คุก | (n) prison, See also: jail, goal, Syn. ที่คุมขัง, ตาราง, เรือนจำ, Example: นักโทษที่คุมขังอยู่ในคุกมีชีวิตที่ทนทุกข์ทรมาน, Count Unit: ที่, แห่ง |
จำคุก | (v) imprison, See also: jail, restrain, incarcerate, Syn. ติดคุก, Ant. ปลดปล่อย, Example: ผู้พิพากษาวอลช์พิพากษาโทษคาโปนสถานหนัก โดยให้จำคุกไว้ 1 ปี, Thai Definition: ลงโทษด้วยวิธีขัง |
ขี้คุก | (adj) jailable, Syn. ขี้คุกขี้ตะราง, Example: ลองได้ชื่อว่าเป็นคนขี้คุกแล้ว สังคมให้อภัยยาก, Thai Definition: ที่เคยต้องโทษจำคุกมาแล้ว |
คุกกี้ | (n) cookie, Example: พ่อชอบกินคุกกี้กับเครื่องดื่มร้อนๆ เป็นอาหารเช้า, Count Unit: ชิ้น, Thai Definition: ชื่อขนมชนิดหนึ่งจำพวกขนมเค้ก แต่ทำเป็นชิ้นเล็กๆ แบนๆ แล้วอบให้กรอบ, Notes: (อังกฤษ) |
คุกคาม | (v) threaten, See also: menace, browbeat, intimidate, bully, cow, frighten, Syn. ขู่, กดขี่, ข่มเหง, Ant. ปลอบขวัญ, Example: เขาจ้างนักเลงไว้คุกคามบุคคลที่ขัดขวางแผนการหรือผลประโยชน์ของตน, Thai Definition: แสดงอำนาจด้วยกิริยาหรือวาจาให้หวาดกลัว, ทำให้หวาดกลัว |
ติดคุก | (v) imprison, See also: incarcerate, jail, gaol, go to prison, Syn. ติดตะราง, เข้าคุก, Example: เขาติดคุกมาเป็นเวลา 15 ปี เดือนหน้าเขาก็จะพ้นโทษแล้ว, Thai Definition: ได้รับโทษให้อยู่ในที่คุมขังนักโทษ เพราะกระทำความผิดตามกฎหมาย |
แหกคุก | (v) escape from prison, See also: break jail, pull a jailbreak, Example: พวกนักโทษประหารแหกคุกหนีไปเมื่อเช้ามืดวันนี้, Thai Definition: หนีออกจากคุก |
คุกรุ่น | (v) smoulder, See also: be wild with anger, be pent-up, Syn. ร้อนรุ่ม, ปั่นป่วน, Example: เขามีความแค้นที่คุกรุ่นอยู่ในใจตลอดเวลา |
คุกรุ่น | (v) glow, See also: burn, smoke, flame, Syn. ลุก, ติดไฟ, ไหม้, ปะทุ, Ant. ดับ, มอด, Example: ในเกาะชวายังคงมีภูเขาไฟหลายลูกที่ยังคุกรุ่นอยู่ |
คุกเข่า | (v) kneel, See also: bend the knee, go down on one's knee, Syn. ย่อเข่า, ยอตัว, Example: เขาคุกเข่าลงพร้อมกับพนมมือไหว้เพื่อรับศีลรับพรจากพระ, Thai Definition: ย่อเข่าลงให้ติดพื้น |
นั่งคุกเข่า | (v) kneel, Syn. คุกเข่า, Example: ลูกศิษย์นั่งคุกเข่าอยู่หน้าอาจารย์แล้วยื่นพานดอกไม้ให้ด้วยความเคารพ, Thai Definition: ย่อเข่าลงให้ติดพื้น |
การนั่งคุกเข่า | (n) kneeling, See also: sitting on the knees, Example: การนั่งคุกเข่าเป็นเวลานานอาจทำให้หัวเข่าด้านได้, Thai Definition: การนั่งโดยวิธีย่อเข่าลงให้ติดพื้น แล้วหย่อนก้นลงบนส้นเท้า |
กระคุก | ก. คุกคลาน เช่น ทั้งล้มทั้งลุกกระคุกหัวเข่า (ไตรภูมิ). |
ขี้คุก | ว. เคยต้องโทษจำคุกมาแล้ว. |
คุก | น. ที่ขังนักโทษ, เรือนจำ. |
คุกกี้ | น. ชื่อขนมชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลี ไข่ เนย น้ำตาล เป็นต้น ทำเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วอบให้กรอบ. |
คุกเข่า | ก. ย่อเข่าลงให้ติดพื้น. |
คุกคลาน | ก. คลานด้วยกิริยาที่ยอบตัวลงให้เตี้ยโดยใช้เข่าเดิน. |
คุกคาม | ก. แสดงอำนาจด้วยกิริยาหรือวาจาให้หวาดกลัว, ทำให้หวาดกลัว เช่น ภัยคุกคาม, ในบทกลอนใช้ว่า คุก ก็มี เช่น ไป่ขู่ไป่คุก ไป่รุกรุมตี (สมุทรโฆษ). |
คุกพาทย์ | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ชั้นสูง ใช้บรรเลงเพื่อแสดงการแผลงฤทธิ์ ในการเทศน์มหาชาติใช้เป็นเพลงประจำกัณฑ์จุลพน. |
จำคุก | น. โทษทางอาญาสถานหนึ่ง ที่ให้เอาตัวผู้ต้องโทษไปคุมขังไว้ในเรือนจำ. |
ตลาดหน้าคุก | น. ตลาดที่ถือโอกาสขายโก่งราคาแพงกว่าปรกติและผู้ซื้อจำเป็นต้องซื้อ, มักใช้เป็นคำเปรียบเทียบว่า ของแพงเหมือนกับของตลาดหน้าคุก. |
นั่งคุกเข่า | ก. นั่งโดยวิธีย่อเข่าลงให้ติดพื้น แล้วหย่อนก้นลงบนส้นเท้า. |
หมายจำคุก | น. หนังสือสั่งการที่ศาลสั่งให้จำคุกผู้ต้องคำพิพากษาให้จำคุกหรือประหารชีวิตหรือที่จะต้องจำคุกแทนค่าปรับ. |
กรมเมือง | (กฺรมมะ-) น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่ในการรักษาความสงบเรียบร้อยในราชธานีและปริมณฑล ปราบปรามโจรผู้ร้าย รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีความอุกฉกรรจ์และดูแลคุก (เรือนจำ) มหันตโทษ, เวียง หรือ กรมพระนครบาล ก็เรียก |
