สตางค์ | (n) money, Syn. เงิน, Count Unit: สตางค์ |
สตางค์ | (n) money, See also: cash, coin, readies, legal tender, Syn. ตังค์, เงิน, Example: รายจ่ายแต่ละเดือนมีมากเสียจนเขาแทบจะไม่มีสตางค์ไว้จับจ่ายซื้อของในแต่ละเดือน, Count Unit: บาท, Thai Definition: เงินที่ใช้สอยในชีวิตประจำวัน |
สตางค์ | (n) stang, Syn. เหรียญกระษาปณ์, Count Unit: เหรียญ, Thai Definition: เหรียญกระษาปณ์ปลีกย่อย 100 สตางค์ เป็น 1 บาท |
มีสตางค์ | (v) have money, See also: be rich, be wealthy, Syn. มีเงิน, Example: วันนี้เรามีสตางค์พอที่จะกินกันให้เต็มคราบ |
เศษสตางค์ | (n) fractional currency, Example: หนุ่มน้อยกำลังควานหาเศษสตางค์ในกระเป๋า, Thai Definition: เหรียญราคาน้อย |
เศษสตางค์ | (n) small change, Example: เขาเพียงแค่เก็บเศษสตางค์จากกำไรค่าเช่า ก็พอกินไปจนตาย, Thai Definition: เงินจำนวนเล็กน้อย, เงินปลีกย่อย |
สตางค์ปลีก | (n) small change, See also: change, petty cash, Syn. ตังค์ปลีก, เศษสตางค์, เงินปลีก, Example: เสมข้ามรั้วบ้านไปยืมสตางค์ปลีกพี่โรจน์ มาจ่ายค่าน้ำแข็ง, Count Unit: บาท |
กระเป๋าสตางค์ | (n) purse, See also: wallet, Syn. กระเป๋าธนบัตร, Example: ราคาของสินค้ามันควรจะเหมาะสมกับค่าเงินในกระเป๋าสตางค์ของคุณ, Count Unit: ใบ, ลูก, Thai Definition: เครื่องใช้สำหรับเก็บธนบัตรหรือเหรียญ |
ตางัว ๑ | น. ชื่อโคมชนิดหนึ่ง |
ตางัว ๑ | โลหะที่ทำเป็นรูใช้เลี่ยมรูผ้าหรือรูหนังเพื่อกันช่องสึก, ถ้าขนาดเล็ก เรียกว่า ตาไก่. |
ตาง | ส. คำใช้แทนนามหลายฝ่ายให้แยกออกเป็นส่วน ๆ เช่น ทุกทั่วสัตวตื่นตาง แตกเต้า (ตะเลงพ่าย), ต่าง ก็ว่า. |
ตางัว ๑ | ดูใน ตา ๒. |
ตางัว ๒ | น. ชื่อหอยทะเลกาบเดี่ยวหลายชนิด ในวงศ์ Turbinidae เปลือกหนา ค่อนข้างกลม ก้นหอยสั้น ผิวขรุขระ แผ่นปิดช่องเปลือกกลมหนา ด้านนอกโค้ง เรียก เบี้ยตางัว ใช้สำหรับเล่นหมากรุก เช่น ชนิด Turbo marmoratus Linn., T. bruneus (Röding). |
ตางัว ๓ | น. ชื่อไม้ดอกชนิดหนึ่ง. |
สตางค์ | (สะตาง) น. เหรียญกระษาปณ์ปลีกย่อย ๑๐๐ สตางค์ เป็น ๑ บาท, อักษรย่อว่า สต., โดยปริยายหมายถึงเงินที่ใช้สอย เช่น วันนี้ไม่มีสตางค์ติดตัวมาเลย เขาเป็นคนมีสตางค์ |
