Arab-Israeli conflict | ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลและอาหรับ [TU Subject Heading] |
Conflict management | การบริหารความขัดแย้ง [TU Subject Heading] |
Contradiction | ความขัดแย้งกัน [TU Subject Heading] |
Culture conflict | ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
India-Pakistan Conflict, 1947-1949 | ความขัดแย้งระหว่างอินเดียและปากีสถาน, ค.ศ. 1947-1949 [TU Subject Heading] |
India-Pakistan Conflict, 1965 | ความขัดแย้งระหว่างอินเดียและปากีสถาน, ค.ศ. 1965 [TU Subject Heading] |
India-Pakistan Conflict, 1971 | ความขัดแย้งระหว่างอินเดียและปากีสถาน, ค.ศ. 1971 [TU Subject Heading] |
Interpersonal conflict | ความขัดแย้งระหว่างบุคคล [TU Subject Heading] |
Interpersonal conflict in motion pictures | ความขัดแย้งระหว่างบุคคลในภาพยนตร์ [TU Subject Heading] |
Low-intensity conflicts (Military science) | ความขัดแย้งแบบลดความรุนแรง (การทหาร) [TU Subject Heading] |
Conflict | ข้อขัดแย้ง [เศรษฐศาสตร์] |
Social conflict | ความขัดแย้งทางสังคม [TU Subject Heading] |
Social conflict in mass media | ความขัดแย้งทางสังคมในสื่อมวลชน [TU Subject Heading] |
ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] |
Break of Diplomatic Relations | การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวรหรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้ [การทูต] |
Confidence Building Measures | มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ เป็นมาตรการเพื่อสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างรัฐ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ ทั้งด้านการเมือง ความมั่นคง และการทหาร เพื่อลดความหวาดระแวง ลดความขัดแย้ง และสร้างความมั่นใจระหว่างสองฝ่ายหรือหลาย ๆ ฝ่าย อันจะเป็นการส่งเสริมการทูตเชิงป้องกัน ทั้งนี้ CBMs เป็นกระบวนการที่สำคัญในกรอบการประชุม ARF [การทูต] |
Duration of Diplomatic Privileges and Immunities | ระยะเวลาของการอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทาง การทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตราที่ 39 ว่า?1. บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน ที่จะได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันนั้นตั้งแต่ขณะที่บุคคลนั้นเข้ามาใน อาณาเขตของรัฐผู้รับในการเดินทางไปรับตำแหน่งของตน หรือถ้าอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับแล้ว ตั้งแต่ขณะที่ได้บอกกล่าวการแต่งตั้งของตนต่อกระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน 2. เมื่อภารกิจหน้าที่ของบุคคล ซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันยุติลง เอกสิทธิ์และความคุ้มกันตามปกติให้สิ้นสุดลงขณะที่บุคคลนั้นออกไปจากประเทศ หรือเมื่อสิ้นกำหนดอันสมควรที่จะทำเช่นนั้น แต่จะยังมีอยู่จนกระทั่งเวลานั้น แม้ในกรณีของการขัดแย้งด้วยอาวุธ อย่างไรก็ดี ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปโดยบุคคลเช่นว่านั้น ในการปฏิบัติการหน้าที่ของตนในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน ความคุ้มกันนั้นให้มีอยู่สืบไป 3. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามีสิทธิที่จะได้สืบไป จนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป 4. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นอยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว รัฐผู้รับสามารถอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่การส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดก และการรับมรดกนั้น ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับเพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่เพียงถ่ายเดียวของผู้วายชนม์ ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือในฐานะเป็นคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน? [การทูต] |
ethnic conflict | ความขัดแย้งที่เกิดจากความแตกต่างทางด้านชาติพันธุ์ [การทูต] |
national reconciliation | การปรองดองแห่งชาติ หมายถึง กระบวนการสร้างสันติภาพ และเอกภาพภายในชาติ โดยให้กลุ่มต่าง ๆ ที่ขัดแย้งกันได้มีส่วนร่วมในการกระบวนการดังกล่าว [การทูต] |
Normal Diplomacy | การติดต่อทางการทูตโดยวิถีทางทูตตามปกติ มักจะกระทำกันดังนี้ เมื่อรัฐบาลต้องการจะหยิบยกปัญหาขึ้นกับอีกรัฐบาลหนึ่ง ตัวรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจะส่งคำสั่งไปยังเอกอัครราชทูตของ ประเทศตนที่ประจำอยู่ในประเทศผู้รับส่งให้ยกเรื่องนั้นขึ้นเจรจากับรัฐบาล ของประเทศผู้รับ โดยปกติเอกอัครราชทูตจะมีหนังสือทางการทูต (Diplomatic Note) เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไปยังรัฐมนตรีวาการกระทรวงการต่างประเทศ ของประเทศผู้รับนั้นก่อน หรือไม่ก็ไปพบกับรัฐมนตรีด้วยตนเอง ณ กระทรวงการต่างประเทศ การเจรจากันอาจทำให้จำเป็นต้องมีการบันทึกของทูตแลกเปลี่ยนกันขึ้น ในรูปบันทึกช่วยจำ (Aide-Memoire ) ในบางกรณี เอกอัครราชทูตจำเป็นต้องไปพูดจา ณ กระทรวงการต่างประเทศ อีกหลายครั้งกว่าจะเสร็จเรื่อง ในระหว่างนั้น เอกอัครราชทูตมีหน้าที่จะต้องรายงานผลการเจรจาแต่ะครั้งไปยังกระทรวงการต่าง ประเทศของตน และบางคราวอาจจะต้องขอคำสั่งเพิ่มเติมอีกเมื่อเกิดกรณีใหม่โดยมิได้คาดหมาย มาก่อนเป็นต้น ในขณะเดียวกันกระทรวงการต่างประเทศของประเทศผู้รับก็จะส่งคำสั่งไปยังเอก อัครราชทูตของตน แนะว่าควรดำเนินการอย่างไรเกี่ยวกับปัญหาที่กำลังเจรจากันกับรัฐบาลของ ประเทศที่ตนประจำอยู่ผลการเจรจาอาจเป็นที่ตกลงกันได้ระหว่างรัฐบาลทั้งสอง ฝ่าย หรืออาจจะจบลงด้วยภาวะชะงักงัน ( Stalemate ) หรือรัฐบาลทั้งสองอาจจะตกลงกันว่าไม่สามารถตกลงกันได้ และปล่อยให้ปัญหาคาราคาซังไปก่อน จนกว่าจะมีการรื้อฟื้นเจรจากันใหม่ บางคราวปัญหาที่ยังตกลงกันไม่ได้นั้น อาจกลายเป็นปัญหาขัดแย้งกันอย่างรุนแรงต่อไปก็ได้ [การทูต] |