กระเกรี้ยว | ว. เสียงขบฟันเกรี้ยว ๆ เช่น คุกคามขบฟันกระเกรี้ยว (ม. คำหลวง ฉกษัตริย์). |
กระตราก | ก. ล่ามโซ่, ทุกข์ทรมานในคุก. |
กลาโหม | ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการป้องกันและรักษาความมั่นคงของราชอาณาจักรจากภัยคุกคามทั้งภายนอกและภายในประเทศ |
ขานยาม | ขานรับเมื่อผู้ตรวจเรียกชื่อนักโทษทุกยาม เช่น ถ้าลักพระปล้นสดมลักช้างม้าเปนสัจให้จำ ๕ ประการไว้ในคุกให้ขานยาม (สามดวง). |
เข่า | น. ส่วนที่ต่อระหว่างขาส่วนบนกับขาส่วนล่าง สำหรับคู้ขาเข้าและเหยียดขาออก เช่น คุกเข่า ตีเข่า ขึ้นเข่า, ราชาศัพท์ว่า พระชานุ. |
ความผิดลหุโทษ | น. ความผิดซึ่งต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ. |
คอก | คุก, เรือนจำ. |
คุมขัง | ก. คุมตัว ควบคุม ขัง กักขัง หรือจำคุก. |
จองจำ | ก. ใส่ตรวนหรือเครื่องพันธนาการขังไว้ในคุกในตะรางเป็นต้น, จำจอง ก็ว่า. |
จำ ๒ | ก. ลงโทษด้วยวิธีเอาโซ่ตรวนล่ามไว้ เช่น จำโซ่ จำตรวน, ลงโทษด้วยวิธีขัง เช่น จำคุก. |
จำจอง | ก. ใส่ตรวนหรือเครื่องพันธนาการขังไว้ในคุกในตะรางเป็นต้น, จองจำ ก็ว่า. |
ซ่องโจร | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำ สมคบกันตั้งแต่ ๕ คนขึ้นไป เพื่อกระทำความผิดอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามที่ประมวลกฎหมายอาญาบัญญัติไว้ เช่น ความผิดเกี่ยวกับการปกครอง ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย และความผิดนั้นมีกำหนดโทษจำคุกอย่างสูงตั้งแต่ ๑ ปีขึ้นไป. |
ตาลปัตรบังเพลิง | (-เพฺลิง) น. ตาลปัตรที่มีลักษณะเช่นเดียวกับพัดยศของพระสงฆ์ชั้นราชาคณะ ตรงกลางเว้นช่องว่างไว้ใส่ตะเกียงหรือโคมไฟ ปักตั้งรายรอบพระเมรุชั้นพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ชั้นสูง มีรูปเทวดานั่งคุกเข่าประคองโคนด้ามตาลปัตร, ตาลิปัตรบังเพลิง ก็เรียก. |
ติด ๑ | ถูกจำในที่คุมขัง เช่น ติดคุก |
ถีบกระดาน | ก. อาการที่นั่งคุกเข่าข้างหนึ่งบนกระดานที่วางบนเลนแล้วเอาขาอีกข้างหนึ่งถีบเลนให้กระดานแล่นไปข้างหน้า. |
เทา ๔ | ก. ยอบตัวลง, หมอบลง, คุกเข่า, (ใช้แก่ช้าง). |
โทษทางอาญา | น. โทษที่ลงแก่ผู้กระทำความผิดอาญา ซึ่งตามประมวลกฎหมายอาญาได้กำหนดไว้ ๕ สถาน ได้แก่ ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ และริบทรัพย์สิน. |
นักโทษ | น. บุคคลซึ่งถูกลงโทษจำคุก. |
นักโทษเด็ดขาด | น. บุคคลซึ่งถูกขังไว้ตามหมายจำคุกภายหลังคำพิพากษาถึงที่สุด. |
ไฟสุมขอน | น. ไฟที่คุกรุ่นอยู่ในขอนไม้ขนาดใหญ่ ดับยาก, โดยปริยายหมายถึง อารมณ์รัก โกรธ หรือแค้นเป็นต้นที่ร้อนรุ่มอยู่ในใจ. |
ลงอาญา, ลงอาชญา | ก. ลงโทษหรือทำโทษด้วยวิธีต่าง ๆ ได้แก่ ประหารชีวิต จำคุก กักขัง ปรับ ริบทรัพย์สิน. |
ลหุโทษ | ความผิดซึ่งต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๑ เดือน หรือปรับไม่เกิน ๑, ๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ. |
ล่อแหลม | ว. หมิ่นเหม่, อยู่ในที่ใกล้อันตราย, เช่น แต่งตัวล่อแหลม พูดจาล่อแหลม ความประพฤติล่อแหลมต่อคุกตะราง. |
ส่งข้าวส่งน้ำ, ส่งปิ่นโต | ก. เอาข้าวปลาอาหารเป็นต้นไปให้แก่ผู้ต้องหาหรือนักโทษ เช่น ถ้าติดตะรางใครจะส่งข้าวส่งน้ำให้ ญาติติดคุกเลยต้องส่งปิ่นโตให้เป็นประจำ. |
เสี่ยง ๓ | ก. มีโอกาสจะได้รับทุกข์หรืออันตรายเป็นต้น เช่น พูดอย่างนี้เสี่ยงคุกเสี่ยงตะราง. |
ใส่ | ก. สวม เช่น ใส่เสื้อ ใส่กางเกง, เอาไว้ข้างในภาชนะหรือสถานที่เป็นต้น เช่น กรอกน้ำใส่ขวด นำนักโทษไปใส่คุก, บรรทุก เช่น เอาสินค้าใส่รถ. |
หมายปล่อย | น. หนังสือสั่งการที่ศาลสั่งให้ปล่อยตัวบุคคลที่ต้องขังหรือจำคุกตามหมายศาล. |
หมายอาญา | น. หนังสือสั่งการที่ศาลสั่งให้เจ้าหน้าที่ทำการจับ ขัง จำคุก หรือปล่อยผู้ต้องหา จำเลย หรือนักโทษ หรือให้ทำการค้น. |
แหก | ก. แยกออก, ถ่างออก, ทำให้อ้าออก, เช่น แหกขา, ใช้กำลังฟันฝ่าออกไป เช่น แหกคุก กองทหารตีแหกวงล้อมข้าศึกออกไป. |
พระโกศ | ที่ใส่พระบรมศพ และพระศพเจ้านาย ของพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศ์ กับโกศที่พระราชทานสำหรับศพข้าราชการผู้มีบรรดาศักดิ์สูง ตามคตินิยมของพราหมณ์ที่เชื่อว่า ต้องตั้งพระศพในท่ายืน, นั่ง, คุกเข่า หรือกอดเข่าประสานมือ เพื่อส่งพระศพและพระวิญญาณเสด็จกลับสู่สรวงสวรรค์ พระโกศสามารถแบ่งตามวัตถุประสงค์การใช้งานได้ ๒ ประเภท ๑. พระโกศสำหรับทรงพระบรมศพหรือพระศพ ๒. พระโกศพระบรมอัฐิหรือพระอัฐิ, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/re-IM-2009-01.JPG" alt="พระโกศ"> <p>ที่ใส่พระบรมศพ และพระศพเจ้านาย ของพระมหากษัตริย์ และพระบรมวงศ์ [ศัพท์พระราชพิธี] |
