คลื่น | (n) wave, See also: roller, surf, ripple, billow, swell, surge, Example: ทะเลแถบนี้คลื่นแรงมากคงลงเล่นไม่ได้แน่, Count Unit: ลูก, Thai Definition: น้ำในทะเลหรือแม่น้ำลำคลองเป็นต้น ซึ่งบางส่วนมีอาการเคลื่อนไหวนูนสูงกว่าระดับโดยปกติแล้วลดลงและแลเห็นเคลื่อนไปเป็นระยะยาวหรือสั้นบนผิวน้ำ |
คลื่นยาว | (n) long wave, Ant. คลื่นสั้น, Example: การติดต่อสื่อสารในระยะใกล้ จะใช้คลื่นยาว เพราะมีความถี่ต่ำ, Thai Definition: คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ต่ำตั้งแต่ 30 กิโลเฮิรตช์ถึง 300 กิโลเฮิรตซ์ |
คลื่นไส้ | (v) feel queasy, See also: be/feel nauseated, be squeamish, be sick, Syn. คลื่นเหียน, คลื่นเหียนอาเจียน, Example: ฉันรู้สึกคลื่นไส้เมื่อได้กลิ่นกระเทียมโชยมา, Thai Definition: ปั่นป่วนในลำไส้ชวนให้อาเจียน |
ฟันคลื่น | (v) head into the waves, See also: sail through waves with the front end of a vessel, Syn. ฝ่าคลื่น, Example: ้คนขับเอาเรือเร็วฟันคลื่นกลางทะเลอย่างชำนาญ, Thai Definition: เอาหัวเรือตัดคลื่นไป |
ลูกคลื่น | (n) wave, See also: billow, swell, Syn. คลื่น, เกลียวคลื่น, Example: ทันทีที่ก้อนหินกระทบผิวน้ำจะเกิดลูกคลื่นตามมาเป็นระลอก, Count Unit: ลูก |
โต้คลื่น | (v) counter waves, See also: ride the waves (boat, ship), Thai Definition: ฟันฝ่าคลื่น |
คลื่นสมอง | (n) brain wave, Example: หมอบอกว่า แม่ต้องมารับการตรวจคลื่นสมอง ในวันพรุ่งนี้, Notes: (แพทย์) |
คลื่นสั้น | (n) short wave, Ant. คลื่นยาว, Example: คลื่นวิทยุระบบ เอ.เอ็มเป็นคลื่นสั้น แต่มีความถี่สูง ในต่างจังหวัดจึงรับฟังได้ดี, Thai Definition: คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูง ใช้ในการติดต่อสื่อสารระยะไกล |
คลื่นวิทยุ | (n) radio wave, Example: การสื่อสารแบบไร้สายจะใช้การติดต่อกันโดยอาศัยคลื่นวิทยุเป็นตัวกลางในการสื่อสารแทน, Thai Definition: คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ส่งผ่านบรรยากาศด้วยความถี่วิทยุ |
คลื่นเสียง | (n) sound wave, See also: audio waves, Example: ีโปรแกรมวิเคราะห์เสียงนี้ สามารถขยายคลื่นเสียงได้หลายเท่า, Thai Definition: เสียงดังสั่นสะเทือนในลักษณะเป็นคลื่น |
คลื่นเหียน | (v) feel queasy, Syn. คลื่นไส้, คลื่นเหียนอาเจียน, Example: ผมรู้สึกคลื่นเหียนขึ้นมาทันที เมื่อได้กลิ่นเหม็นเน่าของหมาตาย, Thai Definition: มีอาการคลื่นไส้รู้สึกจะอาเจียน |
ระลอกคลื่น | (n) ripples, See also: small wave, Syn. คลื่น, ลูกคลื่น, Example: เขาจดจ้องระลอกคลื่นที่เคลื่อนเกลียวกระทบฝั่งเลื่อมพรายเป็นบางส่วนด้วยแสงทอง |
คลื่นใต้น้ำ | (n) undercurrent, Example: ความรักของเขาทั้งสองเป็นเหมือนคลื่นใต้น้ำที่ไม่มีใครดูออก, Thai Definition: เหตุการณ์ที่กรุ่นอยู่ภายใน แต่ภายนอกดูเสมือนสงบเรียบร้อย |
คลื่นใต้น้ำ | (n) underwater waves, See also: undercurrent, Example: ชาวเรือเชื่อกันว่า การเกิดคลื่นใต้น้ำเป็นสัญญาณบอกเหตุว่าจะเกิดพายุใหญ่, Thai Definition: คลื่นในมหาสมุทรที่มีช่วงคลื่นยาวสม่ำเสมอและยอดเรียบเคลื่อนตัวมาจากแหล่งกำเนิดที่อยู่ไกลมาก ชาวเรือถือเป็นสัญญาณบอกเหตุว่าจะเกิดพายุ |
เกลียวคลื่น | (n) wave, Syn. ระลอกคลื่น, คลื่น, ลูกคลื่น, Example: เขาพุ่งตัวลงในน้ำที่เยือกเย็น ดำผุดดำว่ายอย่างร่าเริง ท่ามกลางเกลียวคลื่นที่ทบกันเข้ามาตลอดเวลา, Count Unit: ลูก, Thai Definition: น้ำในทะเลหรือแม่น้ำลำคลองเป็นต้น ซึ่งบางส่วนมีอาการเคลื่อนไหวนูนสูงกว่าระดับโดยปกติแล้วลดลงและแลเห็นเคลื่อนไปเป็นระยะยาวหรือสั้นบนผิวน้ำ |
คลื่นปานกลาง | (n) moderate electro magnetic waves, Thai Definition: คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ปานกลางตั้งแต่ 300 กิโลเฮิรตซ์ ถึง 3 เมกะเฮิรตซ์ |
คลื่นลูกใหม่ | (n) new wave, Example: นักประวัติศาสตร์จะพูดถึงการเคลื่อนไหวนี้ในฐานะคลื่นลูกใหม่ที่จะนำประวัติศาสตร์สู่ยุคใหม่, Count Unit: คน, Thai Definition: คนรุ่นใหม่ที่เข้ามามีบทบาทในกิจการนั้นๆ แทนคนรุ่นเก่า, Notes: (สำนวน) |
ความยาวคลื่น | (n) wave length, Example: เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆ มีความยาวคลื่นไม่เท่ากัน, Thai Definition: ความยาวระหว่างจุดใดจุดหนึ่งบนคลื่นลูกหนึ่งไปยังจุดในตำแหน่งเดียวกันบนคลื่นลูกถัดไป |
คลื่นแม่เหล็ก | (n) magnetic wave, Example: ยังไม่มีหลักฐานบ่งชัดว่าคลื่นแม่เหล็กจากจอภาพเป็นภัยต่อสุขภาพของผู้ใช้ |
กระดานโต้คลื่น | (n) surfboard, Example: พ่อเล่นกระดานโต้คลื่นในทะเลอย่างสนุกสนาน, Count Unit: แผ่น, Thai Definition: กระดานที่มีลักษณะแคบและยาว ใช้เล่นบนคลื่น โดยผู้เล่นยืนทรงตัวบนแผ่นกระดานแล้วให้คลื่นหนุนเคลื่อนไป |
คลื่นกระทบฝั่ง | (n) name of the Thai classical song, Thai Definition: ชื่อเพลงไทยชนิดหนึ่ง |
คลื่นกระทบฝั่ง | (n) surf, Example: ปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นเหมือนคลื่นกระทบฝั่ง ไม่มีใครสนใจ, Thai Definition: เรื่องราวที่ครึกโครมขึ้นมาแล้วกลับเงียบหายไป |
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า | (n) electromagnetic wave, Example: เจ้าหน้าที่ได้รีบรุดมาทำการตรวจสอบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากจอภาพ, Thai Definition: คลื่นที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความเข้มของสนามแม่เหล็ก และไฟฟ้าที่เกิดขึ้นพร้อมๆ กัน |
กระดานโต้คลื่น | น. กระดานที่มีลักษณะแคบและยาว ใช้เล่นบนคลื่นโดยผู้เล่นยืนทรงตัวบนแผ่นกระดานแล้วให้คลื่นหนุนเคลื่อนไป. (อ. surfboard), เรียกการเล่นเช่นนั้น ว่า การเล่นกระดานโต้คลื่น. |