order at sea | การจัดระเบียบทางทะเล " เช่น ความร่วมมือระหว่างกองทัพเรือไทย-เวียดนามในการลดความ ขัดแย้งในทะเลระหว่างกัน อาทิ การล่วงล้ำน่านน้ำและลักลอบทำประมง โดยมีมาตรการสำคัญ คือ การลาดตระเวนร่วมในพื้นที่ประชิดกันทางทะเลระหว่างกองทัพเรือทั้งสองฝ่าย เป็นประจำ " [การทูต] |
Peacebuilding Commission | คณะกรรมาธิการเสริมสร้างสันติภาพ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2548 เพื่อให้คำปรึกษาเรื่องการเสวริมสร้างสันติภาพในกรอบสหประชาชาติแก่ประเทศ ที่เพิ่งผ่านพ้นความขัดแย้ง รวมทั้งเป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อระหว่างกระบวนการสร้างสันติภาพ (peace enforcement) การรักษาสันติภาพภาพ (peacekeeping) และการเสริมสร้างสันติภาพ (peacebuilding) [การทูต] |
peace keeping | การรักษาสันติภาพ " หมายถึง การส่งคณะเจ้าหน้าที่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนในนามของสหประชาชาติเข้าไปใน พื้นที่ที่มีความขัดแย้งโดยความยินยอมของ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำหน้าที่ดูแลให้มีการปฏิบัติตามข้อตกลงหยุดยิง หรือความตกลงสันติภาพ หรือกระบวนการแก้ไขปัญหาโดยวิถีทาง การเมือง " [การทูต] |
peace making | การทำให้เกิดสันติภาพ เป็นการดำเนินการทางการทูตโดยมักใช้วิธีไกล่เกลี่ย และเจรจาเพื่อยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี [การทูต] |
Shuttle Diplomacy | การทูตแบบกระสวย หมายถึง การเดินทางไปเจรจาทางการทูตเพื่อคลี่คลายปัญหาหรือกรณีพิพาทโดยผู้ไกล่ เกลี่ยจะต้องเดินทางกลับไป-กลับมาระหว่างประเทศหรือคู่กรณีที่มีความขัดแย้ง กัน เช่น การแก้ปัญหาในตะวันออกกลาง [การทูต] |
Treaty of Amity and Cooperation | สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ " เป็นสนธิสัญญาที่จัดทำขึ้นโดยอาเซียนเมี่อปี พ.ศ. 2519 เพื่อกำหนด หลักการดำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาค โดยมีหลักการที่สำคัญได้แก่ การเคารพในอำนาจอธิปไตย ความเท่าเทียมกัน บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่แทรกแซงกิจการภายใน การแก้ไขปัญหาโดยสันติ การไม่ใช้หรือขู่ว่าจะใช้กำลัง และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน รวมทั้งมีมาตราเกี่ยวกับแนวทางยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยอาศัยกลไกคณะอัครมนตรี (High Council) ปัจจุบันประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ เป็นภาคีสนธิสัญญาฯ " [การทูต] |
Communication, Double Blind | การสื่อความหมายที่มีความขัดแย้งกันเองในเวลา [การแพทย์] |
Conflict | ความขัดแย้ง [การแพทย์] |
Conflict, Approach-Approach | ความขัดแย้งชนิดเข้าหา-เข้าหา [การแพทย์] |
Conflict, Approach-Avoidance | ความขัดแย้งเข้าหา-หลีกหนี [การแพทย์] |
Conflict, Avoidance-Avoidance | ความขัดแย้งชนิดหลีกหนี-หลีกหนี [การแพทย์] |
Conflict, Double Approach Avoidance | ความขัดแย้งชนิดเข้าหา-หลีกหนีซ้อน [การแพทย์] |
