขึ้นรูป [เทคโนโลยียาง] |
Fetal Monitoring, Antepartum | การติดตามเด็กก่อนที่แม่เจ็บครรภ์ [การแพทย์] |
fetal germ stem cells | fetal germ stem cells, สเต็มเซลล์ที่ได้มาจากเซลล์สืบพันธ์ (primordial germ cell) ของทารกในครรภ์ระยะแรกก่อนที่จะกลายไปเป็นไข่หรืออสุจิ เซลล์นี้จะได้มาจากเนื้อเยื่อของตัวอ่อนที่เกิดการแท้งระหว่างการตั้งครรภ์ระยะแรก [ชีวจริยธรรม] |
urinary bladder | กระเพาะปัสสาวะ, อวัยวะที่มีลักษณะเป็นถุง ทำหน้าที่รับน้ำปัสสาวะจากไตก่อนที่จะขับถ่ายออกจากร่างกาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
stomach | กระเพาะอาหาร, อวัยวะส่วนหนึ่งของทางเดินอาหารมีลักษณะเป็นถุง เป็นที่พักอาหารและย่อยอาหารบางชนิดก่อนที่จะส่งต่อไปยังลำไส้เล็ก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
spermatocyte | สเปอร์มาโทไซต์, เซลล์ซึ่งเจริญมาจากสเปอร์มาโทโกเนียมในระยะก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นตัวอสุจิ สเปอร์มาโทไซต์มี 2 ระยะ คือ สเปอร์มาโทไซต์ระยะแรก และสเปอร์มาโทไซต์ระยะที่สอง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
oocyte | โอโอไซต์, เซลล์ซึ่งเจริญมาจากโอโอโกเนียมในระยะก่อนที่จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์ไข่ โอโอไซต์มี 2 ระยะคือ โอโอไซต์ระยะแรก และโอโอไซต์ระยะที่ 2 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
superposition principle | หลักการซ้อนทับ, การที่คลื่น 2 คลื่นเคลื่อนที่มาพบกันในตัวกลางเดียวกันและเกิดการรวมกันขึ้น ทำให้รูปร่างของคลื่นรวมขณะนั้นเปลี่ยนไป แต่เมื่อเคลื่อนที่ผ่านกันไปแล้ว คลื่นทั้ง 2 นั้นจะมีรูปร่างเหมือนเดิมก่อนที่จะมารวมกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
pumice | หินพัมมิช, หินอัคนีชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นรูพรุนเนื่องจากมีฟองแก๊สเล็ก ๆ แทรกอยู่มากภายในเนื้อก่อนที่จะแข็งตัว มีน้ำหนักเบา ลอยน้ำได้ ใช้ขัดถูภาชนะได้ดี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ack | (แอ็ค) ตอบรับ รับรู้ ย่อมาจากคำว่า acknowledge ใช้ในความหมายของการรับรู้ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะมีการถ่ายโอนข้อมูลให้แก่กันและกัน เท่ากับเป็นการรับรู้ว่ามีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ และพร้อมที่จะรับการถ่ายโอนข้อมูลจากกัน |
anglo-saxon | (แอง' โกล' แซคเซิน) n. คนที่มีภาษาแม่เป็น อังกฤษ, คนอังกฤษสมัยก่อนที่ชาวนอร์มันเข้าครอบครอง, คนชาวอังกฤษ, คนที่มีบรรพบุรุษ เป็นอังกฤษ, ภาษาอังกฤษง่าย -adj. เปิดเผย, ตรงไปตรงมา, ทื่อ |
antivirus | ป้องกันไวรัสในทางคอมพิวเตอร์ จะหมายถึงโปรแกรมประเภทหนึ่งที่ช่วยป้องกัน ตรวจหา และกำจัดไวรัสก่อนที่ไวรัสนั้นจะเข้ามาทำลายโปรแกรมหรือข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนมากจะสามารถระบุชื่อไวรัสได้ด้วยดู virus ประกอบ |