Cookies (Computer science) | คุกกี้ (วิทยาการคอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Biological invasion | การคุกคามทางชีวภาพ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Abortion, Threatened | ภาวะแท้งคุกคาม [TU Subject Heading] |
Alternatives to imprisonment | ทางเลือกแทนการจำคุก [TU Subject Heading] |
Cook Islands | หมู่เกาะคุก [TU Subject Heading] |
Cookies | คุกกี้ [TU Subject Heading] |
Effect of imprisonment on | ผลกระทบของการจำคุก [TU Subject Heading] |
Harassment | การคุกคาม [TU Subject Heading] |
Imprisonment | การจำคุก [TU Subject Heading] |
Prison sentences | คำพิพากษาจำคุก [TU Subject Heading] |
Sexual harassment | การคุกคามทางเพศ [TU Subject Heading] |
Sexual harassment in education | การคุกคามทางเพศในการศึกษา [TU Subject Heading] |
Sexual harassment in universities and college | การคุกคามทางเพศในมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย [TU Subject Heading] |
Sexual harassment of men | การคุกคามทางเพศต่อบุรุษ [TU Subject Heading] |
Sexual harassment of women | การคุกคามทางเพศต่อสตรี [TU Subject Heading] |
Australia-New Zealand-US | สนธิสัญญาป้องกันร่วมกันระหว่างออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์-สหรัฐอเมริกา " โดยตกลงให้มีการช่วยเหลือประเทศสมาชิกเมื่อถูกคุกคามจากประเทศนอกภาคี ปัจจุบัน ANZUS ยังคงสถานะอยู่แต่ไม่มีการดำเนินการใด ๆ (non-operational) เนื่องจากความสัมพันธ์ทางทหารระหว่างสหรัฐอเมริกากับนิวซีแลนด์ยุติลง โดยนิวซีแลนด์ยังไม่ละทิ้งสนธิสัญญา ดังกล่าว เนื่องจากเห็นว่าอาจจะมีการรื้อฟื้นขึ้นอีก " [การทูต] |
High Level Panel on Threats, Challenges and Change | คณะผู้ทรงคุณวุฒิระดับสูงว่าด้วยภัยคุกคาม ความท้าทายและการเปลี่ยนแปลง แต่งตั้งโดยนาย Kofi Annan เลขาธิการสหประชาชาติ ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 16 คน มีนายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายก - รัฐมนตรีเป็นประธาน [การทูต] |
Hugo Grotius (1583-1645) | บรมครูทางกฎหมายของเนเธอร์แลนด์ เป็นบุคคลแรกที่ได้ประกาศเสรีภาพของทะเล (Freedom of the Seas) ในตำราของท่านชื่อ Mare Liberumนักกฎหมาย รัฐบุรุษ และปรัชญาเมธีด้านมนุษยธรรมของเนเธอร์แลนด์ผู้นี้ ภายหลังเกิดมาได้ไม่กี่ปีก็ส่อให้เห็นว่าเป็นเด็กที่เฉลียวฉลาดอย่างน่า มหัศจรรย์ เขาเริ่มศึกษาวิชากฎหมายตั้งแต่มีอายุได้ 11 ขวบ ณ สถาบันศึกษาชั้นสูงแห่งเลย์เด็นในเนเธอร์แลนด์ และได้รับปริญญาเอกทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัย ณ เมืองออร์ลีนส์ ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อมีอายุได้เพียง 15 ปี โดยที่เป็นผู้ฝักใฝ่ในการเมือง เขาได้ถูกลงโทษจำคุกตลอดชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1618 ด้วยข้อหาทางการเมือง แต่ต่อมาใน ค.ศ. 1621 ได้หลบหนีไปยังประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ 1625 เขาได้แต่งตำรากฎหมายซึ่งถือกันว่าเป็นตำราอมตะชื่อว่า Jure Belli ac Pacis (แปลว่า เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยสงครามและสันติภาพ) เป็นงานเขียนที่เหมาะกับสมัย และเขียนอย่างนักวิชาการอันเยี่ยมยอดที่สุดไม่มีใครเหมือนในสมัยนั้น และด้วยความรู้สึกที่รักความยุติธรรมอย่างแรงกล้าด้วยเหตุนี้ ทั่วโลกจึงขนานนาม Hugo Grotius ว่าเป็นบิดาแห่งกฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎหมายนานาชาติ (Father of the Law of Nations) [การทูต] |