Conflict, Emotional | ข้อขัดแย้งของจิตใจ [การแพทย์] |
Conflict, Neurotic | ข้อขัดแย้งภายในจิตใจ [การแพทย์] |
Conflict, Psychodynamic | ความขัดแย้งทางจิตพลวัต [การแพทย์] |
Conflict, Unconscious | ความขัดแย้งในจิตไร้สำนึก, ความขัดแย้งในจิตไร้สำนึก [การแพทย์] |
Conflict, Unconscious, Internal | ความขัดแย้งภายในจิตไร้สำนึก [การแพทย์] |
Consensus, High | เนื้อหาวิชาที่แสดงความคิดเห็นขัดแย้งกัน [การแพทย์] |
ความขัดแย้ง | ความขัดแย้ง, สภาวะหรือเหตุการณ์ที่ทำให้บุคคลเกิดความรู้สึกมีความขัดแย้งในตนเอง เมื่อถึงเวลาที่เผชิญแล้ว บุคคลนั้นเกิดความลำบากใจ หนักใจ หรืออึดอัดใจในการตัดสินใจ ตกลงใจที่จะเลือกกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ความขัดแย้งแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. ความขัดแย้งในใจที่บุคคลจะต้องต [สุขภาพจิต] |
ตัวกระตุ้นทางใจ | ตัวกระตุ้นทางใจ, สิ่งที่ไปเร้าจิตใจให้เกิดการกระทำจัดการอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยที่สิ่งนั้นอาจสร้างผลดีหรือผลเสียได้หลายรูปแบบ เช่น ความสับสน (Confusion) ความกดดัน (Pressure) ความเครียด (Stress) ความคับข้องใจ (Frustration) ความขัดแย้ง (Conflict) เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ได้ย้ [สุขภาพจิต] |
กลไกป้องกันทางจิต | กลไกป้องกันทางจิต, วิธีการปรับตัวและปรับจิตใจเพื่อให้ผ่านพ้นจากผลกระทบที่ก่อให้เกิดความ สับสน ความอึดอัดใจ ความคับข้องใจ ความขัดแย้ง จนเป็นความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นในจิตใจของบุคคล อันเนื่องมาจากสถานการณ์ที่ปรารถนาหรือถูกคุกคามอย่างที่สุด เพื่อป้องกันตนเองในระดับจิตไร้สำนึก ให้ [สุขภาพจิต] |
Lose-Lose Emphasis | ความขัดแย้งจากฝ่ายแพ้ทั้งคู่ [การแพทย์] |
against | (prep) ดูขัดแย้งกับ, See also: ดูขัดกับ |
antithesis | (n) การใช้ถ้อยคำขัดแย้งกัน |
be against | (phrv) ทำผิดต่อ, See also: ปฏิบัติขัดแย้งกับ, Syn. go against |
be out | (phrv) หยุดทำงาน (เพราะขัดแย้ง), See also: หยุดงานประท้วง, Syn. bring out |
be up against | (phrv) ขัดแย้งกับ, See also: มีปัญหากับ, Syn. bring up against, come up against |
casus belli | (n) เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดสงคราม, See also: ต้นเหตุของความขัดแย้ง |
clash | (vt) ขัดแย้ง |
clash | (vi) ขัดแย้ง, Syn. conflict, fail to harmonize |
coherent | (adj) ซึ่งสอดคล้อง, See also: ซึ่งเห็นพ้องตรงกัน, ไม่ขัดแย้งในตัวเอง, ซึ่งมีเหตุผล, Syn. consistent, harmonious |
collide | (vi) ขัดแย้งกัน, See also: เป็นปรปักษ์, Syn. clash, conflict, disagree, oppose, dispute |
collision | (n) การขัดแย้ง, Syn. clash, conflict, discord, contention, disagreement, disputation |
combat | (n) ความขัดแย้ง, Syn. conflict, opposition, strife |
conflict | (vi) ขัดแย้ง |
conflict | (n) ความขัดแย้ง, Syn. confliction, disagreement, opposition |