beta test | ทดสอบรอบสองหมายถึง โปรแกรมที่ทำออกมาให้ลูกค้าทำการทดสอบเป็นครั้งที่สอง (ครั้งแรกเรียกว่า alpha test) เพื่อจะดูว่า โปรแกรมดังกล่าวปฏิบัติงานตามที่ต้องการได้เรียบร้อยครบถ้วนดีแล้วหรือยัง ก่อนที่จะนำออกขายในตลาด โปรแกรมที่นำออกมาทดสอบเหล่านี้มักจะมีเขียนบอกไว้ด้วย เพื่อให้ผู้ใช้รู้ว่า ยังเป็นโปรแกรมที่อยู่ในขั้นทดลองใช้ เช่น Alpha 1, Beta 5 ซึ่งหมายถึง รุ่น 1.0 หรือ 5.0 นั่นเองดู alpha test ประกอบ |
compile time | เวลาแปลโปรแกรมบางทีใช้ compilation time หมายถึงระยะเวลาที่เครื่องใช้ในการแปลโปรแกรมแต่ละโปรแกรมก่อนที่จะลงมือทำตามคำสั่งในโปรแกรมนั้นดู compile ประกอบ |
crown | (เคราน์) n. มงกุฎ, มาลัย, มาลัยสวมศีรษะ, เครื่องประดับสำหรับศีรษะ, เกียรติยศจากผลงานที่ดีเด่น, -Phr. (the Crown ผู้มีอำนาจสูงสุด) , รัฐาธิปัตย์, เหรียญเงินตราที่มีรูปมงกุฎ, กษัตริย์, เหรียญเงินของอังกฤษสมัยก่อนที่เท่ากับ 5 ชิลลิงส์, ส่วนที่โผล่ขึ้นมา, สิ่งประดับบนยอด |
debug | แก้จุดบกพร่องหมายถึง การขจัดปัญหาและจุดบกพร่องต่าง ๆ ในโปรแกรมให้หมดไป ก่อนที่จะนำโปรแกรมนั้นไปใช้ ที่ใช้ศัพท์คำนี้เพราะนักเขียนโปรแกรมจะเรียก จุดบกพร่องของโปรแกรมว่า bug ดู bug ประกอบ |
dialog box | กรอบสนทนาหมายถึงวินโดว์เล็ก ๆ มี ลักษณะเป็นกรอบสี่เหลี่ยมที่จะปรากฏขึ้นมาบนจอภาพเพื่อถามหาข้อมูลเพิ่มเติม ก่อนที่จะนำคำสั่งไปปฏิบัติ เช่น ในโปรแกรมพิมพ์เอกสาร ถ้าสั่งเริ่มแฟ้มข้อมูลใหม่ ก็จะมีกรอบสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ถามว่าต้องการกำหนดหน้าเป็นขนาดใด กั้นขอบซ้าย ขวา บน ล่างเข้ามาเท่าใด มีจำนวนกี่หน้า เมื่อตอบคำถามต่าง ๆ แล้ว จึงกดปุ่ม OK กรอบสนทนานี้ก็จะหายไป พร้อมกับที่คอมพิวเตอร์นำความต้องการนั้นไปปฏิบัติ (อนึ่ง กรอบสนทนาจะปรากฏบนจอภาพทุกครั้งที่เลือกรายการคำสั่งที่มี....ตามหลัง เช่น คำสั่ง new... ใต้เมนู FILE) |
dry running | การตรวจสอบ (โปรแกรม) นอกเครื่องหมายถึง การตรวจสอบดูชุดคำสั่งในเชิงตรรกะ และการใช้รหัสคำสั่งจากผังงาน (flowchart) และคำสั่งข้อเขียน เพื่อดูว่า ชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นถูกต้องหรือไม่ก่อนที่จะนำไปใช้กับคอมพิวเตอร์ อาจใช้ตัวเลขสมมติใส่เข้าไปก็ได้ ในบางครั้ง ใช้คำว่า การไล่สอบบนโต๊ะทำงาน (desk check) |
event-driven programming | การเขียนโปรแกรมเชิงเหตุการณ์หมายถึง วิธีการเขียนโปรแกรมวิธีหนึ่งที่จะนำเอาเหตุการณ์จริงเข้ามาใช้ และจะรอคอยให้ผู้ใช้ กดแป้นพิมพ์ หรือเมาส์ เสียก่อนที่จะลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนใด ๆ |