Organization of American States | คือองค์การของรัฐในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1947 สหรัฐอเมริกา และประเทศต่าง ๆ ในละตินอเมริกา ยกเว้นประเทศนิคารากัวและอีเควดอร์ ได้ตกลงทำสนธิสัญญาระหว่างรัฐในอเมริกาด้วยกัน ณ กรุงริโอเดจาเนโร เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาริโอ ประเทศเหล่านั้นต่างมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือกันอย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากรัฐในอเมริกาหนึ่งใดถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธหรือถูกคุกคามจาการรุกราน ต่อมาในเดือนเมษายน ค.ศ. 1948 ได้มีการจัดตั้งองค์การของรัฐอเมริกัน (Organization of American States) ขึ้น ณ กรุงโบโกตา ประเทศโบลิเวีย ประกอบด้วยรัฐต่าง ๆ ในอเมริการวม 21 ประเทศ ยกเว้นประเทศแคนาดา เพื่อดำเนินการให้เป็นผลตามสนธิสัญญาริโอ และจัดวางระบบการรักษาความมั่นคงร่วมกันขึ้น กฎบัตร (Charter) ขององค์การได้มีผลบังคับให้เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1951องค์การโอเอเอสนี้ เป็นองค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่ง ภายในกรอบของสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกต่างปฏิญาณร่วมกันที่จะทำการธำรงรักษากระชับสันติภาพ ตลอดจนความมั่นคงในทวีปอเมริกา เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุแห่งความยุ่งยากใด ๆ และต้องการระงับกรณีพิพาทที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันโดย สันติวิธี อนึ่ง ถ้าหากมีการรุกรานเกิดขึ้นก็จะมีการปฏิบัติการร่วมกัน นอกจากนี้ ยังจะหาทางระงับปัญญาหาทางการเมือง ทางการศาล และทางเศรษฐกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิก พร้อมทั้งจะพยายามร่วมกัน ในการหาหนทางส่งเสริมพัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม สำนักงานใหญ่ขององค์การโอเอเอสตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตันดีซี นครหลวงของสหรัฐอเมริกา [การทูต] |
Palestine Question | ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน [การทูต] |
Pacific Islands Forum | PIF เป็นองค์กรระดับภูมิภาคของประเทศในมหาสมุทรแปซิฟิก จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 เพื่อขยายความร่วมมือด้านการเมือง เศรษฐกิจ การพัฒนาที่ยั่งยืน ธรรมาภิบาลและความมั่นคง ปัจจุบันมีสมาชิก 16 ประเทศ คือ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ นาอูรู หมู่เกาะคุก ตองกา ฟิจิ ซามัว หมู่เกาะโซโลมอน หมู่เกาะมาร์แชลล์ ปาปัวนิวกีนี วานูอาตู ปาเลา ไมโครนีเซีย คิริบาส นีอูเอ และตูวาลู มีประเทศคู่เจรจา (Dialogue Partner) จำนวน 12 ประเทศและ 1 กลุ่มเศรษฐกิจ ประกอบด้วย แคนาดา จีน ฝรั่งเศส อินเดีย อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ไทย และสหภาพยุโรป นอกจากนี้ ยังมีประเทศผู้สังเกตการณ์ (Observer Status) อีก 3 ประเทศ คือ ติมอร์เลสเต นิวแคลิโดเนีย และเฟรนซ์โปลินีเซีย สำนักเลขาธิการ PIF ตั้งอยู่ที่กรุงซูวา ประเทศฟิจิ [การทูต] |
Political Offenses | ความผิดทางการเมือง หลักการข้อหนึ่งของการส่งตัวผู้กระทำความผิดไปให้อีก ประเทศหนึ่ง หรือที่เรียกว่าการส่งผู้ร้ายข้ามแดน คือ ผู้ที่กระทำผิดทางการเมืองจะถูกส่งข้ามแดนไปให้อีกประเทศหนึ่งไม่ได้เป็นอัน ขาด แต่อย่างไรก็ดี มีปัญหาในปฏิบัติคือว่า จะแยกความแตกต่างกันอย่างไรระหว่างความผิดทางการเมือง กับที่มิใช่ด้วยเหตุผลทางการเมือง นักวิชาการบางท่านนิยามความหมายของคำว่าความผิดทางการเมืองไว้ว่า คือ ความผิดฐานกบฏ (Treason) ซึ่งในกฎหมายของหลายประเทศหมายถึงการประทุษร้าย หรือพยายามประทุษร้ายต่อประมุขของประเทศ หรือช่วยฝ่ายศัตรูทำสงครามกับประเทศของตน ความผิดฐานปลุกปั่นให้เกิดความไม่สงบภายในประเทศ (Sedition) หรือการประกอบจารกรรม (Espionage) อันเป็นการคุกคามต่อความั่นคงหรือต่อระบบการปกครองของประเทศผู้ร้องขอ (หมายถึงประเทศที่ร้องขอให้ส่งตัวผู้กระทำผิดไปให้ในลักษณะผู้ร้ายข้ามแดน) ไม่ว่าจะกระทำโดยคนเดียวหรือหลายคนก็ตาม [การทูต] |