confliction | (n) ความขัดแย้ง, Syn. conflict, disagreement, opposition |
contention | (n) การโต้แย้ง, See also: การโต้เถียง, ความขัดแย้ง, Syn. argument, controversy, disagreement |
contradict | (vt) ขัดแย้ง, Syn. go against |
contradictory | (adj) ซึ่งตรงกันข้ามกัน, See also: ซึ่งขัดแย้งกัน, ซึ่งไม่ไปในทางเดียวกัน, Syn. opposite, conflicting |
contrary | (adj) ซึ่งขัดแย้งกัน, Syn. opposed, against |
clash against | (phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ขัดแย้งกับ, Syn. conflict with |
clash on | (phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ขัดแย้งในเรื่อง, Syn. clash over |
clash over | (phrv) ไม่เห็นด้วยกับ, See also: ขัดแย้งในเรื่อง, Syn. clash on |
collide with | (phrv) ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับ, See also: ขัดแย้งกับ, Syn. conflict with |
conflict with | (phrv) เกิดขึ้นในเวลาเดียวกับ, See also: ขัดแย้งกับ, โต้แย้งกับ, ไม่ลงรอยกับ, Syn. clash with, coincide with |
conflict with | (phrv) ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่งกับ, See also: ขัดแย้งกับ, โต้แย้งกับ, ไม่ลงรอยกับ, Syn. clash against |
cross swords with | (phrv) เริ่มแตกแยก (ทางความคิด, มิตรภาพฯลฯ) กับ, See also: ขัดแย้ง, แตกแยก |
cut across | (phrv) ขัดแย้งกับ, See also: แบ่งแยกกับ |
dispute about | (phrv) ขัดแย้งกันในเรื่อง, See also: โต้เถียงกันในเรื่อง |
dispute against | (phrv) ขัดแย้งกันกับ, See also: โต้เถียงกันกับ |
dispute over | (phrv) ขัดแย้งกันในเรื่อง, See also: โต้เถียงกันในเรื่อง |
dispute with | (phrv) ขัดแย้งกันกับ, See also: โต้เถียงกันกับ |
drive a wedge between | (idm) ไม่เห็นด้วย (ระหว่าง), See also: ขัดแย้งกันระหว่าง |
fall out | (phrv) ทะเลาะกัน, See also: ขัดแย้งกัน |
fight on | (phrv) โต้แย้ง, See also: ขัดแย้ง, ต่อต้าน |
fight through | (phrv) ขัดแย้งตลอด, See also: โต้แย้งทุกอย่าง, เป็นปรปักษ์ทุกเรื่อง |
deadlock | (n) ความล้มเหลวในการแก้ไขความขัดแย้ง |
debate | (vt) โต้แย้ง, See also: ถกเถียง, โต้เถียง, อภิปราย, ขัดแย้ง, Syn. argue, discuss, dispute |
debate | (vi) โต้แย้ง, See also: ถกเถียง, โต้เถียง, อภิปราย, ขัดแย้ง, Syn. argue, discuss, dispute |
differ | (vi) ไม่เห็นด้วย, See also: ไม่เห็นพ้อง, ขัดแย้ง, Syn. disagree, discord, conflict, Ant. agree |
difference | (n) ข้อโต้แย้ง, See also: การทะเลาะเบาะแว้ง, ความขัดแย้ง, Syn. contra diction, disagreement, Ant. accord, correspondence |
disaccord | (n) ความขัดแย้ง (คำทางการ), See also: ความไม่เข้ากัน, ความไม่ประสานกัน |
disaccord | (vi) ไม่เห็นด้วย, See also: ขัดแย้ง |
disagree | (vt) ไม่เห็นด้วย, See also: ขัดแย้ง, Syn. differ, discord, oppose, Ant. agree |
