บัณฑิต | (n) graduate, See also: pundit, sage, Example: มหาวิทยาลัยแห่งนี้ผลิตบัณฑิตคุณภาพมากมายออกมาสู่สังคม, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญา |
มหาบัณฑิต | (n) holder of a master's degree, See also: Master (of science, engineering, medicine), Example: ถ้าเขาเรียนจบก็จะได้เป็นมหาบัณฑิต วิถีชีวิตต้องไม่มาเป็นอย่างนี้แน่, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ได้รับปริญญาโท |
ศิลปบัณฑิต | (n) Bachelor of Fine Arts, See also: B.F.A., Syn. ศป.บ. |
ดุษฎีบัณฑิต | (n) doctor, See also: doctor's degree, Syn. ปริญญาเอก |
บัญชีบัณฑิต | (n) Bachelor of Accountancy, See also: B.Acc., Syn. บช.บ. |
รัฐศาตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Arts (Political Science), See also: B.A. (Political Science), Syn. ร.บ. |
บัญชีมหาบัณฑิต | (n) Master of Accountancy, See also: M.Acc., Syn. บช.ม. |
ราชบัณฑิตยสถาน | (n) Royal Institute, Example: ผมเคยทำงานกับท่าน สมัยที่ท่านทำงานอยู่ที่ราชบัณฑิตยสถาน, Thai Definition: องค์กรวิทยาการของรัฐซึ่งเป็นที่รวมแห่งราชบัณฑิต |
ราชบัณฑิตยสถาน | (n) the Royal Institute, See also: the Royal Academy, Example: เขาเป็นกรรมการชำระปทานุกรมแห่งราชบัณฑิตยสถาน |
คุรุศาสตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Education, See also: B.Ed., Syn. ค.บ. |
นิติศาสตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Laws, See also: LL.B., Syn. น.บ. |
วิทยาศาตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Science, See also: B.Sc., B.S., Syn. วท.บ. |
อักษรศาตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Arts, See also: B.A., Syn. อ.บ. |
เภสัชศาตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Pharmacy, See also: Bachelor of Science in Pharmacy, B.P., B.Sc. in Pharm., Syn. ภ.บ. |
แพทยศาสตรบัณฑิต | (n) Doctor of Medicine, See also: M.D., Syn. พ.บ. |
นิเทศศาสตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Arts (Communication Arts), See also: B.A. (Communication Arts), Syn. นศ.บ. |
พยาบาลศาตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Nursing Science, See also: B.N.S., Syn. พย.บ. |
รัฐศาตรมหาบัณฑิต | (n) Master of Arts (Political Science), See also: M.A. (Political Science), Syn. ร.ม. |
วิทยาศาสตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Science, See also: B.Sc., Thai Definition: ปริญญาตรีทางสาขาวิทยาศาสตร์ |
วิทยาศาสตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Science, See also: B.S., Syn. วท.บ. |
อักษรศาสตรบัณฑิต | (n) bachelor of arts, See also: B.A. |
เกษตรศาสตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Agriculture, See also: B.Ag., Syn. กส.บ., Example: อาจารย์ได้ปริญญาจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2 สาขาวิชา คือ ศึกษาศาสตรบัณฑิต และเกษตรศาสตรบัณฑิต |
ครุศาสตร์มหาบัณฑิต | (n) master of education, Example: อีกไม่นานผมก็จะได้เป็นครุศาสตร์มหาบัณฑิต, Thai Definition: ผู้ที่เรียนจบปริญญาโทด้านครุศาสตร์ |
คุรุศาสตรมหาบัณฑิต | (n) Master of Education, See also: M.Ed., Syn. ค.ม. |
นิติศาสตรมหาบัณฑิต | (n) Master of Laws, See also: LL.M., Syn. น.ม. |