สตางค์ | ชื่อมาตราชั่งตามวิธีประเพณี สำหรับกำหนดนํ้าหนักเท่ากับเงินหนัก ๐.๑๕ กรัม |
สตางค์ | มาตราวัดน้ำฝนเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของทศางค์. |
สิตางศุ์ | น. พระจันทร์. |
สิตางศุ์ | ดู สิต-. |
กบแจะ | ก. แตะ, กระทบ, ประกบกัน, (ใช้เฉพาะการเล่นอย่างเล่นโยนหลุม โดยโยนสตางค์หรือเบี้ยให้ไปแตะหรือประกบกัน), แจะ ก็ว่า. |
กลม ๒ | (กฺลม) ว. มีสัณฐานโดยรอบไม่เป็นเหลี่ยม, ถ้าเหมือนลูกหิน เรียกว่า ลูกกลม, ถ้าเหมือนเส้นที่ลากเป็นวงมาจดกัน โดยมีเส้นรัศมียาวเท่ากัน เรียกว่า วงกลม, ถ้าเหมือนสตางค์ เรียกว่า กลมแบน, ถ้าเหมือนกระบอกไม้ไผ่ เรียกว่า กลมยาว, ถ้าเหมือนไข่ไก่ แต่หัวและท้ายเท่ากัน เรียกว่า กลมรี |
ก้อย ๑ | ในการเล่นปั่นแปะหรือโยนหัวโยนก้อย เรียกสมมุติด้านหนึ่งของสตางค์หรือเหรียญกระษาปณ์ ว่า ด้านก้อย, คู่กับ ด้านหัว |
แข่งเกมวิบาก | น. การเล่นชนิดหนึ่ง ผู้เล่นต้องวิ่งข้ามสิ่งกีดขวางหรือทำกิจกรรมที่ยาก ๆ เช่น ใช้ปากควานหาสตางค์ในแป้ง สนเข็ม เป่าลูกโป่งให้แตก ใครทำเสร็จและวิ่งถึงเส้นชัยก่อนเป็นผู้ชนะ. |
คลิ้งโคลง | (คฺลิ้งโคฺลง) น. นกกิ้งโครง เช่น คลิ้งโคลงคล้อแคล้ในรัง นกเจ่าเหงาฟัง แลสารกระสาสรวลตาง (สมุทรโฆษ). (ดู กิ้งโครง ๑). |
แจก | ก. แบ่งหรือปันให้แก่คนหลาย ๆ คน เช่น แจกเสื้อผ้า แจกสตางค์ |
แจะ ๑ | ก. แตะ, กระทบ, ประกบกัน, (ใช้เฉพาะการเล่นอย่างเล่นโยนหลุม โดยโยนสตางค์หรือเบี้ยให้ไปแตะหรือประกบกัน), ภาษาปากใช้ว่า กบแจะ ก็มี |
เช้ง ๒ | ว. สวย เช่น ขนตางอนเช้ง สวยเช้ง, สวยเพราะตกแต่งงามเป็นพิเศษ เช่น งามเช้ง. |
ซอน | ก. สอดมือเข้าไปใต้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อควานหาของ เช่น เอามือซอนหาไฟฉายใต้ผ้าห่ม ซอนหาเศษสตางค์ในกระเป๋ากางเกง. |
แดง ๑ | น. สตางค์ เช่น ไม่มีสักแดงเดียว. |
ต้อเนื้อ, ต้อลิ้นหมา | น. โรคตาซึ่งเกิดจากเยื่อตางอกไปบนกระจกตา. |
ตาไก่ | โลหะที่ทำเป็นรูใช้เลี่ยมรูผ้าหรือรูหนังเพื่อกันช่องสึก, ถ้าขนาดใหญ่ เรียกว่า ตางัว. |