คลื่น | (คฺลื่น) น. นํ้าในทะเลหรือแม่นํ้าลำคลองเป็นต้น ซึ่งบางส่วนมีอาการเคลื่อนไหวนูนสูงกว่าระดับโดยปรกติแล้วลดลงและแลเห็นเคลื่อนไปเป็นระยะยาวหรือสั้นบนผิวนํ้า, โดยปริยายใช้แก่สิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น คลื่นเสียง คลื่นมนุษย์ ผมดัดเป็นคลื่น ถนนเป็นคลื่น. |
คลื่นกระทบฝั่ง ๑ | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงโหมโรง อัตรา ๓ ชั้น พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว |
คลื่นกระทบฝั่ง ๑ | ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับสองไม้. |
คลื่นกระทบฝั่ง ๒ | น. เรื่องราวที่ครึกโครมขึ้นมาแล้วกลับเงียบหายไป. |
คลื่นความถี่ | น. คลื่นวิทยุหรือคลื่นแฮรตเซียนซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ต่ำกว่าสามล้านเมกะเฮิรตซ์ลงมาที่ถูกแพร่กระจายในที่ว่างโดยปราศจากสื่อนำที่ประดิษฐ์ขึ้น. |
คลื่นใต้น้ำ ๑ | น. คลื่นในมหาสมุทรที่มีช่วงคลื่นยาวสมํ่าเสมอและยอดเรียบเคลื่อนตัวมาจากแหล่งกำเนิดที่อยู่ไกลมาก ชาวเรือถือเป็นสัญญาณบอกเหตุว่าจะเกิดพายุ. |
คลื่นใต้น้ำ ๒ | น. เหตุการณ์ที่กรุ่นอยู่ภายใน แต่ภายนอกดูเสมือนสงบเรียบร้อย. |
คลื่นปานกลาง | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ปานกลาง ตั้งแต่ ๓๐๐ กิโลเฮิรตซ์ ถึง ๓ เมกะเฮิรตซ์ (หรือ ๓, ๐๐๐ กิโลเฮิรตซ์). |
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า | น. คลื่นที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความเข้มของสนามแม่เหล็กและไฟฟ้าที่เกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน ได้แก่ คลื่นวิทยุ อินฟราเรด แสงที่มองเห็นได้ อัลตราไวโอเลต เอกซเรย์ รังสีแกมมา และ รังสีคอสมิก. |
คลื่นยาว | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ตํ่า ตั้งแต่ ๓๐ กิโลเฮิรตซ์ ถึง ๓๐๐ กิโลเฮิรตซ์. |
คลื่นลูกใหม่ | น. คนรุ่นใหม่ที่มีการศึกษาและมีความคิดก้าวหน้าที่เข้ามามีบทบาทในการดำเนินงานด้านต่าง ๆ แทนคนรุ่นเก่า. |
คลื่นวิทยุ | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ส่งผ่านบรรยากาศด้วยความถี่วิทยุ. |
คลื่นสั้น | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูง ตั้งแต่ ๓ เมกะเฮิรตซ์ ถึง ๓๐ เมกะเฮิรตซ์ ซึ่งใช้ในการติดต่อสื่อสารระยะไกล. |
คลื่นแฮรตเซียน | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ระหว่างสิบกิโลไซเกิล ต่อวินาที และสามล้านเมกะไซเกิลต่อวินาที. |
คลื่นไส้ | (คฺลื่น-) ก. ปั่นป่วนในกระเพาะอาหารหรือลำไส้ชวนให้อาเจียน, โดยปริยายหมายความว่า น่ารังเกียจ, น่าสะอิดสะเอียน. |
คลื่นเหียน | ก. มีอาการคลื่นไส้จะอาเจียน. |
ความยาวคลื่น | น. ความยาวระหว่างจุดใดจุดหนึ่งบนคลื่นลูกหนึ่งไปยังจุดในตำแหน่งเดียวกันบนคลื่นลูกถัดไป. |
ฟันคลื่น | ก. แล่นเอาหัวเรือตัดคลื่นไป. |
เมาคลื่น | ก. มีอาการวิงเวียนคลื่นเหียนอาเจียนในเวลาที่เรือโดยสารถูกคลื่นในทะเล. |
ลูกคลื่น | ว. มีลักษณะสูง ๆ ต่ำ ๆ เป็นลอนอย่างคลื่น เช่น ถนนสายนี้เป็นลูกคลื่น. |
สงัดคลื่น | ก. ไม่มีเสียงคลื่น. |
สงัดคลื่นสงัดลม | ก. ไม่มีคลื่นไม่มีลม เช่น ทะเลสงัดคลื่นสงัดลม. |
สางคลื่น | น. คลื่นที่ยอดไม่แตก, คลื่นใต้นํ้า. |
กระโดก | ว. อาการที่ของลอยในน้ำเช่นเรือโอนไปโอนมาหรือยกขึ้นยกลง เนื่องจากแรงกระเพื่อมของน้ำ เช่น เรือกระโดกเพราะถูกคลื่นซัด. |
กระทั่ง ๑ | ก. ตี, กระแทก, เช่น เสียงโครมครื้นคลื่นกระทั่งฝั่งชลา (นิ. เพชร), อนึ่งเรือหน้าบอกให้เรือหลังราไว้ และเรือหลังมิได้ราอยู่ภายไปกระทั่งเรือหน้าแตกล่มก็ดี (สามดวง) |
กวาด | (กฺวาด) ก. ทำให้เตียนหรือหมดฝุ่นละอองด้วยไม้กวาดเป็นต้น, ทำให้ของเคลื่อนไปในทางเดียวกัน เช่น กวาดของลงจากโต๊ะ, โดยปริยายหมายความว่า เอาไปให้หมดสิ้นเหมือนอย่างกวาด เช่น โจรกวาดทรัพย์สิน คลื่นสึนามิกวาดคนและสิ่งของลงทะเล |
กัมมันตภาพรังสี | (กำมันตะ-) น. การเสื่อมสลายโดยตัวเองของนิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียร เป็นผลให้ได้อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา รังสีแกมมา ซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีช่วงคลื่นสั้นมากและมีพลังงานสูง ทั้งหมดนี้พุ่งออกมาด้วยความเร็วสูงมาก ในบางกรณีอาจมีพลังงานความร้อนและพลังงานแสงเกิดตามมาด้วย เช่น การเสื่อมสลายของนิวเคลียสของธาตุเรเดียมไปเป็นธาตุเรดอน. |
การแผ่รังสี | น. การส่งถ่ายพลังงานความร้อนในลักษณะเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วของแสง เมื่อเทหวัตถุใดดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้นไว้ได้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก็จะแปรสภาพเป็นพลังงานความร้อน เป็นผลให้เทหวัตถุนั้นมีอุณหภูมิสูงขึ้นกว่าเดิม. |
กำรู | ก. กรู, อาการที่ไปพร้อม ๆ กันอย่างเร็วโดยมีจุดหมาย, เช่น กำรูคลื่นเป็นเปลว (แช่งนํ้า). |
กิโลไซเกิล | น. หน่วยวัดความถี่ของกระแสไฟฟ้าสลับหรือคลื่นวิทยุ มีค่าเท่ากับ ๑, ๐๐๐ ไซเกิลต่อวินาที, ปัจจุบันใช้ว่า กิโลเฮิรตซ์. |
กิโลเฮิรตซ์ | น. หน่วยวัดความถี่ของกระแสไฟฟ้าสลับหรือคลื่นวิทยุ ใช้สัญลักษณ์ kHz ๑ กิโลเฮิรตซ์ มีค่าเท่ากับ ๑, ๐๐๐ เฮิรตซ์ หรือเท่ากับ ๑, ๐๐๐ ไซเกิลต่อวินาที. |
แกมมา | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือโฟตอน (photon) ที่มีพลังงานสูงมาก มีช่วงคลื่นสั้นมาก มักเรียกกันว่า รังสีแกมมา เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๓๐๐, ๐๐๐ กิโลเมตร/วินาที มีอำนาจในการเจาะทะลุได้สูง สามารถเจาะทะลุแผ่นตะกั่วหนาหลายเซนติเมตรได้ เกิดจากการเสื่อมสลายของสารกัมมันตรังสี เช่น ธาตุเรเดียม ธาตุโคบอลต์-๖๐ หรือเกิดจากการที่อนุภาคบีตาพุ่งชนอะตอมของธาตุ ใช้ประโยชน์ในการแพทย์รักษาโรคมะเร็งและในการเกษตร. |