disagreement | (n) ความขัดแย้งกัน, See also: ความคิดเห็นไม่ตรงกัน, ความไม่เห็นด้วย, การแตกร้าว, Syn. contradiction, contrast, disparity, Ant. agreement |
discord | (n) ความไม่ลงรอยกัน, See also: ความขัดแย้ง, Syn. conflict, friction, Ant. agreement, feud |
discord | (vi) ไม่ลงรอยกัน, See also: ขัดแย้งกัน, Syn. disagree, differ, Ant. agree |
discordant | (adj) ซึ่งไม่สอดคล้องกัน, See also: ซึ่งไม่พร้อมเพรียงกัน, ซึ่งขัดแย้งกัน, Syn. contradictory, adversative, Ant. agreeable, similar |
disharmony | (n) การแตกแยก, See also: ความไม่ปรองดองกัน, ความไม่ลงรอยกัน, ความขัดแย้ง, Syn. conflict, discord, clash, Ant. agreement, harmony, concord |
dispute | (n) การโต้เถียง, See also: ความขัดแย้ง, การโต้แย้ง, การคัดค้าน, การไม่เห็นด้วย, Syn. argument, disagreement, dispute, Ant. support, agree |
dissension | (n) ความไม่ลงรอยกัน, See also: ความขัดแย้งกัน, ความไม่สอดคล้องกัน, Syn. conflict, discord, frictior, Ant. agreement, harmony |
agon | (แอก' ออน) n., (pl. agones) การแข่งขันที่มีการให้รางวัล, ความขัดแย้ง |
antinomy | (แอนทิน' โนมี) n. ความขัดแย้งกันระหว่างกฎหรือหลักการ, คำพูดหรือข้อความที่ขัดกันเอง. -antinoic (al) adj., (contradiction) |
argumentative | (อาร์กิวเมนเท'ทิฟว) adj. ชอบโต้เถียง, เกี่ยวกับโต้เถียง, ขัดแย้ง, Syn. disputatious, contentious, Ant. amenable |
belie | (บิไล') { belied, belieing, belies } vt. แสดงให้เห็นว่าไม่จริง, ขัดแย้ง, ไม่ตรงกับ, ใส่ความ, ทำให้คนอื่นเข้าใจผิด, See also: belier n., Syn. disguise |
challenge | (แชล'ลินจฺ) v., n. (การ) ท้า, ท้าทาย, ท้าดวล, ขอประลองฝีมือ, เรียกร้อง, แสดงข้อคิดเห็นขัดแย้ง |
clash | (แคล?) { clashed, clashing, clashes } vi. เสียงดังกระทบกัน, ปะทะโครม, ขัดแย้ง vt. ชนเสียงดัง n. เสียงดังปะทะ, ความขัดแย้ง, การต่อสู้การต่อต้าน, สงคราม |
collide | (คะไลดฺ') { collided, colliding, collides } vi. ปะทะกันโครม, ชนกันโครม, ขัดแย้ง, Syn. smash -Conf. knock |
collision | (คะลิส'เชิน) n. การปะทะกันโครม, ความขัดแย้ง, , Syn. clash |
combat | (v. คัมแบท', n. คอม'แบท) { combated, combating, combats } vt. ต่อสู้, ต่อต้าน, รบกับ vi. ต่อสู้ n. การรบ, การต่อสู้, ความขัดแย้ง, Syn. fight |
conflict | (คอน'ฟลิคทฺ) n. การต่อสู้, การเป็นปรปักษ์, การขัดแย้ง, การทะเลาะ, สงคราม, การสู้รบ. vi. ปะทะ, ต่อสู้, ทะเลาะ, See also: conflictingly adv. confliction n. ดูconflict conflictive adj. ดูconflict conflictory adj. ดูconflict คำที่มีความหมายเหมือ |
contestation | (คอนเทสเท'เชิน) n. การแข่งขัน, ความขัดแย้ง, การโต้เถียง |
contradiction | (คอนทระดิค'เชิน) n. การโต้แย้ง, การเถียง, ความขัดแย้ง, ความไม่ลงรอยกัน |
contradictory | (คอนทระดิค'ทะรี) adj. ซึ่งขัดแย้ง, ซึ่งไม่ลงรอยกัน, ซึ่งตรงกันข้าม n. ข้อเสนอที่ขัดแย้งกับข้อเสนออื่น. |