บริหารธุรกิจบัณฑิต | (n) Bachelor of Business Administration, See also: B.B.A., Syn. บธ.บ. |
บริหารธุรกิจบัณฑิต | (n) Bachelor of Business Administration |
รัฐศาตรดุษฎีบัณฑิต | (n) Doctor of Philosophy (Political Science), See also: Ph.D. (Political Science), Syn. ร.ด. |
วิทยาศาตรมหาบัณฑิต | (n) Master of Science, See also: M.Sc., Syn. วท.ม. |
วิศวกรรมศาตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Engineering, See also: B.Eng., Syn. วศ.บ. |
อักษรศาตรมหาบัณฑิต | (n) Master of Arts, See also: M.A., Syn. อ.ม. |
เภสัชศาตรมหาบัณฑิต | (n) Master of Science in Pharmacy, See also: M.Sc. in Pharm., Syn. ภ.ม. |
ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต | (n) Doctor of Dental Surgery, See also: D.D.S., Syn. ท.บ. |
นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | (n) Master of Arts (Communication Arts), See also: M.A. (Communication Arts), Syn. นศ.ม. |
พยาบาลศาตรมหาบัณฑิต | (n) Master of Nursing Science, See also: M.N.S., Syn. พย.ม. |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | (n) Master of Science, See also: M.S., M.Sc., Thai Definition: ปริญญาโททางสาขาวิทยาศาสตร์ |
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Science in Engineering, Example: พี่ยอดจบการศึกษาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เมื่อปี 2533 |
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Engineering, See also: B.Eng., Syn. วศ.บ. |
สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต | (n) Doctor of Veterinary Medicine, See also: B.V.M., Syn. ส.พ.บ. |
อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | (n) master of arts, See also: A.M. |
เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | (n) Master of Agriculture, See also: M.Agr., Syn. กส.ม. |
คุรุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | (n) Doctor of Education, See also: Ph.D., Doctor of Philosophy, Syn. ค.ด. |
นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต | (n) Doctor of Laws, See also: LL.D., Syn. น.ด. |
รัฐประศาสนศาตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Arts (Public Administration), See also: B.A. (Public Administration), Syn. รป.บ. |
วิทยาศาตรดุษฎีบัณฑิต | (n) Doctor of Science, See also: D.Sc., D.S., Syn. วท.ด. |
สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Science (Public Health), See also: B.P.H., Syn. ส.บ. |
อักษรศาตรดุษฎีบัณฑิต | (n) Doctor of Philosophy, See also: Ph.D., Syn. อ.ด. |
อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต | (n) Master of Arts, See also: M.A, Example: สมเด็จพระเทพฯ ทรงสำเร็จการศึกษาปริญญาอักษรศาสตร์มหาบัณฑิตใน พ.ศ. 2524 |
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | (n) Master of Business Administration, See also: M.B.A., Syn. บธ.ม. |
วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต | (n) Doctor of Science, See also: D.S., D.Sc., Thai Definition: ปริญญาเอกทางสาขาวิทยาศาสตร์ |
ดุษฎีบัณฑิต | น. ปริญญาเอก |
ดุษฎีบัณฑิต | ผู้ได้รับปริญญาเอก. |