ขื่น ๑ | ว. รสฝาดเฝื่อนชวนให้คลื่นไส้ ไม่ชวนกิน |
ไข้เหลือง | น. โรคติดต่อร้ายแรงชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อไวรัส มียุงเป็นพาหะ ผู้ป่วยมักมีอาการเวียนศีรษะ คลื่นเหียน อาเจียน ปวดศีรษะ และปวดหลัง ไข้ขึ้นสูงอย่างรวดเร็ว ชีพจรเต้นช้าลง ผิวและตาเหลือง อาจมีอันตรายถึงแก่ชีวิตภายใน ๖-๗ วัน. |
ความถี่ | น. จำนวนไซเกิล, การแกว่งกวัด, การสั่นสะเทือนหรือคลื่นใน ๑ วินาที เช่น ไฟฟ้ากระแสสลับมีความถี่ ๕๐ ไซเกิลต่อวินาที, ปัจจุบันใช้ เฮิรตซ์ แทน ไซเกิล |
ความถี่วิทยุ | น. ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ใช้ในการส่งวิทยุและโทรทัศน์ ขนาดตํ่าสุดตั้งแต่ ๑๐ ถึง ๓๐ กิโลเฮิรตซ์ ขนาดสูงสุดตั้งแต่ ๓๐, ๐๐๐ ถึง ๓๐๐, ๐๐๐ เมกะเฮิรตซ์. |
ซัด ๒ | ก. สาดโดยแรง เช่น ซัดทราย, สาดไปทั่ว ๆ เช่น ซัดปูนก่อนจะแต่งผิวให้เป็นมัน, เหวี่ยงไปโดยแรง เช่น ซัดหอก ซัดเชือกบาศ, ปล่อยลง, ทิ้งลง, เช่น ซัดลูกบาศก์, อาการที่คลื่นเหวี่ยงตัวเข้ากระทบโดยแรง เช่น คลื่นซัดฝั่ง คลื่นซัดเรือจนเรือโคลง, โยนความผิดไปให้คนอื่น เช่น นายดำซัดนายขาวว่าเป็นคนทำผิด, รำทิ้งแขนออกไปข้างหน้าหรือด้านข้าง เช่น ซัดแขน |
ไซเกิล | น. ชุดของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากภาวะหนึ่งจนกระทั่งกลับคืนมาสู่ภาวะแท้จริงเดิมอีก เช่น การเปลี่ยนแปลงในการเคลื่อนที่ของไฟฟ้ากระแสสลับเริ่มจากภาวะที่ไม่มีกระแสจนกระทั่งกระแสทวีค่าสูงสุดในทิศทางหนึ่ง แล้วลดลงจนไม่มีกระแส จากนี้กระแสทวีค่าขึ้นอีก จนสูงสุดในทิศทางตรงข้าม แล้วจึงกลับลดลงจนสู่ภาวะไม่มีกระแสอีก ดังนี้เรียกว่า กระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ครบ ๑ ไซเกิล จึงใช้จำนวนไซเกิลต่อวินาทีเป็นหน่วยวัดความถี่ของกระแสไฟฟ้าสลับและความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า, ปัจจุบันใช้ เฮิรตซ์ แทน ไซเกิล. |
ดรงค์ | (ดะ-) น. คลื่น, ระลอก. |
ดองดึง | น. ชื่อไม้เถาชนิด Gloriosa superbaL. ในวงศ์ Colchicaceae ปลายใบม้วนลงเป็นมือเกาะ กลีบดอกเป็นคลื่น สีแดงและเหลือง หัวมีพิษ. |
ดาวเทียม | น. วัตถุที่มนุษย์สร้างขึ้นเลียนแบบดาวบริวารของดาวเคราะห์ เพื่อให้โคจรรอบโลกหรือรอบเทห์ฟากฟ้าอื่น มีอุปกรณ์สำหรับเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับอวกาศและถ่ายทอดข้อมูลนั้นมายังโลก, วัตถุลักษณะดังกล่าวที่โคจรรอบโลก ใช้เป็นอุปกรณ์โทรคมนาคมด้วย เช่น ถ่ายทอดคลื่นวิทยุและโทรทัศน์ข้ามทวีป. |
ดูดเสียง | ก. กรองคลื่นความถี่เสียงที่ไม่เหมาะสมหรือไม่ต้องการ เพื่อให้อยู่ในระดับที่ไม่สามารถได้ยินเมื่อเวลาออกอากาศ. |
โดกเดก | ก. โยกเยก เช่น หลักแพสั่นโดกเดกไปมา, ยวบขึ้นยวบลง เช่น เรือโดกเดกเพราะถูกคลื่นซัด, กระโดกกระเดก ก็ว่า. |
ตรังค-, ตรังค์ | (ตะรังคะ-, ตะรัง) น. ลูกคลื่น. |
ตะพัก | น. ที่ราบใต้น้ำริมฝั่ง มีลักษณะลดต่ำลงเป็นขั้น เกิดจากแผ่นดินสูงขึ้นหรือต่ำลง หรือเกิดจากถูกคลื่นเซาะ |
ตะพัก | ตะกอนที่ทับถมในทะเลเป็นรูปขั้นบันได, ผาชันในทะเลที่ถูกคลื่นกัดเซาะขยายตัวออกไปจนเป็นลาน ซึ่งเรียกว่า ลานตะพักคลื่นเซาะ |
ตัวกลาง | น. สิ่งที่แสงหรือเสียงหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต้องเคลื่อนที่ผ่าน. |
โต้ ๒ | ก. ต้าน เช่น โต้คลื่น โต้ลม, ตอบกลับไป เช่น เขาตีลูกเทนนิสมา ก็ตีโต้กลับไป. |
ทยอย ๑ | (ทะ-) ว. เคลื่อนตามกันไปไม่ขาดระยะ เช่น คลื่นทยอยซัดฝั่ง, ไปหรือมาทีละน้อย เช่น ทยอยกันมาเที่ยวงาน ทยอยกันกลับบ้าน. |
Radio frequency identification systems | รหัสประจำตัวระบบคลื่นความถี่วิทยุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Ultrasonics | คลื่นเสียงความถี่สูง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Utrasonic imaging | การดูภาพด้วยคลื่นเหนือเสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Microwave | ไมโครเวฟ หรือ คลื่นไมโครเวฟ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Radio wave propagation | การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Wavelength division multiplexing | การมัลติเพลกซ์แบบแบ่งความยาวคลื่น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Diagnosis, Ultrasonic | การวิเคราะห์ด้วยคลื่นเหนือเสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Radio frequency | คลื่นความถี่ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Wave guide | ท่อนำคลื่น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Radio frequency identification system | ระบบกำหนดรหัสประจำตัวด้วยคลื่นความถี่วิทยุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Ultrasonic testing | การทดสอบด้วยคลื่นเหนือเสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Electromyography | การบันทึกคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Electroencephalography | การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมอง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Electrocardiography | การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Radio frequency modulation | การแปรรูปคลื่นความถี่วิทยุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Seismic exploration | การสำรวจด้วยคลื่นไหวสะเทือน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Blast wave | คลื่นแรงผลักดันฉับพลัน, คลื่นกระแทกที่แพร่ไปในอากาศ หรือ คลื่นที่มีความดันเพิ่มขึ้นซึ่งกำหนดได้แน่ชัด กระจายผ่านตัวกลางที่แวดล้อมอยู่ออกไปอย่างรวดเร็วจากศูนย์กลางของระเบิด หรือปรากฏการณ์ของแรงที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน [นิวเคลียร์] |