contraindicate | vt. (ยาชนิดหนึ่ง) ขัดแย้งกับ (ยาอีกชนิดหนึ่ง) โดยทำให้เกิดอาการได้, See also: contraindication n. |
contrariant | (คันแทร'เรียนท) adj. ซึ่งขัดแย้งกัน, ซึ่งตรงกันข้ามกัน, See also: contrariety n. |
contravene | (คอนทระ วีน') { contravened, contravening, contravenes } vt. ขัดแย้ง, ต่อต้าน., See also: contravener n. ดูcontravene, Syn. contradict, Ant. uphold |
contraventio | n. n. การขัดแย้ง, การต่อต้าน |
controversial | (คันทระเวอ'เชิล) adj. เกี่ยวกับการโต้เถียง, เกี่ยวกับการขัดแย้ง, , See also: controversialism n. controversialist n., Syn. disputatious |
denegation | n. การปฏิเสธ, การขัดแย้ง, การคัดค้าน |
discord | (ดิส'คอร์ด) { discorded, discording, discords } n. ความไม่ลงรอยกัน, ความบาดหมาง, ความไม่ประสานกัน, ความขัดแย้ง, การทะเลาะ, การต่อสู้, สงคราม, เสียงที่ไม่เข้ากัน. vi. ไม่เห็นด้วย, Syn. disagreement, strife |
discordant | (ดิสคอ'เดินทฺ) adj. ซึ่งขัดแย้งกัน, บาดหมางกัน, ทะเลาะกัน, ต่อสู้กัน, ไม่เข้าหู, ห้วน, Syn. contradictory |
discrepancy | (ดิสเครพ'เพินซี) n. ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่ตรงกัน, ความขัดแย้ง., See also: discrepance n., Syn. variance, difference, gap, Ant. similarity, unity |
dissension | (ดิเซน'เชิน) n. ความไม่เห็นด้วยอย่างแรง, ความไม่ลงรอยกัน, การทะเลาะ, ความขัดแย้ง, Syn. discord, disagreement |
dissent | (ดิเซนทฺ') vi. ไม่เห็นด้วยอย่างแรง, ไม่ลงรอยกัน, ทะเลาะ, ขัดแย้ง, คัดค้าน n. ความแตกต่างของความคิด, การแยกจากโบสถ์, ความแตกแยก., Syn. differ, disagree, except, disagreement, Ant. assent |
dissidence | (ดิส'ซิเดินซฺ) n. ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่เห็นพ้อง, ข้อเสนอที่แตกต่างหรือขัดแย้ง, Syn. dissent |
friction | (ฟริค'เชิน) n. การเสียดสี, การขัดสี, ความขัดแย้ง, ความไม่ลงรอยกัน., See also: less adj., Syn. attrition |
incompatible | (อินคัมแพท' ทะเบิล) adj. เข้ากันไม่ได้, ขัดแย้งกัน, ตรงกันข้าม, ต่อต้านกัน, ซึ่งไม่สามารถจะเป็นพร้อมกันได้, incompatibles บุคคลที่เข้ากันไม่ได้., See also: incompatibility, incompatibleness n. incompatibly adv. -S .unadapted, discrepant |
jar | (จาร์) { jarred, jarring, jars } n. กระปุก, ขวดปากกว้าง, เหยือก, โอ่ง, ไห, โถ, เสียงสั่นสะเทือนระคายหู, การสั่นสะเทือน, อาการช็อค, ความไม่เห็นด้วย v. สั่นสะเทือน, ขัดแย้ง, ชนโครม, ไม่เห็นด้วย, See also: jaringly adv. ดูjar, Syn. vibrate |
kick | (คิค) { kicked, kicking, kicks } v. เตะ, ถีบ, ตีกลับ, เตะฟุตบอล ได้คะแนน, เลิก, ต่อต้าน, ตีกลับ, มีกำลังวังชา n. การเตะ, การเตะลูกออกนอกเส้น, การไล่ออกจากงาน, การถีบกลับ (ของปืน) , ข้อขัดแย้ง, การบ่น, พลังงาน, กำลัง, ความตื่นเต้น (อย่างมีความสุข) , ความสนใจที่รุนแรงแต่ชั่วคราว, ล |