ต่าง ๒ | ส. คำใช้แทนนามหลายฝ่ายให้แยกออกเป็นส่วน ๆ เช่น คนทั้งหลายต่างก็ทำหน้าที่ของตน, ในบทกลอนใช้ว่า ตาง ก็มี. |
แถมพก | ก. แถมให้เป็นพิเศษ เช่น ซื้อกระเป๋าหิ้ว เลยได้กระเป๋าใส่สตางค์แถมพกมา. |
ทศางค์ | (ทะสาง) น. มาตราวัดนํ้าฝนเท่ากับ ๑๐ สตางค์ เป็น ๑ ทศางค์, และ ๑๐ ทศางค์ เป็น ๑ นิ้ว. |
ทอน | หักจำนวนเงินตามราคาแล้วคืนส่วนที่เหลือไป เช่น ทอนเงิน ทอนสตางค์. |
ทอยกอง | น. ชื่อการเล่นพนันอย่างหนึ่ง ใช้สตางค์หรือสิ่งอื่นตั้งซ้อน ๆ กันแล้วทอยให้ล้ม. |
ทิ้งทาน | ก. ให้ทานโดยวิธีหว่านหรือโปรยสตางค์หรือเหรียญ, โปรยทาน ก็ว่า. |
ทุ่น | ก. ผ่อนหรือช่วยให้สิ้นเปลืองน้อยลง เช่น ทุ่นแรง ทุ่นเวลา ทุ่นสตางค์. |
บ้อ, บ้อหุ้น | น. ชื่อการพนันชนิดหนึ่ง เขียนตารางสี่เหลี่ยมหรือวงกลมลงบนพื้น มีผู้เล่น ๒ ฝ่าย แต่ละฝ่ายออกสตางค์ฝ่ายละ ๒-๓ อัน เอามารวมกัน ฝ่ายหนึ่งจะเป็นผู้โยนสตางค์ทั้งหมดลงในตารางหรือวงกลมนั้นให้กระจาย อีกฝ่ายหนึ่งจะชี้สตางค์อันใดอันหนึ่งให้ฝ่ายโยน ฝ่ายโยนจะต้องใช้สตางค์อีกอันหนึ่ง เรียกว่า “อีตัว” โยนลงให้ประกบสตางค์อันที่เขาชี้ให้ ถ้าโยนลงไปประกบได้ ก็เป็นฝ่ายชนะ ได้สตางค์ทั้งหมด ถ้าโยนถูกสตางค์อันอื่น ก็เป็นฝ่ายแพ้ ต้องเสียสตางค์ทั้งหมดให้ฝ่ายชี้ แต่ถ้าฝ่ายโยนไม่มั่นใจว่าจะโยนอีตัวไปประกบได้ ก็อาจโยนอีตัวลงไปในที่ว่าง เรียกว่า “อู้ไว้” หมายความว่า กินไม่ได้ แล้วอีกฝ่ายหนึ่งก็จะเป็นผู้โยนบ้าง ฝ่ายที่โยนก่อนก็เปลี่ยนมาเป็นผู้ชี้บ้าง. |
บาท ๒ | น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๑๐๐ สตางค์ หรือ ๔ สลึง เท่ากับ ๑ บาท, อักษรย่อว่า บ. |
ปั่นแปะ | น. ชื่อการพนันอย่างหนึ่ง เดิมใช้อีแปะ ปัจจุบันใช้สตางค์หรือเงินเหรียญปั่นให้หมุน แล้วใช้ฝ่ามือปิดไว้ ให้ทายว่าจะออกหัวหรือก้อย, อีกอย่างหนึ่งใช้อีแปะ สตางค์ หรือเงินเหรียญ ๒ อัน อันหนึ่งใส่ไว้ในอุ้งมือ แล้วปั่นอีกอันหนึ่งให้หมุน แล้วเอาฝ่ามือที่มีอีแปะ สตางค์ หรือเงินเหรียญตบลงไปบนอันที่กำลังหมุน ให้ทายว่า ออกหัว ก้อย หรือกลาง ถ้าออกหัว ๒ อัน เรียกว่า ออกหัว ถ้าออกก้อย ๒ อัน เรียกว่า ออกก้อย ถ้าออกหัวอันหนึ่งก้อยอันหนึ่ง เรียกว่า ออกกลาง. |
