ไก่ป่า | น. ชื่อไก่ชนิด Gallus gallus (Linn.) ในวงศ์ Phasianidae ตัวผู้สีเข้มสดใสและหลากสีกว่าตัวเมีย เช่น สีเขียว ดำ แดง ตัวเมียสีน้ำตาลอมเหลือง ทั้งตัวผู้และตัวเมียขาสีเทาเข้ม โคนหางสีขาว อาศัยในป่าโปร่ง เช่น ป่าไผ่ ในประเทศไทยมี ๒ ชนิดย่อย คือ ไก่ป่าติ่งหูขาว [ G. g. gallus (Linn.) ] และไก่ป่าติ่งหูแดง [ G. g. spadiceus (Bonaterre) ] ไก่ชนิดนี้เป็นต้นตระกูลของไก่บ้าน. |
แจ้ | น. ชื่อไก่ซึ่งคัดเลือกสายพันธุ์มาจากไก่ [ Gallus gallus (Linn.) ] ตัวเล็กเตี้ย สั้น กลม หลังสั้นกว้าง หัวใหญ่ หงอนใหญ่ตั้งตรงมี ๕ หยัก เหนียงใหญ่กลม ห้อยลงทาบข้างคอ จะงอยปากแข็งแรง โค้งลงเล็กน้อย ตาและติ่งหูใหญ่ คอสั้น ปีกใหญ่ยาว ปลายปีกชี้จดพื้นดิน หางพัดใหญ่ กางแผ่ออกตั้งชี้ขึ้น ขาสั้น แข้งไม่มีขน นิ้วตีนเล็ก ตรง, ไก่เตี้ย ก็เรียก. |
หูยาน | น.ชื่อพระเครื่องแบบหนึ่ง มีติ่งหูยาวมากผิดปรกติ. |
auriculate | -รูปติ่งหู, -รูปติ่งใบ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
ear lobule | ติ่งหู [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ติ่งหู | ความหมายเหมือนเกรียน, Example: ลักษณะคล้ายคำว่า เกรียน แต่ใช้สำหรับผู้หญิง [ศัพท์วัยรุ่น] |
Ear Lobule | ติ่งหู [การแพทย์] |
Lobules | เป็นช่องๆ, กลีบเล็กๆ, ติ่งหู, พูเล็ก, กลีบย่อย, พูย่อย, ก้อนตับเล็ก, กลีบเล็กๆ, โลบูล [การแพทย์] |
ติ่งหู | [ting hū] (n, exp) EN: earlobe FR: lobe de l'oreille [ m ] |
earlobe | (n) ใบหูส่วนล่าง, See also: ติ่งหู |
lobe | (n) ติ่งหู, Syn. ear lobe |