Southeast Asia Collective Defense Treaty (Mahila Pact) | สนธิสัญญาซีโต้ สนธิสัญญานี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ประเทศที่ลงนามในสนธิสัญญามีประเทศออสเตรเลีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ประเทศไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา สนธิสัญญาได้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1955ในภาคอารัมภบทของสัญญานี้ บรรดาประเทศสมาชิกต่างแสดงความปรารถนาที่จะประสานความพยายามของตนที่จะ ป้องกันร่วมกัน เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคง โดยเฉพาะข้อ 4 ของสนธิสัญญาเป็นข้อสำคัญที่สุด คือ แต่ละประเทศภาคีคู่สัญญาตกลงเห็นพ้องกันว่า หากดินแดนของประเทศใดถูกรุกรานจาการโจมตีด้วยกำลังอาวุธ ประเทศภาคีทั้งหมดที่เหลือจะถือว่าเป็นอันตรายร่วมกัน และจะปฏิบัติการเพื่อเผชิญหน้ากับอันตรายร่วมกัน หรือถ้าหากพื้นที่ภายในเขตครอบคลุมของสนธิสัญญาถูกคุกคามด้วยประการใด ๆ ประเทศภาคีทั้งหมดจะปรึกษากันในทันที เพื่อตกลงในมาตรการเพื่อการป้องกันร่วมกันสำนักงานใหญ่ขององค์การซีโต้ตั้ง อยู่ในกรุงเทพมหานคร โดยที่สถานการณ์ทางการเมืองของโลกได้เปลี่ยนไปมากทำให้องค์การซีโต้หมดความ จำเป็น และได้ยุบเลิกไปนานแล้ว [การทูต] |
Secretariat of the United Nations | คือสำนักเลขาธิการสหประชาชาติ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยสมัชชาตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง พร้อมคณะเจ้าหน้าที่ตามที่องค์การต้องการหน้าที่สำคัญของเลขาธิการสหประชา ชาติ คือ ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์การ นำเรื่องใดก็ตามเสนอต่อคณะมนตรีความมั่นคง ซี่งตามทรรศนะของเลขาธิการเห็นว่าเป็นภัยคุกคามสันติภาพและความมั่นคง ระหว่างประเทศ นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่ทำรายงานประจำปี และรายงานเพิ่มเติมใด ๆ ที่จำเป็นเสนอต่อสมัชชาสหประชาชาติ เกี่ยวกับงานขององค์การ สหประชาชาติคณะเจ้าหน้าที่ที่ทำงานช่วยเหลือเลขาธิการนั้น ถือเป็นเจ้าหน้าที่ระหว่างประเทศ ประกอบด้วยชนชาติต่าง ๆ ในการเกณฑ์เจ้าหน้าที่เหล่านี้เข้าทำงานกับสหประชาชาติ จะคัดแต่ผู้ที่มีประสิทธิภาพ ความสามารถ และความซื่อสัตย์ในระดับสูงสุด และคำนึงถึงเขตภูมิศาสตร์ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการทำงานตามหน้าที่ ทั้งตัวเลขาธิการและคณะเจ้าหน้าที่ผู้ร่วมงาน จะต้องไม่แสวงหรือรับคำสั่งจากรัฐบาลใด ๆ หรือจากผู้มีอำนาจหน้าที่อื่นใดที่อยู่นอกเหนือองค์การสหประชาชาติ ขณะเดียวกัน สมาชิกของสหประชาชาติได้ตกลงยอมรับนับถือความรับผิดชอบที่มีลักษณะระหว่าง ประเทศของสำนักเลขาธิการ และจักไม่แสวงใช้อิทธิพลใด ๆ ต่อสำนักเลขาธิการ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบเหล่านั้น [การทูต] |
Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] |
South Pacific Forum | เวทีหารือของกลุ่มประเทศในภูมิภาคแปซิฟิกใต้ " จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2514 ประเทศสมาชิกประกอบด้วย ออสเตรเลีย หมู่เกาะคุก ไมโครนีเซีย คีรีบาส หมู่เกาะมาร์แชล เนารู นิวซีแลนด์ นุย ปาปัวนิวกินี หมู่เกาะโซโลมอน ตูวาลู ซามัวตะวันตก วานูอาตู ตองกา ฟิจิ " [การทูต] |
Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
Abortion, Threatened | การแท้งคุกคาม, แท้งคุกคาม, สภาวะที่คุกคามต่อการแท้งบุตร [การแพทย์] |
Concentration, Maximum Allowable | ขนาดมาตรฐานของสิ่งคุกคามสุขภาพอนามัย [การแพทย์] |
กลไกป้องกันทางจิต | กลไกป้องกันทางจิต, วิธีการปรับตัวและปรับจิตใจเพื่อให้ผ่านพ้นจากผลกระทบที่ก่อให้เกิดความ สับสน ความอึดอัดใจ ความคับข้องใจ ความขัดแย้ง จนเป็นความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นในจิตใจของบุคคล อันเนื่องมาจากสถานการณ์ที่ปรารถนาหรือถูกคุกคามอย่างที่สุด เพื่อป้องกันตนเองในระดับจิตไร้สำนึก ให้ [สุขภาพจิต] |
Infection, Active | กำลังเป็นโรค, ก่อให้เกิดโรคด้วยตนเอง, ระยะที่โรคคุกคาม [การแพทย์] |
Knee Standing | ท่าคุกเข่า [การแพทย์] |
Kneeling | การคุกเข่า [การแพทย์] |
Limit Value, Threshold | ขนาดมาตรฐานของสิ่งคุกคามสุขภาพอนามัย [การแพทย์] |
active | (adj) ยังคุอยู่, See also: ยังคุกรุ่นอยู่ |
breakout | (n) การแหกคุก, Syn. escape |
bulldoze | (vt) พาล, See also: ขู่เข็ญ, คุกคาม, Syn. coerce |
bang up | (phrv) ขังคุก, See also: กักขัง, Syn. lock up |
be behind bars | (idm) จำคุก, See also: กักขัง, ขังคุก |
be inside | (idm) จำคุก, See also: ติดคุก, ติดตาราง, ถูกจำคุก, อยู่ในที่คุมขัง |
be out | (phrv) ถูกปล่อยตัวจากคุก, See also: พ้นโทษ, ออกจากเรือนจำ, Syn. come out, Ant. be inside |
calaboose | (n) คุก, Syn. jail, jailhouse, prison |