ปิ๋ว ๑ | ก. ชักไว้เสีย, เป็นคำใช้ในวิธีเล่นโยนหลุม เมื่อโยนกันจนเหลือ ๑ สตางค์ ก็ชักเอาเสียไม่ต้องโยนอีก เรียกว่า ปิ๋ว |
โปรยทาน | ก. ให้ทานโดยวิธีหว่านหรือโปรยสตางค์หรือเหรียญ, ทิ้งทาน ก็ว่า. |
เม้ม ๒ | ก. ยักเอาไว้ เช่น เม้มสตางค์. |
ยุบยิบ | ว. ละเอียดเกินไป, ถี่ถ้วนเกินไป, เช่น ตรวจยุบยิบ คิดยุบยิบทุกบาททุกสตางค์ |
โยน ๑ | ก. ซัดให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งพ้นไปจากตัวโดยวิธีหงายมือ เช่น โยนสตางค์ โยนของ, เคลื่อนไหวหรือทำให้เคลื่อนไหวอย่างแรงจากที่เดิม เช่น คลื่นซัดจนเรือโยน คลื่นโยนเรือ, ไหวอย่างแรง แต่ไม่เคลื่อนจากที่เดิม เช่น ลมพัดกิ่งไม้โยนไปโยนมา หอบจนตัวโยน |
โยนหลุม | น. ชื่อการเล่นพนันชนิดหนึ่งใช้สตางค์หรือสิ่งอื่นโยนให้ลงหลุม. |
โยนหัวโยนก้อย | ก. โยนสตางค์หรือสิ่งอื่นขึ้นไปแล้วทายว่าตกลงมาจะหงายด้านหัวหรือก้อย. |
ร้อย ๒ | ก. สอด, สอดด้วยด้ายเป็นต้น, เช่น ร้อยดอกไม้ ร้อยพวงมาลัย ร้อยสตางค์แดง ร้อยเชือกผูกรองเท้า. |
รีบร้อน | ก. กิริยาที่รีบทำอย่างลุกลน เช่น เขารีบร้อนไปทำงานจนลืมกระเป๋าสตางค์. |
ล่อตา | ว. ชวนให้อยากได้ เช่น วางกระเป๋าสตางค์ไว้บนโต๊ะล่อตาขโมย. |
ล้อ ๑ | ก. กลิ้งหมุนไปอย่างล้อรถ เช่น ล้อสตางค์ให้กลิ้งไป. |
ล่องหน | ก. หายตัวไปด้วยเวทมนตร์, มักใช้เข้าคู่กับคำ หายตัว เป็น ล่องหนหายตัว คือ ไม่ปรากฏให้เห็นตัว, โดยปริยายหมายความว่า หายไปโดยไม่มีร่องรอย เช่น กระเป๋าสตางค์บนโต๊ะล่องหนไปแล้ว. |
เลินเล่อ | ก. ขาดความระวังหรือไม่รอบคอบในสิ่งที่ควรกระทำ เช่น เด็กคนนี้เลินเล่อ ทำกระเป๋าสตางค์หล่นหายโดยไม่รู้ตัว. |
วนเวียน | ก. วนไปวนมา, กลับไปกลับมา, เช่น เดินวนเวียนอยู่ระหว่างบ้านกับตลาด กระเป๋าสตางค์หล่นหายเดินวนเวียนหาอยู่หลายรอบ. |
เศษ | ส่วนปลีกย่อยหรือส่วนย่อย เช่น เศษสตางค์ เศษเนื้อ เศษผ้า |
สลึง | (สะหฺลึง) น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๒๕ สตางค์ เท่ากับ ๑ สลึง, เขียนตามวิธีโบราณดังนี้ หมายความว่า ๒ สลึง |
เสร็จกัน, เสร็จเลย | คำที่เปล่งออกมาแสดงความผิดหวัง เช่น เสร็จกัน ยังไม่ทันได้ออกแสดง เสื้อผ้าก็เปื้อนหมดแล้ว เสร็จเลย ลืมเอากระเป๋าสตางค์มา. |