filter | (ฟิล'เทอะ) n. ที่กรอง, กระดาษกรอง, สารที่ใช้กรอง, บุหรี่ก้นกรอง. vt. กรองออก, กรอง vi. กรอง. adj. เกี่ยวกับบุหรี่ก้นกรอง., See also: filterer n., Syn. strainer, sieve, sift ตัวกรองหมายถึง โปรแกรมที่ใช้ในการเปลี่ยนรูปแบบ format การเก็บข้อมูลหรือภาพให้ เป็นรูปแบบที่ต้องการใช้ ส่วนมากโปรแกรมนี้จะมีแทรกอยู่ในโปรแกรมประเภทประมวลผลคำ หรือโปรแกมการจัดพิมพ์ ฯ ที่มักจะมีการโอนแฟ้มข้อมูล ประเภทอื่น เช่น จากโปรแกรม dBASE หรือ Lotus เข้ามา ถ้าไม่มีตัวกรองเตรียมไว้ ก็จะโอนเข้ามา ไม่ได้ นอกจากนั้น ยังเป็นคำสั่งในระบบปฏิบัติการ คำสั่งหนึ่งที่สั่งให้ประมวลผล ข้อมูลเสียก่อนที่จะทำอย่างอื่นต่อไป ตัวกรองของระบบดอส จะประกอบด้วยคำสั่ง More, Find, และ Sort คำสั่ง More เป็นคำสั่งให้แสดงผลไปเรื่อย ๆ จอภาพ ก็จะเลื่อนไปเรื่อย ๆ เพื่อแสดงผลต่อไปจนกว่าจะหมด find เป็นคำสั่งให้หาแฟ้มข้อมูลที่ต้องการ และ sort ก็เป็น คำสั่งให้เรียงลำดับแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกี ASCII |
inquisition | (อินควิซิช'เชิน) n. การสอบสวนอย่างขู่เข็ญ, การสืบสวน, การวินิฉัย, คณะผู้ทำการสอบสวน, ศาลพระสเปนสมัยก่อนที่มีชื่อเกี่ยวกับการทารุณ, Syn. investigation |
inquisitor | (อินควิซ'ซิเทอะ) n. ผู้ทำการสอบสวน, เจ้าหน้าที่ผู้ทำการสอบสวน, ผู้ชอบถาม, สมาชิกของศาลพระสเปญสมัยก่อนที่มีชื่อเกี่ยวกับการทารุณ, See also: inquisitorial adj., Syn. inquisitionist |
interpreted language | ภาษาที่แปลด้วยตัวแปลภาษาหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่คอมพิวเตอร์จะอ่านคำสั่งทีละคำสั่ง จัดการแปลให้แล้วปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ ทันที ก่อนที่จะไปอ่านคำสั่งใหม่ เช่น ภาษา BASIC, LISP, PROLOG และ LOGO เป็นต้น การใช้ภาษาประเภทนี้ ที่ใช้จะรู้สึกทันใจกว่า เพราะรายงานผลได้ทันที ถ้ามีที่ผิด ก็จะได้แก้ไขได้เลย ภาษาเหล่านี้เป็นภาษาที่ใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่า Interpreter เป็นตัวแปล |
junta | (จัน'ทะ) n. กลุ่มเล็ก ๆ ที่บริหารประเทศ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังการรัฐประหารและก่อนที่จะมีการจัดตั้งรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ) , สภาการเมือง, คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นเอง, Syn. clique |
last supper | n. อาหารค่ำมื้อสุดท้ายของพระเยซูคริสต์กับสาวกทั้ง12คนก่อนที่พระองค์จะถูกตรึงบนไม่กางเขนจนตาย |
latent period | n. ระยะซ่อนเร้น, ระยะแฝงของโรคก่อนที่จะมีอาการโรคปรากฎ, ระยะเวลาการกระตุ้นกับปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น., Syn. latency |
paddle steamer | n. เรือกลไฟสมัยก่อนที่มีล้อติดข้างบน |
prehistoric | (พรีฮีสทอ'ริค) adj. ก่อนประวัติศาสตร์, ก่อนที่มีากรบันทึกเป็นประวัติศาสตร์., Syn. prehistorical |
raster | แรสเตอร์ <คำอ่าน>หมายถึง การที่ลำแสงอิเล็กตรอนผ่านวัตถุอย่างใดอย่างหนึ่งแล้วส่งเข้าสู่จอภาพเช่นเดียวกับที่ใช้ในการกราดภาพ (scan) คือการยิงลำแสงอิเล็กตรอนให้ผ่านภาพไปอย่างต่อเนื่องทีละเส้น แล้วส่งขึ้นบนจอภาพ ตั้งแต่บรรทัดบนสุดจนถึงล่างสุด เราจะมองเห็นเส้นใหม่ก่อนที่เส้นเก่าจะหายไป เส้นที่มองเห็นนี้จะรวมกันเป็นภาพที่เราต้องการ เรียกว่าภาพ "แรสเตอร์" |