Bragg’s law | กฎของแบรกก์, กฎที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่นของรังสีเอกซ์ตกกระทบ มุมตกกระทบและระยะห่างของอะตอมซึ่งเป็นเงื่อนไขของการเกิดปรากฏการณ์การเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ กฎนี้ ดับเบิลยู. แอล. แบรกก์ (W. L. Bragg) คิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2455 และได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกับบิดา คือ ดับเบิลยู. เอช. แบรกก์ (W. H. Bragg) ในปี พ.ศ. 2458 [นิวเคลียร์] |
Bremsstrahlung | เบรมส์ชตราลุง, รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ถูกปล่อยออกมา เมื่ออนุภาคที่มีประจุถูกเร่งให้เร็วขึ้น หรือถูกหน่วงให้ช้าลง รังสีเอกซ์จากเครื่องเอกซเรย์ทั่วไปก็เป็นรังสีชนิดนี้ [นิวเคลียร์] |
Cerebrovascular syndrome | กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Central nervous system syndrome | กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Breakwaters | กำแพงกันคลื่น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Electromagnetic radiation | รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า, คลื่นไฟฟ้าและคลื่นแม่เหล็กที่ประสาน และมีอันตรกิริยาต่อกัน เช่น คลื่นแสง คลื่นวิทยุ รังสีแกมมา และรังสีเอกซ์ รังสีเหล่านี้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วแสง และสามารถผ่านสุญญากาศได้ [นิวเคลียร์] |
Electron linear accelerator | เครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น, เครื่องเร่งอิเล็กตรอน ที่อิเล็กตรอนถูกเร่งให้วิ่งเป็นเส้นตรงด้วยสนามไฟฟ้า มีสองแบบคือ แบบที่อิเล็กตรอนถูกควบคุมด้วยสนามไฟฟ้าสถิต และแบบที่ควบคุมด้วยสนามไฟฟ้าย่านความถี่คลื่นวิทยุ สามารถเร่งลำอิเล็กตรอนให้มีพลังงานระหว่าง 0.1-10 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ แบบแรกให้พลังงานของอิเล็กตรอนต่ำกว่าแบบหลัง เครื่องเร่งชนิดนี้เหมาะสำหรับงานวิจัยทางฟิสิกส์ และการปรับปรุงคุณภาพวัสดุหรือผลิตภัณฑ์ เช่น งานเคลือบผิววัตถุและงานผลิตเวชภัณฑ์ปลอดเชื้อ, Example: [นิวเคลียร์] |
Waves (Physics) | คลื่น (ฟิสิกส์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Electric waves | คลื่นไฟฟ้า [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Electromagnetic waves | คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Sound waves | คลื่นเสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Ultrasonic waves | คลื่นเหนือเสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Seismic waves | คลื่นไหวสะเทือน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
X-ray diffraction | การเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์, ปรากฏการณ์ที่รังสีเอกซ์ซึ่งสะท้อนจากภายในผลึก แล้วรวมกัน เกิดเป็นคลื่นสะท้อนที่มีความเข้มสูงสุด [นิวเคลียร์] |
X-rays | รังสีเอกซ์, รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูงไม่ได้มีต้นกำเนิดจากนิวเคลียสของอะตอม แต่เกิดขึ้นเมื่ออะตอมถูกกระตุ้น ทำให้อิเล็กตรอนวงในหลุดออกไป และอิเล็กตรอนวงถัดไปเข้ามาแทนที่ แล้วให้พลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของรังสีเอกซ์ หรือเกิดจากการระดมยิงเป้าโลหะหนักบางชนิด เช่น ทังสเตน ด้วยอิเล็กตรอนความเร็วสูง ซึ่งอิเล็กตรอนจะถูกหน่วงให้ช้าลงอย่างทันทีทันใดและปล่อยรังสีเอกซ์ออกมา บางคน เรียกรังสีเอกซ์ว่า รังสีเรินต์เก็น ตามชื่อของ วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เก็น นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันผู้ค้นพบรังสีนี้เมื่อ ปี พ.ศ. 2438 [นิวเคลียร์] |
Synchrotron | ซิงโครทรอน, เครื่องเร่งอนุภาค ที่อนุภาคถูกเร่งโดยสนามไฟฟ้าซึ่งเปลี่ยนแปลงด้วยความถี่ในย่านความถี่ของคลื่นวิทยุ และถูกบังคับให้วิ่งเป็นวงกลมรัศมีคงที่โดยการควบคุมของสนามแม่เหล็กที่เพิ่มขึ้น พร้อมสัมพันธ์กับความเร็วของอนุภาคที่เพิ่มขึ้น ซิงโครทรอนเครื่องแรก ชื่อ คอสโมทรอน (Cosmotron) สร้างขึ้น ในปี พ.ศ. 2495 ตั้งอยู่ที่ Brookhaven National Laboratory ประเทศสหรัฐอเมริกา สามารถเร่งโปรตอนให้มีพลังงานสูงถึง 2, 300 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์, Example: [นิวเคลียร์] |
Spectrum | สเปกตรัม, กราฟหรือแถบแสดงความเข้มของรังสีที่เป็นฟังก์ชันกับความยาวคลื่น พลังงาน ความถี่ โมเมนตัม มวล หรือปริมาณอื่นใดที่เกี่ยวข้องกับรังสีนั้น, Example: [นิวเคลียร์] |
Shock wave | คลื่นกระแทก, แรงผลักดันฉับพลัน ในอากาศ น้ำ หรือดิน ที่แผ่ขยายออกไปเป็นคลื่นเนื่องจากการระเบิด การเกิดคลื่นกระแทกมี 2 ระยะ ระยะที่หนึ่ง แรงผลักดันของตัวกลางเพิ่มขึ้นฉับพลันถึงระดับสูงสุดแล้วลดลงสู่ระดับปกติ ระยะที่สอง แรงผลักดันของตัวกลางจะลดลงแล้วกลับสู่ระดับปกติ คลื่นกระแทกที่เกิดในอากาศมักเรียกว่า คลื่นแรงผลักดันฉับพลัน (ดู blast wave ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Roentgen rays | รังสีเรินต์เก็น, รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูงไม่ได้มีต้นกำเนิดจากนิวเคลียสของอะตอม แต่เกิดขึ้นเมื่ออะตอมถูกกระตุ้น ทำให้อิเล็กตรอนวงในหลุดออกไป และอิเล็กตรอนวงถัดไปเข้ามาแทนที่ แล้วให้พลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของรังสีเอกซ์ หรือเกิดจากการระดมยิงเป้าโลหะหนักบางชนิด เช่น ทังสเตน ด้วยอิเล็กตรอนความเร็วสูง ซึ่งอิเล็กตรอนจะถูกหน่วงให้ช้าลงอย่างทันทีทันใดและปล่อยรังสีเอกซ์ออกมา บางคน เรียกรังสีเอกซ์ว่า รังสีเรินต์เก็น ตามชื่อของ วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เก็น นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันผู้ค้นพบรังสีนี้เมื่อ ปี พ.ศ. 2438 [นิวเคลียร์] |
