Condition monitoring | การเฝ้าสังเกตภาวะ, การสังเกต การวัด หรือแนวโน้ม ของตัวบ่งชี้ภาวะโดยเทียบกับพารามิเตอร์เสรี เช่น เวลาหรือรอบการทำงาน เพื่อแสดงว่า โครงสร้าง ระบบ หรือส่วนประกอบ สามารถใช้งานตามเกณฑ์ที่กำหนดได้ทั้งในปัจจุบันและอนาคต, Example: [นิวเคลียร์] |
Tumor markers, Biological | ตัวบ่งชี้เนื้องอก [TU Subject Heading] |
Indicators | ตัวบ่งชี้, Example: เป็นตัวบ่งบอกถึงเหตุการณ์ที่ซับซ้อน เช่น อัตราการตายของทารก หรือบ่งชี้ถึงสภาพด้านการอนามัยของประชากร เป็นต้น [สิ่งแวดล้อม] |
ดัชนีความหนืด | ดัชนีความหนืดของน้ำมันหล่อลื่นเป็นตัวบ่งชี้ว่าน้ำมันหล่อลื่นชนิดนี้จะมี ความหนืดเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิอย่างไร ถ้าน้ำมันหล่อลื่นมีค่าดัชนีความหนืดมาก แสดงว่าน้ำมันหล่อลื่นชนิดนี้ความหนืดจะเปลี่ยนแปลงน้อยเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน ในขณะที่น้ำมันหล่อลื่นที่มีค่าดัชนีความหนืดต่ำ แสดงว่าน้ำมันหล่อลื่นชนิดนั้น ความหนืดจะเปลี่ยนแปลงมากเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน น้ำมันที่มีดัชนีความหนืดสูงจะเป็นน้ำมันคุณภาพดี สามารถใช้งานได้ดี แม้มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิมาก [ปิโตรเลี่ยม] |
Digital Object Identification | ตัวบ่งชี้วัตถุดิจิทัล, Example: ชื่อหรือรหัสที่ถูกกำหนดขึ้น เพื่อระบุชื่อ ตำแหน่ง หรือที่จัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลที่เผยแพร่และให้บริการบนอินเทอร์เน็ต <p> <p><b>ประวัติ</b> <p>1977 - เกิดจากรวมตัวกันระหว่างสมาคมการพิมพ์แห่งสหรัฐอเมริกา คือ International Publishers Association; International Association of Scientific, Technical and Medical Publishers; Association of American Publishers และเปิดตัวระบบ DOI ในงาน Frankfurt Book Fair 1997 <p>มีการก่อตั้งมูลนิธิ The International DOI Foundation ทำงานร่วมกับ Corporation for Natiobal Research Initiatives (CNRI) ในการพัฒนาระบบแฮนเดิล (Handle System) <p>1998-2000 IDF ร่วมกับ Indecs project กำหนด Indecs framework <p>2000 เชื่อมโยงบทความอิเล็กทรอนิกส์ด้วย CrossRef Registration Agency <p>ปัจจุบัน DOI ได้รับการรับรองเป็นมาตรฐานสากล ISO 26324:2012 : Information and Documentation <p><b>วัตถุประสงค์หลักของ DOI</b> <p>1. เพื่อเป็นการสร้างชื่อหรือรหัสประจำทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล <p>2. เพื่อความสะดวกในการค้นหา <p>3. เพื่อสร้างระบบที่เชื่อมโยงกับไฟล์ดิจิทัลในการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ <p>4. เพื่อการจัดเก็บและเผยแพร่ทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลในระยะยาว เป็นการแก้ปัญหาความไม่คงทนถาวรของเว็บไซต์และยูอาร์แอลที่เปลี่ยนแปลง <p><b>องค์ประกอบของ DOI</b> <p>ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ <p>ส่วนที่ 1 เรียกว่า Prefix คือ ชุดรหัสที่ Registration Agency (RA คือ หน่วยงานที่ให้บริการรหัส DOI) กำหนดขึ้น เริ่มต้นด้วยเลข 10 ตามด้วยตัวเลข 4 หลัก เช่น 10.1000 <p>ส่วนที่ 2 เรียกว่า Suffix คือ ส่วนของ Publisher กำหนดให้ เป็นตัวเลขหรือตัวอักษรที่อยู่หลังเครื่องหมาย / เช่น doi : 10.1016/j.polymer.2012.03.019 <p><b>หน่วยงานที่รับผิดชอบในการกำหนดรหัส DOI</b> <p>หน่วยงานที่รับผิดชอบในการกำหนดรหัส DOI คือ International DOI Foundation หรือ IDF ซึ่ง IDF จะให้หน่วยงานที่ทำหน้าที่เป็น Resiatration Agency หรือ RA กำหนดรหัสที่เป็นตัวเลขส่วนต้น (Prefix) ให้แก่สำนักพิมพ์หรือองค์กรที่เป็นสมาชิก