เนติบัณฑิต | น. ผู้ได้รับประกาศนียบัตรทางวิชากฎหมายของโรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม, ผู้สอบได้ตามหลักสูตรของสำนักศึกษาอบรมกฎหมายของเนติบัณฑิตยสภา. |
บัณฑิต | (บันดิด) น. ผู้ทรงความรู้, ผู้มีปัญญา, นักปราชญ์, ผู้สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาซึ่งมี ๓ ขั้น คือ ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก เรียกว่า บัณฑิต มหาบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิต, ผู้มีความสามารถเป็นพิเศษโดยกำเนิด เช่น คนนี้เป็นบัณฑิตในทางเล่นดนตรี. |
บัณฑิตย์ | (บันดิด) น. ความรอบรู้, การเรียน, ความเป็นบัณฑิต. |
มหาบัณฑิต | น. ปริญญาโท |
มหาบัณฑิต | ผู้ได้รับปริญญาโท. |
ราชบัณฑิต | (-บันดิด) น. นักปราชญ์หลวงมีความรู้ทางภาษาบาลี |
ราชบัณฑิต | สมาชิกองค์การวิทยาการของรัฐที่เรียกว่า ราชบัณฑิตยสถาน. |
จอมปลอม | ว. ที่หลอกลวงให้คนเชื่อว่าเป็นเช่นนั้นจริง เช่น ของจอมปลอม ผู้ดีจอมปลอม บัณฑิตจอมปลอม. |
เจ้ากรม | น. หัวหน้ากรมในราชการฝ่ายทหาร, (โบ) หัวหน้ากรมราชการทั้งฝ่ายทหารและพลเรือน เช่น กรมพระแสงสรรพวุธ กรมพระคชบาล กรมราชบัณฑิต, หัวหน้ากรมของเจ้าต่างกรม. |
ฉบับ | (ฉะ-) น. หนังสือเรื่องเดียวกันซึ่งมีข้อความหรือสำนวนแตกต่างกันเป็นต้น เช่น พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ต้นเดิมของหนังสือที่พิมพ์หรือเขียน เรียกว่า ต้นฉบับ |
ฑ | (ทอ) พยัญชนะตัวที่ ๑๗ เรียกว่า ฑอ มณโฑ เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น ออกเสียงเป็น ด บ้าง เช่น บัณฑิต มณฑป หรือ ท บ้าง เช่น มณฑล มณฑา และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น ษัฑ. |
ณ ๑ | (นอ) พยัญชนะตัวที่ ๑๙ เรียกว่า ณอ เณร เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากนหรือแม่กน เช่น คุณ บัณฑิต. |
ตจปัญจก-กรรมฐาน | (ตะจะปันจะกะกำมะถาน) น. กรรมฐานอันบัณฑิตกำหนดด้วยอาการมีหนังเป็นลำดับที่ ๕ เป็นอารมณ์ คือ กรรมฐานที่ท่านสอนให้พิจารณาส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้แก่ ๑. ผม ๒. ขน ๓. เล็บ ๔. ฟัน และ ๕. หนัง ให้เห็นว่าเป็นของไม่เที่ยง. |
ทิพพยาน | (ทิบพะยาน) น. กลพยานประเภทหนึ่ง เป็นพยานที่เชื่อถือได้ เช่น ภิกษุผู้ทรงธรรม พราหมณาจารย์ผู้ทรงศีลพรต นักปราชญ์ราชบัณฑิตผู้ทรงธรรม ขุนนางผู้มีบรรดาศักดิ์, ในสามดวงเขียนเป็น ทิพญาณ หรือ ทิพพญาณ, ทิพยพยาน ก็ว่า. |
ทิพยพยาน | น. กลพยานประเภทหนึ่ง เป็นพยานที่เชื่อถือได้ เช่น ภิกษุผู้ทรงธรรม พราหมณาจารย์ผู้ทรงศีลพรต นักปราชญ์ราชบัณฑิตผู้ทรงธรรม ขุนนางผู้มีบรรดาศักดิ์, ทิพพยาน ก็ว่า. |
นายก | (นา-ยก) น. ผู้นำ, ผู้เป็นหัวหน้า, เช่น นายกราชบัณฑิตยสถาน นายกสมาคม นายกสโมสร. |
ผลิต, ผลิต- | (ผะหฺลิด, ผะหฺลิดตะ-) ก. ทำให้เกิดมีขึ้นตามที่ต้องการด้วยอาศัยแรงงานหรือเครื่องจักรเป็นต้น เช่น ผลิตข้าว ผลิตรถยนต์ ผลิตครู ผลิตบัณฑิต. |
มหาวิทยาลัย | (มะหาวิดทะยาไล) น. สถาบันอุดมศึกษาที่มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงหลายสาขาวิชา หรือหลายกลุ่มสาขาวิชา เพื่อให้ประกาศนียบัตร อนุปริญญา ปริญญา และประกาศนียบัตรบัณฑิตแก่ผู้สำเร็จการศึกษา รวมทั้งดำเนินการวิจัยและให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ. |