Facsimile | โทรภาพ, ภาพหรือรูปที่ส่งมาทางไกล, กรรมวิธีในการถอดแบบเอกสารตีพิมพ์ หรือรูปภาพโดยทางคลื่นวิทยุ หรือทางสาย เช่นสายโทรศัพท์, Example: Facsimile ออกเสียงตามพจนานุกรมอังกฤษว่า แฟ็ก-ซิม-อิ-ลี ปัจจุบันมักจะเขียนเป็น โทรสาร หรือทับศัพท์ แฟ็กซ์ ไม่ต้องใส่จุด (Fax) [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Radiation, nuclear | รังสีนิวเคลียร์, การแผ่รังสีของนิวเคลียส, รังสีในรูปของอนุภาคหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แผ่ออกมาจากนิวเคลียสของนิวไคลด์กัมมันตรังสี เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา และรังสีแกมมา <br>(ดู radiation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Radiation syndrome | กลุ่มอาการป่วยจากรังสี, กลุ่มอาการที่ปรากฏเมื่อมนุษย์ได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ มี 3 กลุ่มอาการขึ้นอยู่กับปริมาณรังสีที่ได้รับ ได้แก่ กลุ่มอาการทางไขกระดูกหรือกลุ่มอาการทางระบบเลือด กลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร และกลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง ทุกกลุ่ม จะแสดงอาการเป็น 3 ระยะ คือ <br>-ระยะเริ่มต้น (prodromal stage) มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย</br> <br>-ระยะแอบแฝง (latent stage) เป็นระยะที่ไม่แสดงอาการ</br> <br>-ระยะแสดงอาการที่แท้จริง (manifest illness stage) มีอาการที่แสดงถึงความเสียหายของอวัยวะ</br> <br>(ดู bone marrow syndrome, cerebrovascular syndrome และ gastrointestinal syndrome ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
radiation | รังสี, การแผ่รังสี, พลังงานที่แผ่จากต้นกำเนิดรังสีผ่านอากาศหรือสสาร ในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น ความร้อน แสงสว่าง คลื่นวิทยุ รังสีเอกซ์ รังสีแกมมา หรือเป็นกระแสของอนุภาคที่เคลื่อนที่เร็ว เช่น รังสีคอสมิก รังสีแอลฟา รังสีบีตา อนุภาคนิวตรอน อนุภาคโปรตอน [นิวเคลียร์] |
Photon | โฟตอน, กลุ่มหนึ่งๆ ของพลังงานในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีโมเมนตัมซึ่งเป็นลักษณะของอนุภาค แต่ไม่มีมวลหรือประจุไฟฟ้า ตัวอย่างเช่น รังสีแกมมา และรังสีเอกซ์ [นิวเคลียร์] |
Nuclear radiation | รังสีนิวเคลียร์, การแผ่รังสีของนิวเคลียส, รังสีในรูปของอนุภาคหรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่แผ่ออกมาจากนิวเคลียสของนิวไคลด์กัมมันตรังสี เช่น อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา และรังสีแกมมา <br>(ดู radiation ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
hertz | หน่วยวัดจำนวนคลื่นไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในหนึ่งวินาที โดยทั่วไปใช้วัดความเร็วในการทำงานของคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์] |
Thematic Mapper | ระบบแยกข้อมูลภาพจากดาวเทียมเป็นภาพหลายช่วงคลื่น, ระบบแยกข้อมูลภาพจากดาวเทียมเป็นภาพหลายช่วงคลื่น เพื่อแยกแยะลักษณะต่างๆบนพื้นดิน โดยทั่วไปจะใช้ ๗ ช่วงคลื่น และทำให้สามารถจำแนกชนิดของวัตถุบนพื้นดินได้งาน เช่น ดิน พืชพรรณ ความแข็งแรงของพืช ชนิดของพืชพรรณ ปริมาณของมวลชีวภาพ (biomass) จำแนกแหล่งน้ำ บอกความชื้นของดิน แยกระหว่างเมฆกับหิมะ แสดงแหล่งพลังงานความร้อน และจำแนกชนิดของหิน [Assistive Technology] |
Gastrointestinal syndrome | กลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 10 เกรย์ขึ้นไป มีอาการท้องร่วง คลื่นไส้ และอาเจียนอย่างรุนแรง และจะเสียชีวิตภายใน 2 สัปดาห์ [นิวเคลียร์] |
Acoustic emission testing | การทดสอบด้วยคลื่นอะคูสติก [TU Subject Heading] |
Antenna radiation patterns | รูปแบบการกระจายคลื่นของสายอากาศ [TU Subject Heading] |
Echocardiography | การบันทึกคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ [TU Subject Heading] |
Electric waves | คลื่นไฟฟ้า [TU Subject Heading] |
Electrocardiography | การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ [TU Subject Heading] |
ช่วงคลื่น | [chūang khleūn] (n, exp) EN: wavelength FR: longueur d'onde [ f ] |
ฟันคลื่น | [fan khleūn] (v, exp) EN: head into the waves ; sail through waves FR: fendre les flots |
การคลื่น | [kān khleūn] (n) EN: motion FR: mouvement [ m ] |
การคลื่นที่แบบบราวน์ | [kān khleūn thī baēp Brāwon] (n, exp) EN: Brownian motion FR: mouvement Brownien [ m ] |
การสะท้อนของคลื่น | [kān sathøn khøng khleūn] (n, exp) EN: reflection of waves FR: réflexion des ondes [ f ] |
คลื่น | [khleūn] (n) EN: wave ; curl FR: vague [ f ] ; houle [ f ] |
คลื่น | [khleūn] (n) EN: wave FR: onde [ f ] |
คลื่นเหียน | [khleūnhīen] (v) EN: feel queasy FR: avoir des nausées |
คลื่นหัวแตก | [khleūn hūa taēk] (x) EN: breakers |
คลื่นขนาดกลาง | [khleūn khanāt klāng] (n, exp) EN: medium wave FR: onde moyenne [ f ] |
คลื่นความร้อน | [khleūn khwāmrøn] (n, exp) EN: heat wave FR: vague de chaleur [ f ] |
คลื่นกลาง | [khleūn klāng] (n, exp) EN: medium wave FR: onde moyenne [ f ] |
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า | [khleūn maēlek faifā] (n, exp) EN: electromagnetic radiation ; electromagnetic wave FR: onde électromagnétique [ f ] ; rayonnement électromagnétique [ m ] |