meet | (มีท) { met, met, meeting, meets } v. พบ, ประสบ, เผชิญ, กลายเป็น, ทำให้คุ้นเคยกับ, บรรจบ, สบตา, ขัดแย้ง, ต่อต้าน, ต้องใจ, ตกลง. n. การชุมนุม, การประชุม, ผู้ชุมนุม, สถานที่ชุมนุม adj. เหมาะสม, สมควร ., See also: meetly adv. meetness n. |
paradox | (แพ'ระดอคซ) n. ข้อความที่ขัดแย้ง, ความรู้สึกของคนทั่ว ๆ ไป, See also: paradoxical adj. |
strife | (สไทรฟฺ) n. ความขัดแย้งอย่างรุนแรง, การต่อสู้กัน, การปะทะกัน, การดิ้นรน, การทะเลาะวิวาท, ความสับสนอลหม่าน, ความพยายามเต็มที่, การแข่งขัน, See also: strifeful adj., Syn. discord, conflict-A. peace, concord |
tilt | (ทิลทฺ) vt. ทำให้เอียง, ทำให้กระดก, ทำให้ตะ-แคง, โจมตี, โถมเข้าใส่, ถือหอกเตรียมแทง. vi. เอียง, กระดก, ตะแคง, โถมเข้าใส่ด้วยหอก, โจมตี n. การเอียง, การกระดก, ตำแหน่งเอียง, ที่ลาด, การต่อสู้, การโต้เถียง, ความขัดแย้ง, การโจมตีด้วยหอก, -Phr. (full tilt เต็มแรง เต็มที่ |
trouble | (ทรัพ'เบิล) n. ความยุ่งยาก, ความยากลำบาก, การรบกวน, สิ่งรบกวน, อุปสรรค, ความเป็นทุกข์, ความเจ็บปวด, ความขัดแย้ง, ความไม่สบาย vt. รบกวน, ทำให้ยุ่งยาก, ทำให้เป็นทุกข์, ทำให้ลำบาก. -Phr. (in trouble ยุ่งยาก, ตั้งครรภ์ก่อนสมรส), See also: troubledly adv. troub |
war | (วอร์) n. สงคราม, ภาวะสงคราม, การรบ vi. ทำสงครามรบ, ต่อสู้, ขัดแย้ง, ต่อต้าน adj. เกี่ยวกับสงคราม, Syn. warfare, fight |
argumentative | (adj) ชอบโต้แย้ง, ชอบโต้เถียง, ชอบเถียง, ชอบขัดแย้ง |
clash | (n) การทะเลาะ, การปะทะ, การขัดแย้ง |
clash | (vt) ปะทะกัน, ชนกัน, กระทบกัน, ขัดแย้งกัน, โต้แย้งกัน, ทะเลาะกัน |
collide | (vt) ชน, กระแทก, ปะทะกัน, ขัดแย้ง, ไม่เห็นด้วย |
collision | (n) การปะทะกัน, การกระทบกัน, ความขัดแย้ง |
combat | (n) การต่อสู้, การต่อต้าน, การรบ, ความขัดแย้ง |
contradictory | (adj) ซึ่งตรงกันข้าม, ซึ่งขัดแย้ง, ซึ่งไม่ลงรอยกัน |
controversy | (n) ความขัดแย้ง, การโต้แย้ง, การโต้เถียง, การเถียง, การโต้คารม |
dissension | (n) การทะเลาะ, การวิวาท, ความขัดแย้ง, ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน |
dissent | (n) ความขัดแย้ง, ความแตกแยก, ความไม่เห็นด้วย, ความแตกร้าว |
dissent | (vi) ไม่เห็นด้วย, คัดค้าน, ขัดแย้ง, แตกร้าว, ทะเลาะ, ไม่ลงรอยกัน |
dissenter | (n) ผู้คัดค้าน, ผู้ขัดแย้ง, ผู้ไม่เห็นด้วย |
dissidence | (n) ความขัดแย้ง, การไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน |
expostulate | (vt) ขัดแย้ง, ทัดทาน, ว่ากล่าว, ตักเตือน, เตือน |
expostulation | (n) การขัดแย้ง, การทัดทาน, การว่ากล่าว, การตักเตือน |
factious | (adj) ชอบขัดแย้ง, เป็นก๊กเป็นเหล่า, เล่นพรรคเล่นพวก |
incompatible | (adj) ขัดแย้งกัน, ไม่ลงรอยกัน, เข้ากันไม่ได้ |
paradoxical | (adj) เหมือนขัดกัน, ที่ขัดแย้ง |
strife | (n) ความพยายาม, การวิวาท, การขัดแย้ง, การดิ้นรน |
war | (vi) ทำสงคราม, ต่อสู้, สู้รบ, ขัดแย้ง, ต่อต้าน, ทำศึก |