ราชการบริหารส่วนกลาง, ราชการส่วนกลาง | น. การปกครอง ดูแล และการปฏิบัติภารกิจของรัฐในฐานะเป็นศูนย์กลางของการบริหารราชการแผ่นดิน โดยจัดแบ่งองค์กรในการปฏิบัติหน้าที่เป็นสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม เช่น ราชบัณฑิตยสถาน. |
รุ่น | น. วัยของคนที่ถืออายุเป็นเครื่องกำหนด เช่น รุ่นเด็ก รุ่นหนุ่ม รุ่นสาว รุ่นน้อง, สมัยของคนที่ใช้หลักใดหลักหนึ่งเป็นต้นว่า ปีการศึกษา น้ำหนัก เป็นเครื่องกำหนด เช่น นิสิตรุ่นแรก บัณฑิตรุ่นที่ ๒ นักมวยรุ่นฟลายเวท, คราวหรือสมัยแห่งสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดหรือผลิตขึ้นเป็นระยะ ๆ เช่น มะม่วงออกผลรุ่นแรก รถยนต์คันนี้เป็นรุ่นล่าสุด |
เลขาธิการ | น. ผู้ดำรงตำแหน่งบริหารระดับสูงตำแหน่งหนึ่ง เช่น เลขาธิการสหประชาชาติ เลขาธิการราชบัณฑิตยสถาน เลขาธิการรัฐสภา เลขาธิการสมาคม. |
วารสาร | น. หนังสือที่ออกตามกำหนดเวลา พิมพ์เรื่องที่เป็นงานวิจัยหรือบทความทางวิชาการ มีผู้ตรวจรับรองคุณภาพทางวิชาการ เช่น วารสารราชบัณฑิตยสถาน วารสารศิลปากร วารสารกรมการแพทย์. |
สถานภาพ | น. ฐานะ เช่น ราชบัณฑิตยสถานมีสถานภาพเป็นแหล่งค้นคว้าและบำรุงสรรพวิชา |
สถาปนา | (สะถาปะนา) ก. ยกย่องโดยแต่งตั้งให้สูงขึ้น เช่นเลื่อนเจ้านายให้สูงศักดิ์ขึ้น หรือยกวัดราษฎร์ขึ้นเป็นพระอารามหลวง, ตั้งขึ้น (มักใช้แก่หน่วยราชการหรือองค์การที่สำคัญ ๆ ในระดับกระทรวง ทบวงมหาวิทยาลัย) เช่น วันสถาปนากระทรวงมหาดไทย วันสถาปนาราชบัณฑิตยสถาน วันสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
สัมภาษณ์ | ก. สนทนาหรือสอบถามเพื่อนำเรื่องราวไปเผยแพร่ทางหนังสือพิมพ์หรือวิทยุกระจายเสียงเป็นต้น เช่น เจ้าหน้าที่กรมประชาสัมพันธ์สัมภาษณ์นายกราชบัณฑิตยสถานเกี่ยวกับความเป็นมาของราชบัณฑิตยสถาน. |
เสวนะ, เสวนา | (เสวะ-) ก. คบ เช่น ควรเสวนากับบัณฑิต ไม่ควรเสวนากับคนพาล, (ปาก) พูดจากัน เช่น หมู่นี้พวกเราไม่ค่อยได้พบปะเสวนากันเลย. |
อ้างอิง | ก. ระบุที่มาเพื่อเป็นหลักฐาน, ยกมากล่าวเป็นหลัก, เช่น ในการให้ความหมายของคำ เขามักอ้างอิงพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. |
สังเค็ด | ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ระบุว่าเป็นคำนาม หมายถึง ทานวัตถุมีตู้พระธรรมโต๊ะหมู่เป็นต้น ที่เจ้าภาพจัดถวายแก่พระสงฆ์หรือภิกษุผู้เทศน์หรือชักบังสุกุลในเวลาปลงศพ เรียกว่า เครื่องสังเค็ด [ศัพท์พระราชพิธี] |
emeritus professor | ศาสตราจารย์กิตติคุณ, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ, ตำแหน่งที่แต่งตั้งจากอาจารย์ประจำ ผู้เคยดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีความรู้ ความสามารถและความชำนาญเป็นพิเศษ และพ้นจากตำแหน่งไปโดยไม่มีความผิด สภามหาวิทยาลัยอาจแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณในสาขาวิชาที่ศาสตราจารย์นั้นมีความเชี่ยวชาญเพื่อเป็นเกียรติยศได้ <p>ศาสตราจารย์ผู้นี้อาจสอนในมหาวิทยาลัยต่อไปก็ได้ แต่ไม่ใช่ศาสตราจารย์ที่ต่ออายุราชการ บางมหาวิทยาลัยจะปรากฏชื่อศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณแยก จากศาสตราจารย์ธรรมดาในคู่มือการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา <p>การเรียกชื่อศาสตาราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณนั้นขึ้นอยู่กับ พระราชบัญญัติของแต่ละมหาวิทยาลัย เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกว่า ศาสตราจารย์กิตติคุณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรียกว่า ศาสตราจารย์เกียรติคุณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Bar examinations | การสอบเนติบัณฑิต [TU Subject Heading] |