คลื่นเหนือเสียง | [khleūn neūasīeng] (n, exp) EN: ultrasound FR: ultrason [ m ] |
คลื่นแผ่นดินไหว | [khleūn phaendinwai] (n, exp) EN: seismic wave FR: onde sismique [ f ] |
คลื่นแสง | [khleūn saēng] (n, exp) EN: light wave ; video wave FR: onde lumineuse [ f ] |
คลื่นแสงสว่าง | [khleūn saēng sawāng] (n, exp) FR: onde lumineuse [ f ] |
คลื่นไส้ | [khleūnsai] (v) EN: feel queasy ; be/feel nauseated ; be squeamish ; nausea ; feel sick FR: avoir des nausées |
คลื่นสั้น | [khleūn san] (n, exp) EN: short wave [ f ] FR: onde courte [ f ] |
คลื่นเสียง | [khleūn sīeng] (n, exp) EN: sound wave ; audio wave FR: onde acoustique [ f ] |
คลื่นใต้น้ำ | [khleūn tāinām] (n, exp) EN: ground swells |
คลื่นตามขวาง | [khleūn tām khwāng] (n, exp) EN: transverse wave FR: onde transversale [ f ] |
คลื่นตามยาว | [khleūn tām yāo] (n, exp) EN: longitudinal wave FR: onde longitudinale [ f ] |
คลื่นตกกระทบ | [khleūn tokkrathop] (n, exp) EN: incident wave FR: onde incidente [ f ] |
คลื่นวิทยุ | [khleūn witthayu] (n, exp) EN: radio wave FR: onde radio [ f ] |
คลื่นใหญ่ | [khleūn yai] (n) EN: billow ; large wave FR: flot [ m ] ; grosse vague [ f ] |
คลื่นยักษ์ | [khleūn yak] (n, exp) EN: tsunami FR: raz-de-marée [ m ] ; tsunami [ m ] |
คลื่นยาว | [khleūn yāo] (n, exp) EN: long wave FR: onde longue [ f ] |
ความยาวคลื่น | [khwām yāo khleūn] (n, exp) EN: wavelength FR: longueur d'onde [ f ] |
กล้องถ่ายภาพหลายช่วงคลื่น | [klǿng thāi phāp lāi chūang khleūn] (n, exp) EN: multispectral camera FR: caméra multispectrale [ f ] |
กล้องโทรทรรศน์ช่วงคลื่นแสงสว่าง | [klǿng thōrathat chūang khleūn saēng sawāng] (n, exp) EN: optical telescope FR: télescope optique [ m ] |
กระดานโต้คลื่น | [kradān tō khleūn] (x) EN: surfboard FR: planche de surf [ f ] |
ลูกคลื่น | [lūkkhleūn] (n) EN: wave ; billow ; swell FR: onde [ f ] ; rond [ m ] ; volute [ f ] |
เมาคลื่น | [mao khleūn] (v, exp) EN: be seasick FR: avoir le mal de mer |
นกโต้คลื่น | [nok tō khleūn] (n) EN: Hydrobatidae |
นกโต้คลื่นสีคล้ำ | [nok tō khleūn sī khlam] (n, exp) EN: Swinhoe's Storm-Petrel FR: Océanite de Swinhoe [ m ] ; Pétrel de Swinhoe |
โรคเมาคลื่น | [rōk mao khleūn] (n, prop) EN: sea sickness FR: mal de mer [ m ] |
aflutter | (adv) ที่สะบัดเป็นคลื่นไปตามลม (เช่นธงชาติ), See also: ที่สะบัดพลิ้ว, Syn. flapping |
backwash | (adj) คลื่นที่ไหลกลับมากระทบฝั่ง (หลังจากกระแทกฝั่งแล้ว), Syn. swash, wave |
baffle | (vt) แทรกเข้ามาควบคุม (การไหลของก๊าซ, การส่งคลื่นเสียงหรือแสง) |
band | (n) แถบคลื่นความถี่, See also: แถบคลื่นวิทยุ, Syn. waveband |
bandwidth | (n) ช่วงความถี่ของคลื่นวิทยุ |
breaker | (n) คลื่นขนาดใหญ่ |
breakwater | (n) เขื่อนกันชายฝั่งหรือท่าเรือจากคลื่นของน้ำทะเล |
bring up | (phrv) คลื่นไส้อาเจียน, See also: อาเจียน, Syn. cast up, chuck up, come up |
calm | (adj) ที่สงบเงียบ, See also: ที่มีสถานการณ์สงบ, ที่ไม่มีคลื่นลม, Syn. quiet, undisturbed, at peace, Ant. agitated |
choppy | (adj) ที่มีคลื่นมาก, Syn. wavy, rneven |
cochlea | (n) อวัยวะรูปหอยโข่งในช่องหู (มีเซลล์ขนช่วงในการตอบสนองต่อคลื่นเสียงที่มากระทบ), See also: คอเคีย |
crest | (n) ยอด, See also: จุดบนสุด เช่น ยอดเขา, ยอดคลื่น เป็นต้น, Syn. peak, tip, top |
crispy | (adj) เป็นลอน, See also: เป็นคลื่น, Syn. curly, wavy |
dash over | (phrv) ซัดอย่างแรง (คลื่น, น้ำทะเล), See also: ชน, กระแทก, Syn. dash against, dash to |
fetch up | (phrv) คลื่นไส้อาเจียน, See also: คลื่นเหียน, อ้วก, ไม่สบาย, Syn. bring up |
dial | (vi) หมุนโทรศัพท์, See also: หมุนหาคลื่นในวิทยุ, Syn. phone, ring, telephone |
dial | (vt) หมุนโทรศัพท์, See also: หมุนหาคลื่นในวิทยุ, Syn. phone, ring, telephone |
electrocardiograph | (n) เครื่องตรวจคลื่นไฟฟ้าของหัวใจ |
electroencephalogram | (n) ภาพคลื่นกระแสไฟฟ้าของสมอง |
electroencephalograph | (n) เครื่องมือวัดและบันทึกคลื่นไฟฟ้าของสมอง |
electromagnetic wave | (n) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า |
escallop | (n) ริมผ้าที่เป็นรูปคลื่น, See also: ขอบผ้าที่เป็นรูปคลื่น, Syn. scallop |
foul | (adj) น่ารังเกียจ, See also: น่าขยะแขยง, น่าคลื่นไส้, ชวนคลื่นเหียน, Syn. disgusting, revolting, repulsive |
gag | (vi) คลื่นเหียน, See also: สำรอก, คลื่นไส้อาเจียน |
halcyon | (n) นกเทพยดาที่เชื่อว่ามีอำนาจทำให้ทะเลและคลื่นสงบได้ |
hi-fi | (n) เครื่องรับส่งคลื่นวิทยุที่มีประสิทธิภาพสูงและชัด |
high fidelity | (n) การรับส่งคลื่นเสียงที่ชัดและมีเสียงรบกวนน้อยมาก, Syn. hi-fi |
washed up | (idm) ลม หรือคลื่นนำพามา, See also: ทำให้หมดอาชีพ |
infrasonic | (adj) เกี่ยวกับคลื่นเสียงความถี่ต่ำเกินกว่ามนุษย์ได้ยิน (<20 เฮิรตซ์) |
lap against | (phrv) (เสียง) น้ำกระทบ, See also: เสียง คลื่นซัด |
lap on | (phrv) (เสียง) น้ำกระทบ, See also: เสียง คลื่นซัด, Syn. lap against |
jetty | (n) กำแพงที่ทำขึ้นเพื่อต้านคลื่นหรือลม, Syn. breakwater |
labor | (vi) โคลง (เรือ), See also: โคลงเคลง, โต้คลื่น, Syn. roll, pitch |
lap | (vi) ซัด (คลื่น) |
lap | (vt) ซัด (คลื่น) |