can | (n) คุก (คำสแลง), Syn. jail, prison |
chain gang | (n) นักโทษที่ถูกล่ามโซ่ไว้ด้วยกัน (โดยเฉพาะที่ต้องออกไปทำงานนอกคุก) |
chapel | (n) โบสถ์เล็กๆ ในโรงเรียน โรงพยาบาล หรือคุก |
chaplain | (n) อนุศาสนาจารย์, See also: บาทหลวงในโรงเรียน, โรงพยาบาล, คุกหรือกองทัพ, Syn. clergyman |
collar | (vt) ลากคอเข้าคุก (คำสแลง), See also: ลากคอไปคุมขัง, Syn. arrest, catch, seize, apprehend, capture, grab |
college | (n) คุก (คำสแลง) |
cookie | (n) คุกกี้, Syn. cooky |
cooky | (n) ุคุกกี้, Syn. cokie |
cow | (vt) ขู่, See also: ทำให้กลัว, ทำให้ตื่นตระหนก, คุกคาม, Syn. overawe |
clap in | (phrv) ถูกจับเข้าคุก (ปกติใช้รูป passive voice) (คำไม่เป็นทางการ) |
clap into | (phrv) ถูกจับเข้าคุก (ปกติใช้รูป passive voice) (คำไม่เป็นทางการ) |
drop to | (phrv) คุกเข่าลง, Syn. drop down |
fall at | (phrv) คุกเข่าลงต่อหน้า, Syn. fall down |
fall down | (phrv) คุกเข่าทำความเคารพ, Syn. drop through, fall down on, fall flat, fall through |
fall down on one's knees | (idm) คุกเข่าลง, Syn. fall on, fall to |
fall to one's knees | (phrv) คุกเข่าลง, Syn. fall down on, fall on |
dungeon | (n) คุกใต้ดินในปราสาท, Syn. pit, prison |
ember | (n) ถ่านที่ยังคุอยู่, See also: เถ้าที่ยังคุกกรุ่นอยู่, Syn. ash |
get down | (phrv) ก้มตัว, See also: คุกเข่า, Syn. go down |
go down | (phrv) คุกเข่าลงมา, Syn. get down |
go over the wall | (idm) หนีจากคุก (คำไม่เป็นทางการ), See also: หลบหนีออกจากเรือนจำ |
hold captive | (phrv) จับเป็นนักโทษ, See also: เข้าคุก |
immure in | (phrv) จับเข้าคุก, See also: ขังไว้ในคุก |
imprison in | (phrv) จับขัง, See also: จำคุก, ขัง |
incarcerate in | (phrv) จำคุก, See also: กักขัง, คุมขัง |
gaol | (n) คุก, See also: ห้องขัง, เรือนจำ, ตะราง, Syn. jail, jailhouse, prison |
gaol | (vt) จำคุก, See also: ติดตะราง, เข้าห้องขัง |
genuflect | (vi) คุกเข่าหรือโค้งทำความเคารพ, Syn. bow, kneel |
hard labor | (n) การให้นักโทษทำงานหนัก (นอกเหนือจากการถูกจำคุก) |
hard labour | (n) การให้นักโทษทำงานหนัก (นอกเหนือจากการถูกจำคุก) |
hold | (n) คุก |
immure | (vt) กักขัง (ทางวรรณคดี), See also: ขังคุก, คุมขัง, Syn. confine, imprison |
imprison | (vt) จำคุก, See also: กักขัง, คุมขัง, Syn. confine, immure |
imprisonment | (n) การจำคุก, See also: การกักขัง, การคุมขัง, Syn. confinement, immurement |
incarcerate | (vt) ขังคุก (คำทางการ), See also: กักขัง, จองจำ, Syn. confine, imprison, jail |
inside | (adv) ถูกจำคุก(คำไม่เป็นทางการ) |
kneel down | (phrv) คุกเข่าลง |
kowtow to | (phrv) คุกเข่าให้, See also: โค้งตัวให้, ก้มตัวให้ |
lock away | (phrv) กักขัง, See also: จำคุก, ใส่กรงขัง, Syn. lock up, put away, shut away |
lock up | (phrv) กักขัง, See also: จำคุก, ใส่กรงขัง, Syn. lock away |
jail | (vt) จำคุก, See also: กักขัง, จองจำ, เข้าตาราง, Syn. imprison, confine, detain, Ant. free, release |
jail | (n) เรือนจำ, See also: ห้องขัง, คุก, ตะราง, Syn. slammer, prison, nick |
bastille | (เบสทีล') n. คุกและป้อมปราการที่ขังนักโทษการเมืองในกรุงปารีส และถูกพวกกบฏยึดได้เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1789, คุก, ป้อมปราการ, Syn. bastile |
blackhole | (แบลค'โฮล) n. คุก |
bond | (บอนดฺ) { bonded, bonding, bonds } n. ข้อผูกมัด, ข้อตกลงในสัญญา, สิ่งผูกมัด, พันธนาการ, สลัก, ตรวน, โซ่, การคุมขัง, การติดคุก, พันธบัตร, ใบกู้ยืม, ใบหุ้นกู้, พันธุกรรม, พันธะระหว่างอะตอมในโมเลกุล vi., vt. (ทำให้) ผูกมัดเข้าด้วยกัน, เชื่อมติด, ผนึกเข้าด้วยกัน adj. เกี่ยวกับควา |
break | (เบรค) (broke, broken, breaking, breaks) vt., vi. ทำให้แตก, ทำให้บาดเจ็บ, แบ่งออกเป็นส่วน, เปิดเผย, ทำให้เชื่อง, เอาชนะ, ทำลายสถิติ, แหก (คุก) , ฝ่าฝืน, ตัดขาด, ฝึก, สลัด, (โรงเรียน) หยุด, (สงคราม) เกิดขึ้น, ละเลยหน้าที่, ระเบิด, หนี, หยุดพักทำงาน n. การแตกออก, การหยุดพัก, ตอนฟ้าสว่าง หยุดหมายถึง การสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์หยุดทำงานอย่างกระทันหัน เราอาจใช้วิธีกดแป้น Break หรือกดแป้น CTRL + C ก็ได้ |