Business education graduates | บัณฑิตธุรกิจศึกษา [TU Subject Heading] |
College graduates | บัณฑิต [TU Subject Heading] |
Graduate teaching assistants | บัณฑิตผู้ช่วยสอน [TU Subject Heading] |
Graduate work | งานบัณฑิตศึกษา [TU Subject Heading] |
Harvard University. Graduate School of Business Administration | มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด. บัณฑิตวิทยาลัยการบริหารธุรกิจ [TU Subject Heading] |
Learned institutions and societies | บัณฑิตยสถานและสมาคมทางวิชาการ [TU Subject Heading] |
Study and teaching (Graduate) | การศึกษาและการสอน (บัณฑิตศึกษา) [TU Subject Heading] |
Teachers college graduates | บัณฑิตคุรุศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Vocational school graduates | บัณฑิตอาชีวศึกษา [TU Subject Heading] |
Land breeze | ลมบก หรือลมเฉลี่ยบก (พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน) [อุตุนิยมวิทยา] |
amplitude modulation (AM) | ระบบเอเอ็ม, ในที่นี้ให้แปลว่า ระบบเอเอ็ม ตามคำศัพท์ในหนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ มัธยมศึกษาตอนปลาย คำศัพท์นี้ในหนังสือเรียนเล่มอื่นบางทีแปลว่า การผสมคลื่นทางแอมพลิจูด ในพจนานุกรมวิทยาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน คำว่า modulation แปลว่า การกล้ำ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
อักษรศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต | [aksønsāt dutsadibandit] (n, exp) EN: Doctor of Arts; D.A |
อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต | [aksønsāt mahābandit] (n, exp) EN: Master of Arts ; M.A. |
บัณฑิต | [bandit] (n) EN: graduate FR: licencié [ m ] ; diplômé [ m ] |
บัณฑิต | [bandit] (n) EN: scholar ; pundit ; learned man ; sage FR: lettré [ m ] ; érudit [ m ] ; expert [ m ] ; ponte [ m ] ; savant [ m ] ; pandit [ m ] ; sage [ m ] ; académiste [ m ] (vx) |
บัณฑิตสถาน | [banditsathān] (n) FR: académie [ f ] |
บริหารธุรกิจบัณฑิต | [børihān thurakit bandit] (n, exp) EN: Bachelor of Business Administration |
บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต | [børihān thurakit dutsadībandit] (n, exp) EN: Doctor of Business Administration |
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | [børihān thurakit mahābandit] (n, exp) EN: Master of Business Administration |
ดุษฎีบัณฑิต | [dutsadībandit] (n) EN: doctor ; doctor's degree |
มหาบัณฑิต | [mahābandit] (n) EN: holder of a master's degree ; Master (of science, engineering, medicine) |
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต | [Mahāwitthayālai Kasēm Bandit] (org) EN: Kasem bundit University (KBU) FR: université Kasem Bundit (KBU) [ f ] |
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ | [Mahāwitthayālai Thurakit Bandit] (org) EN: Dhurakij Pundit University (DPU) FR: université Dhurakij Pundit (DPU) [ f ] |
เนติบัณฑิต | [nētibandit] (n) EN: lawyer ; solicitor ; barrister ; barrister-at-law ; attorney FR: avocat [ m ] ; licencié en droit [ m ] |