โดย RA ทำหน้าที่เป็นหน่วยรับฝากชื่อรหัส DOI และ Metadata ของไฟล์ดิจิทัล <p>ตัวอย่างเช่น CrossRef ทำหน้าที่เป็น RA ซึ่งเป็นตัวแทนของสำนักพิมพ์หลายแห่งที่จัดทำวารสารวิชาการ เอกสารและหนังสือในรูปอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะทำหน้าที่รับลงทะเบียน DOI และจัดทำ Metadata ให้สัมพันธ์กับรหัส DOI และ URL ของเอกสารดิจิทัลและทำหน้าที่เป็นฐานข้อมูลกลางของ DOI ของสำนักพิมพ์ที่เป็นสมาชิก <p><b>รายการอ้างอิง</b> <p>น้ำทิพย์ วิภาวิน. สารสนเทศดิจิทัล และ DOI เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่อง Digital Information & DOI วันศุกร์ที่ 22 มิถุนายน 2550 ณ ห้อง 110 อาคารสำนักงานกลาง สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย. ปทุมธานี : ศูนย์บริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2550. <p>The DOI System. [ Online ] : http://www.doi.org/ Accessed: 04-08-2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Persistent Uniform Resource Locators | เพิร์ล ยูอาร์แอลประเภทหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นตัวบ่งชี้อย่างถาวร, Example: PURLs เป็นยูอาร์แอลประเภทหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นตัวบ่งชี้อย่างถาวร เพื่อช่วยแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงของยูอาร์แอล โดยสำนักงานโอซีแอลซี (OCLC) ใช้เทคโนโลยีของยูอาร์เอ็นสร้างตัวบ่งชี้ด้วยการกำหนดชื่อเป็น Persistent URLs หรือ เพิร์ล (PURLs) ซึ่งพัฒนาและเริ่มให้บริการตั้งแต่เดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1996 โดยมีลักษณะดังรูปที่ 1 <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120826-PURLS1.jpg" width="540" higth="100" alt="PURLs1"> <p>โดยหน้าที่ของเพิร์ล คือ ยูอาร์แอลตัวหนึ่ง แต่แทนที่จะชี้ไปยังตำแหน่งหรือทรัพยากรสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตโดยตรง เพิร์ลจะชี้ไปที่รีโซลูชันก่อน ซึ่งชี้ไปยังยูอาร์แอลตัวจริงอีกต่อหนึ่ง แล้วจึงส่งยูอาร์แอลนั้นคืนไปที่ผู้ใช้ ซึ่งสามารถติตต่อกับอยู่อาร์อาร์แอลได้ตามปรกติ <p>เพิร์ล ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ <p>1. โปรโตคอล (protocol) <p>2. รีโซฟเวอร์ แอดเดรส (resolver address) <p>3. ชื่อ <p> <p>ตัวอย่าง <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120826-PURLS2.jpg" width="540" higth="100" alt="PURLS2"> <p>จากตัวอย่าง เพิร์ลใช้โปรโตคอล เอชทีทีพีปกติ (ในที่นี้คือ purl.oclc.org) ส่วนรีโซฟเวอร์แอดเดรส ก็คือ ไอพีแอดเดรส หรือชื่อโดเมนของเพิร์ลรีโซฟเวอร์ ซึ่งใช้ระบบดีเอ็นเอสมาตรฐาน และส่วนที่สามคือ ชื่อ นั้นจะถูกแปลงด้วยเพิร์ลรีโซฟเวอร์ ระบบเพิร์ลนั้น สามารถปรับให้เป็นยูอาร์เอ็นได้ ดังตัวอย่าง <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120826-PURLS3.jpg" width="500" higth="100" alt="PURLS3"> <p>รายการอ้างอิง <p>ยรรยง เต็งอำนวย และ สุภาพร ชัยธัมมะปกรณ์. 2542. ปัญหาความไม่ถาวรของการอ้างอิงเอกสารบนเวิลด์ไวด์เว็บ. วารสารห้องสมุด 43, 2 (เม.ย. - มิ.ย. 42) : 1-17. <p>Shafer, Keith et al. 1996. Introduction to Persistence Uniform Resource Locators. [ On-line ]. Available: http://www.isoc.org/inet96/proceedings/a4/a4_1.htm Visited: 26-08-2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Index Organisms | ตัวบ่งชี้ [การแพทย์] |
Indicators | อินดิเคเตอร์, เครื่องชี้วัด, ตัวบ่งชี้, สี, เครื่องบอก, ตัวชี้แนะ [การแพทย์] |
Indicators, Optical | ตัวบ่งชี้ทางแสง [การแพทย์] |