breakout | n. การแหกคุก, การฝ่าวงล้อม, การระบาดของโรค |
bridewell | n. สถานดัดสันดาน, คุก |
brig | (บริก) n. เรือใบสองเสา, ห้องคุกในเรือ, สถานที่กักขัง |
bulldoze | (บูล'โดซ) { bulldozed, bulldozing, bulldozes } vt. ทำให้กลัว, ขู่, ขู่เข็ญ, คุกคาม, ใช้รถแทรกเตอร์ไถพื้นที่ให้เรียบ |
bully | (บูล'ลี) { bullied, bullying, bullies } n. คนพาล, แมงดา, คนลวง, เนื้อวัวกระป๋อง vt. ขู่, ขู่เข็ญ, คุกคาม, ทำให้กลัว vt. เป็นอันธพาล, รังแก. adj. ดีมาก, ดีเลิศ, ร่าเริง. interj. ดี, ทำได้ดี, เอาเลย |
cage | (เคจฺ) { caged, caging, cages } n. กรง, กรงนก, คุก, ที่คุมขัง, ที่กักขัง, โครง, โครงกระดูก, โครงเหล็กค้ำปืน vt. ใส่ในกรง |
calaboose | (แคล'ละบูส) n. คุกการกักขัง |
can | (แคน) auxv. สามารถ, อนุญาต, ยินยอม, อยากจะ -Phr. (cannot but จำเป็นต้อง จักต้อง, ไม่มีทางที่จะไม่) n. กระป๋อง, ภาชนะโลหะที่ปิดมิดชิด, ถังใส่ขยะ, ภาชนะใส่ขี้เถ้า, ถัง, ถ้วยดื่ม, ห้องน้ำ, คุก, ตะโพก, ก้น -Id. (carry the can รับผิดแทน) vt. ใส่กระป๋องแล้วปิดมิดชิด, ไล่ออก, |
cannery | (แคน'เนอรี) n. โรงงานอัดกระป๋อง, โรงงานเครื่องกระป๋อง, คุก, ที่คุมขัง |
cellblock | n. ตึกในคุกที่ประกอบด้วยห้องขังเป็นห้อง ๆ |
clap | (แคลพฺ) { clapped, clapping, claps } vt. ตบเบา ๆ , ตีเสียงดังเปรี้ยง, ตีปีก, กระพือปีก, ตบมือ, ปิดดังปั๊ง, รีบทำ, เอาใส่คุก. vi. ตบมือ, เคลื่อนเร็วด้วยเสียงดัง |
clink | v. ทำให้เกิดเสียงกริ้งเบา ๆ n. คุก |
commitment | (คะมิท'เมินทฺ) n. การมอบ, การมอบหมาย (หน้าที่ความไว้วางใจ) , การส่งให้พิจารณา, การกักตัวไว้ในโรงพยาบาลโรคจิต, การส่งเข้าคุก, การให้คำมั่นสัญญา, คำสั่งศาลให้กักหรือเข้าคุก, การกระทำความผิด, การพัวพัน, การเข้าสู่สงคราม., Syn. committal, delive |
commutation | (คอมมิวเท'เชิน) n. การแลกเปลี่ยน, การเปลี่ยนแทนกัน, การเดินทางไปมาตามปกติระหว่างบ้านกับที่ทำงาน, การเปลี่ยนโทษจำคุกให้เป็นโทษอื่นที่เบากว่า, การเปลี่ยนกระแสไฟฟ้า, เงินชดเชย, Syn. substitution |
confine | (คันไฟน์') { confined, confining, confines } vt. ขีดขั้น, จำกัด, ตีวง, เก็บตัว, กักตัว n. ขอบเขต, การจำกัด, การเก็บตัว, คุก, สถานกักกัน., See also: confinable adj. ดูconfine confineable adj. ดูconfine, Syn. intern, imprision |
confinement | (คันไฟน์'เมินทฺ) n. การจำกัด, การเก็บกัก, ภาวะที่ถูกเก็บกัก, การคลอดบุตร, การจำคุก, การกักกัน, Syn. incarceration |
cooler | (คูล'เลอะ) n. เครื่องทำความเย็น, ตู้เย็น, ภาชนะแช่เย็น, ภาชนะเก็บของเย็น, น้ำยาทำความเย็น, ห้องขังเดี่ยว, คุก, Syn. refrigerant |
dungeon | (ดัน'เจิน) n. คุกใต้ดิน, คุกที่แข็งแรงและมิดชิด, หอคอยป้อมปราการ |
durance | (ดู'เรินซฺ) n. การจำคุก, การกักขัง, ความอดทน, ความทนทาน, Syn. imprisonment |
flop | (ฟลอพ) { flopped, flopping, flops } v., n. (การ) ล้มลงอย่างกะทันหัน (โดยเฉพาะที่มีเสียงดัง) , ล้มเหลว, เปลี่ยนข้างอย่างกะทันหัน, เปลี่ยนอย่างกะทันหัน, ตีปีกดัง, กระโดด, คุกเข่า, เดินลงส้นหนัก, เข้านอน., Syn. thud |
forbidding | (ฟอร์บิด'ดิง) adj. ไม่เป็นมิตร, น่ากลัว, อันตราย, มีภัยคุกคาม., See also: forbiddingly adv. forbiddingness n. |
gaol | (เจล) n., vt. คุก, จำคุก., See also: gaoler n. |
hard labor | การให้นักโทษทำงานหนัก (นอกเหนือจากการถูกจำคุก) |
hard labour | การให้นักโทษทำงานหนัก (นอกเหนือจากการถูกจำคุก) |
heel | (ฮีล) n. ส้นเท้า, ส้น, เท้าทั้งหมด, ส่วนหลัง, ของกีบ, ท้ายเรือ, คนเลว, ขี้ขโมย, การแหกคุก vt. ตามหลัง, ใส่ส้นเท้าให้, Syn. blackguard |
herder | (เฮอ'เดอะ) n. คนเลี้ยงปศุสัตว์, ผู้คุมคุก, พัศดี |
hock | (ฮอค) n. ข้อเท้าสัตว์, เนื้อขา (หมู) , จำนำ., คุก vt. ตัดเอ็นร้อยหวายออก |
hold | (โฮลดฺ) { held, held, holding, holds } vt., vi., n. (การ) ถือ, จับ, กุม, คว้า, เกาะกำ, อดทน, อดกลั้น, ยึด, ยึดครอง, ครอบงำ, จับใจ, ทำให้หยุด, ถือว่า, เข้าใจว่ามีความรู้สึก, อ้าง, ยก, หยิบยก, คุก, ที่รองรับ, ป้อม, ห้องเก็บสินค้า, Syn. grasp, persist, Ant. relea |
impend | (อิมเพนดฺ') vi. ใกล้, ใกล้ชิด, ใกล้เข้ามา, คุกคาม, แขวนอยู่, Syn. threaten |
impendent | (อิมเพน' เดินทฺ) adj. ใกล้เข้ามา, ใกล้ชิด, ใกล้จะบังเกิดขึ้น, ใกล้จะถึง, คุกคาม., See also: impendence, impendency n. |
impending | (อิมเพน' ดิง) adj. ใกล้เข้ามา, ใกล้จะบังเกิดขึ้น, คุกคาม., Syn. imminent, above |
imprison | (อิมพริส' เซิน) vt. จำคุก, เอาเข้าคุก, กักขัง., See also: imprisoner n., Syn. incarcerate |
imprisonment | (อิมพริส' เซินเมินทฺ) n. การจำคุก, การเอาเข้าคุก, การถูกจำคุก, การกักขัง |
incarcerate | (อินคาร์' เซอเรท) vi. จำคุก, กักขัง, คุมขัง. -adj. ถูกจำคุก, ถูกคุมขัง., See also: incarceration n., Syn. imprison, jail |
inmate | (อิน'เมท) n. ผู้ที่ถูกกักอยู่ในโรงพยาบาลคุกหรืออื่น ๆ , ผู้ที่อยู่ด้วยกัน, Syn. occupant |
intimidate | (อินทิม'มิเดท) vt. ทำให้กลัว, ขู่ขวัญ, ขู่, คุกคาม., See also: intimidation n. intimidator n., Syn. frighten, scare, daunt |
jail | (เจล) { jailed, jailing, jails } n. คุก. vt. เอาเข้าคุก |
jailbird | n. คนที่ติดคุก, คนขี้คุก |
jailbreak | n. การแหกคุก |
jailhouse | n. คุก, ตะราง |
jug | (จัก) { jugged, jugging, jugs } n. คนโท, เหยือก, กระโถน, สิ่งที่บรรจุในภาชนะดังกล่าว, คุก, เรือนจำ, เสียงนกร้อง vt. ใส่ลงในเหยือก, ต้มเปื่อย, ตุ๋น, เอาเข้าคุก |
keep | (คีพ) { kept, kept, keeping, keeps } v. เก็บ, สงวนไว้, กักขัง, ป้องกันรักษา, หน่วงเหนี่ยว, ธำรงไว้, ผดุงไว้, กักตัว, ดำเนินกิจการ, ยังคงเป็นอยู่ การรักษาไว้, การสนับสนุน, ตัวตึกที่แข็งแรงที่สุดของปราสาทสมัยกลาง, ส่วนที่แข็งแกร่ง แน่นหนาที่สุด, คุก. -Phr. (forkeeps ด้วยควา |
kneel | (นีล) vi. คุกเข่า, คุกเข่าลง., See also: kneeler n. |
life | (ไลฟฺ) n. ชีวิต, สิ่งมีชีวิต, การดำรงชีวิต, ช่วงระยะเวลาที่มีชีวิต, ชั่วชีวิต, ชีวประวัติ, ความยืดหยุ่น, ความกลับได้ง่าย, วิธีการดำรงชีวิต, สิ่งมีค่าของชีวิต, บุคคลที่มีค่าของชีวิต, ช่วงระยะเวลาแห่งอำนาจ, ความรุ่งเรืองหรืออื่น ๆ , โทษจำคุกตลอดชีวิต, ฟอง |
life sentence | n. การลงโทษจำคุกตลอดชีวิต, โทษจำคุกตลอดชีวิต |
lifer | (ไล'เฟอะ) n. ผู้ถูกศาลตัดสินลงโทษจำคุกตลอดชีวิต |
BIG big house | (n) คุก, เรือนจำ, ทัณฑสถาน |
breakout | (n) การฝ่าวงล้อม, การแหกคุก |
bridewell | (n) คุก, เรือนจำ, สถานดัดสันดาน |
bully | (vt) ข่มเหง, แกล้ง, ข่มขี่, คุกคาม |
calaboose | (n) คุก, เรือนจำ, ที่คุมขัง, ที่กักขัง |
clink | (n) เสียงกรุ๊งกริ๊ง, เหรียญเงิน, ห้องขัง, คุก, ตะราง |
confine | (n) ขอบเขต, วงรอบ, การจำกัด, คุก, สถานกักกัน |
cookie | (n) ขนมคุกกี้ |
cooky | (n) ขนมคุกกี้ |
cooler | (n) ตู้เย็น, เครื่องทำความเย็น, คุก, ห้องขังเดี่ยว |
coop | (n) ถังไม้, กรง, เล้า, สุ่มไก่, กระชัง, คุก |
dungeon | (n) คุกขี้ไก่, คุกใต้ดิน, คุกมืด, กรุ, หอคอย |
gaol | (n) คุก, ตะราง, ห้องขัง, เรือนจำ |
guardhouse | (n) คุก, ป้อมยาม |
immure | (vt) กักขัง, จำคุก, ขัง |
impend | (vi) แขวน, ใกล้จะมาถึง, คุกคาม, ใกล้ชิด |
imprison | (vt) ขังคุก, กักขัง, จองจำ, จับกุม |
imprisonment | (n) การขังคุก, การกักขัง, การจองจำ, การจับกุม |
intimidate | (vt) ขู่ขวัญ, ทำให้กลัว, ข่มขู่, คุกคาม |
intimidation | (n) การขู่ขวัญ, การทำให้กลัว, การข่มขู่, การคุกคาม |
jail | (n) คุก, ตะราง, เรือนจำ, ห้องขัง |
jailbreak | (n) การแหกคุก, การหนีคุก |
jug | (n) เหยือกน้ำ, คนโท, หม้อ, ไห, กระโถน, คุก, เรือนจำ |
kneel | (vi) คุกเข่าลง |
limbo | (n) ที่คุมขัง, คุก, นรก |
menace | (n) การขู่, ห้วงอันตราย, ภัยอันตราย, การคุกคาม |
menace | (vt) ขู่, เป็นอันตราย, คุกคาม |
prison | (n) เรือนจำ, คุก, ตะราง, ที่คุมขัง |
prisoner | (n) นักโทษ, เชลย, คนคุก, จำเลย |
smoulder | (n) การคุ, การระอุ, การคุกรุ่น |
smoulder | (vi) คุ, ระอุ, คุกรุ่น, อบ |
stockade | (n) รั้ว, ค่ายรบ, เพนียด, คุกทหาร |
terrorize | (vt) ทำให้ตกใจกลัว, ทำให้สยองขวัญ, คุกคาม, ข่มขวัญ |
threat | (n) คำขู่, การคุกคาม, การขู่เข็ญ, ลางร้าย |
threaten | (vt) คุกคาม, ขู่, เป็นลางร้าย |