ขอรับ ๑ | น. โลหะทำเป็นห่วงสำหรับรับขอสับ มักติดที่ประตูหน้าต่าง. |
ขอรับ ๒ | คำรับที่สุภาพชนใช้. |
ขอรับกระผม, ขอรับผม | คำรับด้วยความอ่อนน้อมอย่างยิ่ง (ใช้พูดกับผู้ใหญ่). |
พระพุทธเจ้าข้า, พระพุทธเจ้าข้าขอรับ, พระพุทธเจ้าข้าขอรับใส่เกล้าใส่กระหม่อม | น. คำขานรับพระมหากษัตริย์. |
ขอสับ | น. โลหะที่ปลายงอเป็นตาขอสำหรับเกี่ยวที่ขอรับ. |
ขึ้น ๑ | เอาเช็คเป็นต้นไปขอรับเป็นตัวเงินจากธนาคาร เรียกว่า ขึ้นเงิน |
ค่าน้ำร้อนน้ำชา | น. เงินสินบนที่จ่ายให้เจ้าหน้าที่เพื่อให้ได้รับความสะดวกรวดเร็วในการติดต่องานหรือขอรับบริการ. |
ดำหัว | น. ประเพณีทางภาคเหนือซึ่งกระทำในวันสงกรานต์เพื่อเป็นการแสดงความเคารพนับถือ วิธีดำหัว คือ เอานํ้าสะอาด พร้อมดอกคำฝอย ฝักส้มป่อย และผงขมิ้น ใส่ขัน ไปเคารพและขอขมาผู้ใหญ่ โดยให้ท่านจุ่มน้ำลูบศีรษะตนเองเพื่อให้ท่านอยู่เย็นเป็นสุขและขอรับพรจากท่าน. |
โดย ๒ | ว. จ้ะ, ขอรับ. |
ตัวเมีย | เรียกสิ่งของบางอย่างที่มีรูหรือขอรับให้สิ่งอื่นเกาะหรือสอดเข้าได้ เช่น นอตตัวเมีย. |
พ่ะ | ว. จ้ะ, ขอรับ. |
ออกของ | ก. ติดต่อขอรับสิ่งของที่ส่งมาจากต่างประเทศจากกรมศุลกากร เช่น ไปออกของที่กรมศุลกากร. |
Applicant | ผู้ขอรับสิทธิบัตร / เจ้าของสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Application No. | เลขที่คำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Claim(s) | ข้อถือสิทธิ ที่ขอรับความคุ้มครอง [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Publication Number | หมายเลขที่ตีพิมพ์โฆษณาคำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Priority Number | เลขที่คำขอรับสิทธิบัตรที่ถูกอ้างการมีสิทธิก่อน [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Publication Date | วันที่ตีพิมพ์โฆษณาคำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Grant | การที่สำนักงานสิทธิบัตรอนุมัติให้สิทธิคุ้มครองในทางกฏหมายแก่ผู้ขอรับในช่วงระยะเวลาหนึ่ง, Example: เพื่อป้องกันผู้อื่นนำเทคโนโลยีที่คิดค้นไปใช้ประโยชน์โดยไม่ได้รับอนุญาต [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Disposal | คำขอรับสิทธิบัตรนั้นถูกตัดสินแล้ว, คำขอรับสิทธิบัตรนั้นถูกตัดสินแล้ว อาจเป็นการถอนคืน ปฎิเสธ หรืออนุมัติให้สิทธิ แต่ส่วนใหญ่ให้ความหมายเป็นนัยว่าการปฏิเสธรับ, Example: ใช้ในบางประเทศ เช่นสหรัฐอเมริกา เป็นการกล่าวถึงว่า คำขอรับสิทธิบัตรนั้นถูกตัดสินแล้ว อาจเป็นการถอนคืน ปฎิเสธ หรืออนุมัติให้สิทธิ แต่ส่วนใหญ่ให้ความหมายเป็นนัยว่าการปฏิเสธรับ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Kokoku | เอกสารสิทธิบัตรยื่นต่อสำนักงานสิทธิบัตรประเทศญี่ปุ่น ที่ทำการตรวจสอบแล้วและยอมรับให้เป็นเอกสารขอรับสิทธิบัตรที่สมบูรณ์ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Rejection | สำนักงานสิทธิบัตรปฏิเสธ ไม่ยอมรับคำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