satellite computer | คอมพิวเตอร์บริวารหมายถึงคอมพิวเตอร์เครื่องเล็ก ที่ใช้สนับสนุนเครื่องใหญ่เฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง เป็นต้นว่า กำหนดให้ตรวจสอบข้อมูลที่ส่งผ่านทางสถานีปลายทาง (terminal) ให้ถูกต้องก่อนที่จะส่งเข้าไปประมวลผลในเครื่องใหญ่ต่อไป |
shut down | ปิดเครื่องหมายถึงคำสั่งปิดเครื่องในระบบวินโดว์ ซึ่งจะมีขั้นตอนการทำงานเป็นระยะเวลาพอสมควรก่อนที่จะแจ้งให้ทราบว่า สามารถปิดสวิตช์ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ |
skydive | (สคาย'ไดว) vi. กระโดดร่มให้ลอยตัวอยู่กลางอากาศให้นานที่สุดก่อนที่จะกางร่มออก., See also: skydiver n. |
spool | (สพูล) n. แกนม้วนสาย, หลอดม้วน, สายม้วน, ผ้าหมึกพิมพ์ดีด, สิ่งที่พันรอบแกนหรือหลอด. vt. ม้วน, พัน, เอาสายพันออก. ที่เก็บพัก (ข้อมูล) หมายถึง ที่ที่ใช้เก็บข้อมูลไว้ชั่วคราวก่อนที่จะสั่งให้พิมพ์ออกมาให้ดูทางเครื่องพิมพ์, Syn. reel |
stylus | (สไท'ลัส) n. เข็มจานเสียง, ปากกาปากแหลมสมัยก่อนที่ใช้เขียนบนแผ่นขี้ผึ้ง, เข็มนาฬิกาแดด, เข็มวาดภาพ, (พืช) ท่อรังไข่, แกนดอกไม้ pl. styli, styluses |
summer | (ซัม'เมอะ) n., adj. (เกี่ยวกับ) ฤดูร้อน, ยุคเฟื่องฟู, ช่วงที่ดีที่สุดหรือสมบูรณ์ที่สุดก่อนที่เริ่มตกต่ำลง vi., vt. ใช้เวลาในฤดูร้อน |
tithe | (ไทธฺ) n. 1/10ของผลิตผลทางเกษตร, 1/10อากรของอังกฤษสมัยก่อนที่ชัก1/10, จำนวนเล็กน้อย, พัทธยา, ภาษีย่อม. vi. จ่ายภาษีหนึ่งในสิบ, ให้จำนวนหนึ่งในสิบ, จ่ายค่าอากรที่ชักหนึ่งในสิบ, จัดเก็บภาษีหรืออากรที่ชักหนึ่งในสิบ vi. จ่ายภาษีหรืออากรที่ชักหนึ่งในสิบ. |
toy | (ทอย) n. ของเล่น, เครื่องเล่น, ของเด็กเล่น, สิ่งที่มีค่าเล็กน้อย, ของกระจอก, สัตว์ที่มีขนาดเล็ก, บุคคลร่างเตี้ย, สิ่งประดับเล็ก ๆ น้อย ๆ , การผ่อนคลายอารมณ์, การละเล่น, หมวกผู้หญิงสก๊อตแลนด์สมัยก่อนที่มีส่วนที่ยาวคลุมถึงไหล่. adj. ใช้เป็นของเล่น, เหมือนของเล่น. vi. เล่น |
type-ahead | พิมพ์ล่วงหน้าหมายถึง บัฟเฟอร์ (buffer) ส่วนหนึ่งในหน่วยความจำ ที่ทำให้สามารถสั่งให้แสดงผลทางเครื่องพิมพ์ล่วงหน้า (พิมพ์ลงบนกระดาษก่อนที่จะแสดงผลนั้นบนจอภาพ) อย่างไรก็ตาม ต้องขึ้นกับหน่วยความจำด้วยว่า การกันที่เป็นบัฟเฟอร์ไว้ให้นั้น ได้มีการกำหนดไว้ให้มากน้อยเพียงใด โดยปกติ ระบบดอสจะกันไว้เพียง 15 ตัวอักษร ฉะนั้นพอพิมพ์ได้ 15 ตัวก็จะหยุด ดังนี้เป็นต้น |
virtual machine | เครื่องเสมือนหมายถึง ระบบปฏิบัติการที่ทำให้สามารถใช้ซอฟต์แวร์จำลองการทำงานของคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นได้ มักใช้สำหรับเป็นตัวทดสอบโปรแกรมซอฟต์แวร์ต่าง ๆ เช่นวิศวกรอาจคิดสร้างคอมพิวเตอร์ขึ้นมาใหม่ แล้วใช้ซอฟต์แวร์จำลองดูการทำงานของเครื่องใหม่นี้ (กำหนดให้เครื่องเสมือนนี้ลองทำโปรแกรมดู) เพื่อดูว่ามีปัญหาอย่างไรหรือไม่ ถ้ามี ก็จะได้จัดการแก้ไขปัญหาเหล่านั้น เสียก่อนที่จะลงมือผลิตเครื่องออกมาจริง ๆ |
wild west | n. พรมแดนด้านตะวันตกของอเมริการะหว่างศตวรรษที่ 19 ก่อนที่จะมีรัฐบาลที่มั่นคงในเวลาต่อมา |