lash | (vt) กระทบอย่างแรง (คลื่น, ฝน), See also: สาด, ซัด, Syn. beat |
lash | (n) การกระทบอย่างแรงของคลื่นหรือสายฝน, See also: การซัด, การสาด, Syn. beat, impact |
marcel | (vt) ดัดผมให้เป็นคลื่น |
marcel | (n) ทรงผมแบบดัดเป็นคลื่น, Syn. marcelwave, marcel wave |
maser | (n) เครื่องขยายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โดยเฉพาะ microwave |
medium wave | (n) คลื่นวิทยุที่มีความยาวคลื่น 100-1000 เมตร |
microwave | (n) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่สูงมาก, See also: ไมโครเวฟ |
motion sickness | (n) อาการคลื่นไส้อาเจียน, Syn. nausea |
nasty | (adj) น่าคลื่นไส้, See also: น่าสะอิดสะเอียน, ไม่น่ายินดี, ไม่น่าพอใจ |
nausea | (n) อาการคลื่นไส้, See also: อาการพะอืดพะอม, อาการคลื่นเหียน, Syn. aversion, contempt, disgust, Ant. liking, readiness, willingness |
nauseant | (n) สิ่งที่ทำให้คลื่นไส้ |
nauseate | (vi) คลื่นไส้, See also: ไม่สบาย, ป่วย |
nauseated | (adj) ซึ่งรู้สึกพะอืดพะอม, See also: คลื่นเหียน, ไม่สบาย, Syn. queasy, sick, sickish |
nauseated | (adj) น่าขยะแขยง, See also: น่ารังเกียจ, น่าคลื่นไส้ |
nauseous | (adj) ซึ่งรู้สึกคลื่นไส้, See also: คลื่นเหียน, Syn. loathsome, noisome, offensive |
acoustic | (อะคู' สทิค) adj. เกี่ยวกับการฟัง, เกี่ยวกับการควบคุมเสียง, ซึ่งใช้บันทึกคลื่นเสียง |
actinic ray physics. | รังสีคลื่นสั้น, รังสีพันสีม่วง (which produces photochemical effects) |
ad nauseam | (แอคนอ' เซียม) น่าคลื่นไส้, น่าชัง, น่ารังเกียจ |
altitude sickness | โรคความสูงซึ่งมีอาการคลื่นเหียน อาเจียน หายใจแรงเนื่องจากขาดอ็อกซิเจน |
anacoustic | (แอนนะคุศ' ทิค) adj. เกี่ยวกับบริเวณเหนือบรรยากาศโลกขึ้นไป ที่ซึ่งคลื่นเสียงไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ เนื่องจากสื่อที่จะเป็นตัวนำ |
antinausea | (แอนทีนอ' เซีย) adj. ป้องกันหรือบรรเทาอาการคลื่นเหียนอาเจียน |
antinode | (แอน' ทิโนด) n. บริเวณที่มีช่วงกว้างของคลื่นมากที่สุด -antinodal adj. |
aquaplane | (แอค'วะเพลน) n. แผ่นกระดานโต้คลื่นที่มีเรือลาก. -vi. โต้คลื่นแผ่นกระดานที่มีเรือลาก. -aquaplaner n. |
awash | (อะวอช') adj., adv. ถูกคลื่นกระทบ, จุ่มอยู่ใต้น้ำ, เสมอกับระดับน้ำ, น้ำซัดถึง, เปียกน้ำ, ท่วมน้ำ, Syn. washing about |
band | (แบนดฺ) { banded, banding, bands } n. สายคาด, สายรัด, แถบ, ปลอก, หมู่, พวก, คณะ, วงดนตรี, คณะตนตรี, ช่วงความถี่ของคลื่นวิทยุ, สิ่งผูกมัดคน, โซ่ตรวน, ปลอกรัด, พันธะ, ข้อผูกพัน vt., vi. ใช้สายผูกรัด, รวมกลุ่ม, ประดับด้วยสายหรือแถบ, See also: bander n. |
bellows | (เบล'โลซ) n. ที่สูบลมที่ใช้มือ, หีบลม, ปอด, หนังหุ้มที่เป็นลูกคลื่น (เช่นของกล้องถ่ายรูป) |
billow | (บิล'โล) n. คลื่นใหญ่ { billowed, billowing, billows } vi., vt. (ทำให้) เป็นคลื่นที่ไล่ตาม, บวมออก, มีคลื่น, Syn. increase |
billowy | (บิล'โลอี) adj. เต็มไปด้วยลูกคลื่น, See also: billowiness |
blast | (บลาสทฺ) { blasted, blasting, blasts } n. การระเบิด, การเป่าแตร, การเป่านกหวีด, เสียงระเบิด, เสียงอึกกระทึก, ลมแรงจัด, ลมอัดเข้าไปในเตา, คลื่นกระทบ, ความเร็วสุดขีด, กำลังสุดขีด vt. ทำให้เกิดเสียงดังมาก, เป่าแตร, ทำให้เหี่ยว, ทำลาย, ระเบิด, ส่งลมเข้าไป, โจมตี, วิจารณ์อย่างเผ็ |
brandish | (แบรน'ดิช) { brandished, brandishing, brandishes } vt. กวัดแกว่ง (อาวุธ) -n. คลื่น, การกวัดแกว่งอาวุธ, See also: brandisher n. ผู้กวัดแกว่ง อาวุธ |
breaker | (เบรค'เคอะ) n. เครื่องบด, ผู้หัก, ผู้ทำลาย, คลื่นแยกเส้นใยผ้าจากสิ่งแปลกปลอม, ผู้บุกเบิก, ผู้ทำให้เชื่อง, ตัวแยกทางเดินไฟฟ้า, ยางในรถยนตร์ |
breakwater | (เบรค'วอเทอะ) n. เครื่องกีดกั้นคลื่น (เช่นที่อยู่หน้าท่าเรือ |
burble { burbled | vi. ทำเสียงไหลริน, พูดพึมพำ, เกิดเป็นฟอง n. การไหลริน, ละลอกคลื่น, คำพูดที่เหลวไหล., See also: burbler n. ดูburble |
burbles } | vi. ทำเสียงไหลริน, พูดพึมพำ, เกิดเป็นฟอง n. การไหลริน, ละลอกคลื่น, คำพูดที่เหลวไหล., See also: burbler n. ดูburble |
burbling | vi. ทำเสียงไหลริน, พูดพึมพำ, เกิดเป็นฟอง n. การไหลริน, ละลอกคลื่น, คำพูดที่เหลวไหล., See also: burbler n. ดูburble |
choppy | adj. เป็นคลื่นที่แตกชัดสาด, ไม่แน่นอน, ซึ่งมักเปลี่ยนทิศทาง, See also: choppiness n. |
churn | (เชิร์น) { churned, churning, churns } n. เครื่องปั่น, เครื่องกวน, กระป๋องนมขนาดใหญ่. vt. กวนหรือคนให้เป็นเนย, กวน, ปั่น, (คลื่น) ซัดซาด, พัดหรือสาด, สาดเป็นฟอง, See also: churner n. ดูchurn |
coherer | (โคเฮีย'เรอะ) n. เครื่องมือวัดคลื่น, ตัววัดคลื่น |
comb | (โคมบ์) { combed, combng, combs } n. หวี, เครื่องมือแยกเส้นใย, รวงผึ้ง, หุบเขาแคบ vt. หวี (ผม) , ขจัดออกด้วยหวี, สาง, สะสาง, เสาะแสวงทุกหนทุกแห่ง, ค้นอย่างละเอียด. vi. (คลื่น) กลิ้งชัด |
crest | (เครสทฺ) { crested, cresting, crests } n. หงอน, หงอนไก่, ยอด, สิ่งประดับบนยอด, ยอดเขา, ยอดคลื่น, ยอดหมวก, ขนแผงคอม้าหรือสิงโต, โหนก, ส้น, ลายประดับ, ตราประจำตระกูล vi. เกิดเป็นยอด, บรรลุถึงจุดสุดยอด. -Phr. (on the crest of the wave ในสมัยรุ่งเรืองที่สุด) คำศัพท์ย่อย: |
crinkle | (คริง'เคิล) { crinkled, crinkling, crinkles } vt., vi. (ทำให้) ย่น, เป็นคลื่น, หยิก, เกิดเสียงกริ๊ง ๆ n. ลอน, คลื่น, สิ่งที่เป็นลอนหรือหยิก, Syn. twist, wrinkle, twirl, crackle, Ant. smooth |
crinkly | (คริง'คลี่) adj. เป็นลอน, หยิก, เป็นคลื่น, มีเสียงดังกริ้ง ๆ |