European Patent Applications | ระบบการยื่นคำขอรับสิทธิบัตรของสำนักงานสิทธิบัตรของทวีปยุโรปแห่งเดียว ที่สามารถให้ความคุ้มครองในแต่ละประเทศที่ระบุต่อไป [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
International Patent Application | คำขอรับสิทธิบัตรเดียว ที่สามารถยื่นในระดับนานาชาติ 142 ประเทศ, คำขอรับสิทธิบัตรเดียว ที่สามารถยื่นในระดับนานาชาติ 142 ประเทศ, Example: ตามข้อตกลง PCT โดยผ่านจากหมายเลขเดียว ก่อนที่จะเข้าสู่ระบบตรวจสอบสิทธิบัตรของแต่ละประเทศ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Plant Application (Patent) | คำขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ์ พืชประเภทที่มีการขยายพันธ์แบบไร้เพศ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Application Date | วันที่ยื่นคำขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Applicant's Country Code | รหัสประเทศสัญชาติผู้ขอรับสิทธิบัตร [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Proposal writing for grants | การเขียนโครงการเพื่อขอรับทุน [TU Subject Heading] |
The New Partnership for Africa?s Development | หุ้นส่วนใหม่เพื่อการพัฒนาแอฟริกา เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแอฟริกา มีวัตถุประสงค์ในการ ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศแอฟริกา การขจัดความยากจนและการขจัดความเสียเปรียบของประเทศแอฟริกาในยุคโลกาภิวัตน์ NEPAD พัฒนามาจากการประชุม สุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 ที่ญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2542 ซึ่งในการประชุมนี้ ประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ ประธานาธิบดีไนจีเรีย และประธานาธิบดี แอลจีเรียได้เสนอต่อที่ประชุม ขอให้กลุ่มประเทศเหนือและประเทศใต้ร่วมกันแก้ปัญหาที่ทั้งสองกลุ่มประเทศ เผชิญอยู่ บนพื้นฐานของ ผลประโยชน์ร่วมกัน โดยเน้นการพัฒนาประเทศที่ยากจน เช่น ประเทศ ในภูมิภาคแอฟริกา ต่อมาบรรดาผู้นำของกลุ่มประเทศแอฟริกาได้ร่วมกันกำหนดแผนพัฒนาแอฟริกาสำหรับ ใช้ขอรับการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วในเวทีการประชุมระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เรียกว่า New Africa Initiative (NAI) ที่ประชุมองค์การเอกภาพแอฟริกา หรือ OAU (ซึ่งต่อมากลายเป็น African Union ? AU) ได้เห็นชอบต่อแผน NAI ดังกล่าวในเดือนกรกฎาคม 2544 ผู้นำของประเทศแอฟริกาได้นำเสนอ NAI ต่อที่ประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 เมื่อปี พ.ศ. 2544 และได้รับการปรับปรุงแก้ไขจนเป็น NEPAD ในปัจจุบัน [การทูต] |
The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] |
Really Simple Syndication( RSS) | อาร์เอสเอส, เทคโนโลยีที่ใช้สำหรับเผยแพร่ข้อมูลที่ถูกปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เป็นประจำได้แบบอัตโนมัติ โดยผู้ใช้ต้องขอรับบริการ ผู้ใช้ไม่ต้องเข้าไปยังเว็บไซต์ที่สนใจต่างๆ โดยตรง เพื่ออ่านข้อมูลที่ได้รับการปรับปรุงในแต่ละวันด้วยตนเองทีละเว็บไซต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |