กระแซ ๑ | น. คนเชื้อสายชาวอินเดียเมืองมณีปุระ (เมืองหนึ่งในแคว้นอัสสัม). |
กลิงค์ | (กะลิง) น. เรียกชาวอินเดียใต้พวกหนึ่งที่มีผิวดำ ว่า แขกกลิงค์, กลึงค์ หรือ กะเล็ง ก็ว่า. |
แขก ๒ | น. คำเรียกชาวอินเดีย ศรีลังกา ปากีสถาน บังกลาเทศ อัฟกานิสถาน เนปาล ชวา มลายู ชาวเอเชียตะวันออกกลางและตะวันออกใกล้ ยกเว้นชาวยิว แอฟริกาเหนือ และ นิโกร. |
ซิก ๒, ซิกข์ | ชื่อชาวอินเดียพวกหนึ่งที่นับถือศาสนาซิกข์ส่วนมากอยู่ในแคว้นปัญจาบ ประเทศอินเดีย |
นพนิต | (นบพะนิด) น. เนยข้นชนิดหนึ่ง. (ชาวอินเดียเรียกว่า ghee). |
นวนิต | น. นพนิต, เนยข้นชนิดหนึ่ง. (ชาวอินเดียเรียกว่า ghee). |
ภารต, ภารต- | (พารด, พาระตะ-) น. ชาวอินเดีย |
ยวน ๑ | น. ชื่อชนชาติกรีก ซึ่งชาวอินเดียเรียกเพี้ยนมาจากคำ Ionia |
เยาวนะ | (-วะ-) น. ชื่อชนชาติกรีก ซึ่งชาวอินเดียเรียกเพี้ยนมาจากคำ Ionia |
โยน ๓, โยนก | น. ชื่อชนชาติกรีก ซึ่งชาวอินเดียเรียกเพี้ยนมาจากคำ Ionia |
วิลาด, วิลาศ | ว. ที่เป็นของยุโรป (เป็นคำที่ชาวอินเดียในสมัยก่อนเรียกชาวตะวันตกโดยเฉพาะชาวอังกฤษ) เช่น สาคูวิลาด เหล็กวิลาด ผ้าวิลาศ. |
เวท, เวท- | ชื่อคัมภีร์ภาษาสันสกฤตโบราณซึ่งเป็นพื้นฐานของศาสนาพราหมณ์ยุคแรก มี ๔ คัมภีร์ ได้แก่ ๑. ฤคเวท ว่าด้วยบทสวดสรรเสริญเทพเจ้าทั้งหลาย ตอนท้ายกล่าวถึงการสร้างโลก ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นต้นแบบความเชื่อของชาวอินเดีย ๒. ยชุรเวท ว่าด้วยรายละเอียดการประกอบยัญพิธีและลำดับมนตร์ที่นำมาจากคัมภีร์ฤคเวทเพื่อสวดในขั้นตอนต่าง ๆ ของพิธี ๓. สามเวท ว่าด้วยบทขับที่คัดเลือกมาจากประมาณหนึ่งในหกของฤคเวท และใช้เฉพาะในพิธีที่บูชาด้วยน้ำโสม ๔. อถรรพเวท หรือ อาถรรพเวท เป็นเวทมนตร์คาถาเพื่อให้เกิดผลดีแก่ฝ่ายตนหรือผลร้ายแก่ฝ่ายศัตรู ตลอดจนการบันดาลสิ่งที่เป็นมงคลหรืออัปมงคล การทำเสน่ห์ การรักษาโรค และอื่น ๆ สามคัมภีร์แรกเรียกว่า ไตรเวท หรือ ไตรเพท ต่อมารับอถรรพเวทหรืออาถรรพเวทเข้ามารวมเป็นสี่คัมภีร์เรียกว่า จตุรเวท หรือ จตุรเพท, เรียกยุคแรกของศาสนาพราหมณ์จนถึงประมาณสมัยพุทธกาลว่า ยุคพระเวท มีวรรณกรรมหลักประกอบด้วยคัมภีร์พระเวท คัมภีร์พราหมณะ คัมภีร์อารัณยกะและคัมภีร์อุปนิษัทรุ่นแรก. |
สิกข์, สิข | ชื่อชาวอินเดียพวกหนึ่งที่นับถือศาสนาสิกข์ ส่วนมากอยู่ในแคว้นปัญจาบ ประเทศอินเดีย |
อริยกะ | (อะริยะ-) น. ชื่อชนชาติหนึ่ง ซึ่งเป็นต้นเค้าของชาวอินเดียบางพวก ชาวอิหร่าน และชาวยุโรปบางพวก, อารยัน ก็ว่า. |
อารยัน | น. ชื่อชนชาติหนึ่งซึ่งเป็นต้นเค้าของชาวอินเดียบางพวก ชาวอิหร่าน และชาวยุโรปบางพวก, อริยกะ ก็ว่า. |
dal | (n) ซอสชนิดหนึ่งของชาวอินเดีย (ทำจากถั่วแระ เครื่องเทศ), Syn. dahl |
Indian | (n) ชาวอินเดีย, See also: คนอินเดีย |
Indian | (n) ชาวอินเดียนแดง, See also: อินเดียแดง, ชนพื้นเมืองอเมริกัน |
moccasin | (n) รองเท้าหนังกวางนุ่มไม่มีส้นของชาวอินเดียนแดง, Syn. slipper, sandal |
peace pipe | (n) กล้องสูบยาของชาวอินเดียนแดงในอเมริกาเหนือ |
paki | (sl) คำเรียกชาวเอเชีย (คำหยาบโดยเฉพาะเมื่อใช้เรียกชาวอินเดีย) |
Seminole | (n) ชาวอินเดียนแดงเผ่า Muskogean |
Sioux | (n) ชาวอินเดียนแดง |
tepee | (n) กระโจมของชาวอินเดียนแดง, Syn. Indian tent, wigwam, lodge, tent |
amerind | (แอม' เมอไรนดฺ) n. ชาวอินเดียแดงและเอสกิโมในอเมริกาเหนือและใต้, ภาษาท้องถิ่นของอินเดียแดง. -Amerindian adj., n. -Amerindic adj. |
arrowwood | (แอร์'โรวูด) n. พืชจำพวก wahoo มีรากแข็งและตรงชาวอินเดียแดงใช้ทำลูกศร |
aymara | (ไอ'มารา) n. ชาวอินเดียแดงเผ่าพันธุ์หนึ่ง, ภาษาของคนพวกนี้. -Aymaran adj. (of an Indian people) |
babu | (บา'บู) n. คำทักทายยกย่อง (คุณ, คุณนาย, ท่าน) ของชาวฮินดู, สุภาพบุรุษชาวฮินดู, ชาวอินเดียที่รู้จักภาษาเล็กน้อย, Syn. baboo, Sir, Mr. |
chinook | n. ชาวอินเดียแดงที่อยู่บนฝั่งของแม่น้ำโคลัมเบีย |
indian | (อิน' เดียน) n. ชาวอินเดีย, ชาวอินเดียนแดง, ภาษาอินเดีย, ภาษาอินเดีย, ภาษาอินเดียนแดง, สมาชิกขององค์การ. -adj. เกี่ยวกับชาวอินเดียหรืออินเดียนแดง, เกี่ยวกับภาษาอินเดียหรืออินเดียแดง, เกี่ยวกับตะวันออก, เกี่ยวกับบริเวณประเทศอินเดีย ปากีสถาน บังคลาเทศและศรี |