crispate | (ครีส'เพท, -ทิด) adj. หยิก, เป็นลอน, เป็นคลื่น, ย่น, See also: crispation n. ดูcrispate |
crispated | (ครีส'เพท, -ทิด) adj. หยิก, เป็นลอน, เป็นคลื่น, ย่น, See also: crispation n. ดูcrispate |
cymo- | Pref. "คลื่น" |
decoy | (ดิคอย') { decoyed, decoying, decoys } n. นกต่อ, สิ่งล่อ, ผู้ล่อลวง, เป้าหลอก, สิ่งที่สามารถสะท้อนคลื่นเรดาร์. vt. ล่อด้วยนกต่อ vi. กลายเป็นนกต่อ, Syn. lure |
demodulate | (ดิมมอด'จะเลท) vt. ทำให้ถูกควบคุมได้, ทำให้ถูกปรับคลื่นได้., See also: demodulation n. |
e.k.g. | abbr. electrocardiogramภาพคลื่นไฟฟ้าของหัวใจ |
echo | (เอค'โค) n. เสียงสะท้อน, เสียงก้อง, การซ้ำ, การเลียนแบบ, การหวนกลับ, ผู้เลียนแบบ, การสะท้อนกลับของคลื่นวิทยุ. -v. สะท้อน, หวนกลับ, เลียนแบบ, ทำซ้ำ, See also: echoer n. ดูecho, Syn. reverberation, imitation, imitate -pl. echoes |
ekg | abbr. electrocardiogramภาพคลื่นไฟฟ้าของหัวใจ |
electrocardiogram | n. ภาพคลื่นไฟฟ้าของหัวใจ, Syn. EKG, E.K.G., ECG, E.C.G., cardiogram |
electrocardiograph | n. เครื่องตรวจและบันทึกคลื่นไฟฟ้าของหัวใจ cardiograph |
ethernet | (อีเทอร์เนท) เครือข่ายการสื่อสารที่ส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์โดยการใช้โคแอคเซียลเคเบิลสายเดียวเดินผ่านไปตามเครื่องคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ที่อยู่ในเครือข่าย ซึ่งใช้สัญญาณความถี่คลื่นวิทยุที่ส่งผ่านสายเคเบิล บริษัทซีร็อกซ์ (Xerox) เป็นผู้เริ่มพัฒนานำมาใช้ก่อน |
fcc | (เอฟซีซี) ย่อมาจากคำว่า Federal Communication Commission (แปลว่า คณะกรรมการกลางกำกับดูแลกิจการสื่อสาร) ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ที่มีหน้าที่ควบคุมในเรื่องการสื่อสาร โดยเฉพาะการควบคุมสัญญาณความถี่ของคลื่นวิทยุ |
federal communication com | คณะกรรมการกลางกำกับดูแลกิจการสื่อสารใช้ตัวย่อว่า FCC (อ่านว่า เอฟซีซี) เป็นหน่วยงานของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ที่มีหน้าที่ควบคุมในเรื่องการสื่อสาร โดยเฉพาะการควบคุมสัญญาณความถี่ของคลื่นวิทยุ |
fetch | (เฟทชฺ) { fetched, fetching, fetches } vt. ไปเอามา, ไปหยิบมา, เอามา, นำมา, ทำให้มา, ขายได้, ได้, (สูดลมหายใจ) , ถอนใจ, ทำให้ (ตกลงมา) , นำกลับ, ทำให้เกิดขึ้น. vi. ไปเอามา, เคลื่อน, แล่นเรือ, เอากลับ. -n. การไปเอามา, อุบาย, แผนการ, เขตลมคลื่น., ผี, See also: fetch a breat ไปนำมาหมายถึงนำข้อมูลหรือคำสั่งจากหน่วยความจำเข้าไปใส่ไว้ในหน่วยประมวลผลกลาง CPU เพื่อทำการประมวลผล บางทีใช้หมายถึงการโอนย้ายข้อมูลจากสื่อ medium เข้าไปเก็บในหน่วยความจำ |
groyne | (กรอยน์) n. ส่วนยื่นหรือเขื่อนที่ชายฝั่งสำหรับป้องกันคลื่นน้ำ |
gyrose | (ไจ'โรส) adj. มีลักษณะเป็นคลื่น |
gyrus | (ไจ'รัส) n. ลอนสมอง, คลื่นสมอง, คลื่น, ลอน, Syn. convolution -pl. gyri |
halcyon | (แฮล'เซียน) n. นกเทพยดาที่เชื่อว่ามีอำนาจทำให้ทะเลและคลื่นสงบได้ |
hi-fi | (ไอ'ไฟ) n., adj. เครื่องรับส่งคลื่นวิทยุที่มีประสิทธิภาพสูง และชัด |
high fidelity | การรับส่งคลื่นเสียงที่ชัดและมีเสียงรบกวนน้อย., See also: high-fidelity adj. |
hummock | (ฮัม'มอค) n. ที่ดินลักษณะคลื่น, เนินกลม, ที่สูงเนินน้ำแข็ง., See also: hummocky adj. |
illness | (อิล'นิส) n. การไม่สบาย, การเจ็บไข้ได้ป่วย, อาการคลื่นเหียนอาเจียน, ความเลวร้าย |
infrared | (อินฟราเรด') n. รังสีใต้แดง มีความยาวคลื่นแสง0.8 - 1, 000ไมครอนส์ เป็นรังสีที่มองไม่เห็น., Syn. infra-red |
atmospherics | (n) การรบกวนคลื่นวิทยุ |
billow | (n) ลูกคลื่น, คลื่นยักษ์ |
billow | (vi, vt) เป็นลูกคลื่น, บวมออก, ขยายออก |
billowy | (adj) เป็นลูกคลื่น |
breaker | (n) ผู้ทำลาย, เครื่องบด, คลื่นหัวแตก |
breakwater | (n) กำแพงกันคลื่น, เขื่อนกันน้ำทะเล |
crinkle | (vt) ทำให้เป็นลอน, ทำให้เป็นคลื่น, ทำให้หยิก |
detector | (n) ผู้สืบหา, เครื่องจับคลื่นเสียง, เครื่องตรวจวัด |
emetic | (adj) ซึ่งทำให้อาเจียน, ซึ่งทำให้คลื่นเหียน |
flatten | (vi) แบน, ราบ, แผ่, เรียบ, แฟบ, ตื้น, ไม่มีคลื่น, ไม่มีฟอง |
foam | (n) ฟอง, ฟองน้ำลาย, ฟองเหงื่อ, ฟองคลื่น |
kilocycle | (n) หน่วยวัดความถี่ของคลื่นไฟฟ้า |
mawkish | (adj) น่ารังเกียจ, น่าหมั่นไส้, น่าคลื่นไส้, ไม่มีชีวิตชีวา, จืดชืด |
rage | (n) ความเดือดดาล, ความโกรธ, ความบ้าคลั่ง, คลื่นลมแรง |
ride | (vi) ขี่, ไป, ควบ, เดินเรือ, จอดเรือ, โต้คลื่น |
ridge | (vi) เป็นแนว, เป็นสัน, เป็นคลื่น |
ripple | (n) เสียงพึมพำ, ระลอกคลื่น, ลอน, เสียงน้ำไหล |
roller | (n) คลื่นลูกโต, เครื่องบด, ลูกกลิ้ง, ลูกโม่, ลูกรอก |
seasick | (adj) เมาเรือ, เมาคลื่น |
seasickness | (n) อาการเมาเรือ, อาการเมาคลื่น |
sick | (adj) ป่วย, ไม่สบาย, อมโรค, คลื่นไส้, เอียน |
sicken | (vi) ป่วย, ไม่สบาย, คลื่นเหียน, เจ็บใจ, ร้อนใจ |
sicken | (vt) ทำให้ป่วย, ทำให้ไม่สบาย, ทำให้คลื่นไส้, ทำให้คลื่นเหียน |
sickly | (adj) น่าคลื่นไส้, ขี้โรค, เผือด, ซีด, อ่อนแอ |
squeamish | (adj) คลื่นไส้, เจ็บป่วย, ขี้แย, สนิมสร้อย |
surf | (n) คลื่นหัวแตก, ลูกคลื่น |
surge | (n) การรวน, ลูกคลื่น, การเซ, การไถล, การกระเพื่อม |
tune | (vi) รับเสียง(วิทยุ), ปรับเสียง, ปรับคลื่น |
undulate | (vi) เป็นลูกคลื่น, กระเพื่อม, ขึ้นๆลงๆ |
undulation | (n) ความเคลื่อนไหว, ลูกคลื่น, การกระเพื่อม |
wave | (n) คลื่น, การโบก, ทะเล, ลอน, ระลอก, การแกว่ง, น่านน้ำ |
wave | (vi) เป็นคลื่น, แกว่ง, สะบัด, โบก, ปัด |
wavy | (adj) มีคลื่น, เป็นลอน, สั่นไหว, โยกเยก, แปรปรวน |