เนติบัณฑิตสภา | [nētibanditsaphā] (n) EN: Bar Council ; Bar Association (Am.) FR: barreau [ m ] |
นิเทศศาสตรบัณฑิต | [nithētsāt bandit] (n, exp) EN: Bachelor of Arts (Communication Arts) ; B.A. (Communication Arts) |
นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | [nithētsāt mahābandit] (n, exp) EN: Master of Arts (Communication Arts) ; M.A. (Communication Arts) |
นิติศาสตร์บัณฑิต | [nitisātbandit] (n) EN: Bachelor of Law (B.L.) |
พาณิชยศาสตร์บัณฑิต | [phānitchayasātbandit] (n, exp) EN: Bachelor of Commerce |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน | [Photjanānukrom Chabap Rātchabandittayasathān] (n, prop) EN: Royal Institute Dictionary (RID) FR: Dictionnaire de l'Institut Royal [ m ] |
ราชบัณฑิต | [rātchabandit] (n) EN: member of the Royal Institute FR: académicien [ m ] ; membre de l'Institut Royal (de Thaïlande) [ m ] |
ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ | [rātchabandit kittimassak] (n, exp) EN: Honorary Member FR: membre honoraire de l'Institut Royal (de Thaïlande) [ m ] |
ราชบัณฑิตยสถาน | [Rātchabandittayasathān] (n, prop) EN: Royal Institute of Thailand (RIT) FR: Institut Royal de Thaïlande [ m ] ; Académie royale de Thaïlande [ f ] |
รัฐศาสตรบัณฑิต | [ratthasāttrabandit (?)] (n) EN: bachelor of public administration |
สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต | [sathāpattayakamsātbandit] (n, exp) EN: Bachelor of Architecture |
ศิลปบัณฑิต | [sinlapabandit] (n) EN: bachelor of Fine arts ; B. F. A. |
ศิลปศาสตร์บัณฑิต (ศศ.บ.) | [sinlapasāt bandit] (n, exp) EN: Bachelor of Arts ( B.A.) |
อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ.) | [utsāhakammasātbandit] (n, exp) EN: Bachelor of Industrial Technology |
วิศวกรรมบัณฑิต | [witsawakam bandit] (n, exp) EN: bachelor of engineering |
data science | (n) วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
data analytics | (n) วิทยาการวิเคราะห์ข้อมูล, ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น การจำแนกกลุ่ม การดำเนินการทางสถิติ การวิเคราะห์แนวโน้ม การค้นหาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะประจำของข้อมูล ซึ่งอาจจะไม่ปรากฏชัดเจนนัก [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
cryptocurrency | (n) เงินตราเข้ารหัสลับ, คริปโทเคอร์เรนซี, สินทรัพย์ดิจิทัลที่เป็นสื่อกลางในการทำธุรกรรม ซึ่งใช้วิทยาการเข้ารหัสลับสำหรับรับประกันความถูกต้องของธุรกรรมนั้น เพื่อควบคุมการสร้างหน่วยเงินดิจิทัลเพิ่ม และเพื่อยืนยันความถูกต้องของการโอนสินทรัพย์ เป็นเงินดิจิทัลรูปแบบหนึ่งที่ควบคุมโดยกระจายศูนย์กลางผ่านบล็อกเชน [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
blockchain | (n) บล็อกเชน, วิธีการเก็บข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงตามหลักการทางบัญชี โดยการเข้ารหัสและจัดเรียงข้อมูลเหล่านี้ต่อกันตามลำดับเวลาที่ข้อมูลเข้ามา กลุ่มข้อมูลดังกล่าวจะเผยแพร่ไปให้ผู้ใช้ในเครือข่ายที่กำหนดได้ทราบทั่วกัน ทั้งนี้ ผู้ใช้ทุกคนจะทราบการแก้ไขเพิ่มเติมรายการเปลี่ยนแปลงในบล็อกเชนทุกรายการตลอดเวลา [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
bitcoin | (n) บิตคอยน์, ชื่อสกุลเงินอิเล็กทรอนิกส์ประเภทหนึ่งซึ่งใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
big data | (n) ข้อมูลขนาดใหญ่, ข้อมูลหลากหลายปริมาณมหาศาลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลดัชนีการค้นคืนของเว็บ ข้อมูลการสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ ข้อมูลในเครือข่ายสังคม ข้อมูลการพยากรณ์อากาศ ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
avatar | (n) อวทาร์, รูปแทนตัวผู้ใช้ในโลกเสมือนหรือเกม ซึ่งอาจเป็นสองมิติหรือสามมิติก็ได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
augmented reality (AR) | (n) ความเป็นจริงเสริม (เออาร์), สภาวะจริงที่แต่งเติมขึ้นด้วยเทคโนโลยี เช่น ผู้ใช้กำลังดูรถยนต์อยู่และต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับรถยนต์ ก็อาจจะใช้แว่นตาชนิดพิเศษซึ่งสามารถแสดงข้อมูลรถยนต์ซ้อนลงบนภาพรถยนต์ที่กำลังมองอยู่ได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
artificial intelligence (AI) | (n) ปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ), สาขาหนึ่งของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งเน้นเรื่องที่จะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ใกล้เคียงมนุษย์มากขึ้น แบ่งย่อยออกเป็นสาขาต่าง ๆ เช่น การแปลภาษาด้วยเครื่อง ระบบผู้เชี่ยวชาญ วิทยาการหุ่นยนต์ การรู้จำแบบ การรับรู้เยี่ยงมนุษย์ (human perception) ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
cyber crime | (n) [ cybercrime; cyber-crime; computer crime ] อาชญากรรมไซเบอร์, อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ๑. การกระทำผิดกฎหมายโดยใช้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นเครื่องมือ เช่น ทำลาย เปลี่ยนแปลง หรือขโมยข้อมูล ๒. การทำให้การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หรือระบบเครือข่าย ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทํางานตามปรกติได้ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
cyber bully | (n) การระรานทางไซเบอร์, การกลั่นแกล้ง การให้ร้าย การด่าว่า การข่มเหง หรือการรังแกผู้อื่นทางสื่อสังคมต่าง ๆ เช่น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
A.B. | (abbr) อักษรศาสตรบัณฑิต (คำย่อของ Artium Baccfalaureus เท่ากับ Bachelor of Arts), See also: ศิลปศาสตรบัณฑิต |
B.A. | (abbr) ศิลปศาสตร์บัณฑิต (คำย่อของ Bachelor of Arts), See also: วุฒิปริญญาตรีด้านศิลปศาสตร์ |
baccalaureate | (n) ผู้สำเร็จปริญญาตรี (คำทางการ), See also: บัณฑิต, Syn. bachelor, graduate |
bachelor | (n) บัณฑิต, See also: ผู้ได้รับปริญญาตรี, Syn. graduate |
Bar Association | (n) เนติบัณฑิตยสภา |
doctor | (n) ดุษฎีบัณฑิต, See also: ผู้ได้รับปริญญาเอก |
graduate | (n) ผู้สำเร็จการศึกษา, See also: บัณฑิต, ผู้รับปริญญา, Syn. degree-holder, qualified person |
graduate school | (n) บัณฑิตวิทยาลัย |
higher education | (n) การศึกษาในระดับสูงกว่ามัธยมศึกษา โดยเฉพาะในวิทยาลัย มหาวิทยาลัย และบัณฑิตวิทยาลัย |
LL.B. | (abbr) นิติศาสตรบัณฑิต (คำย่อของ Bachelor of Laws), Syn. LLB |
LL.D. | (abbr) นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต (คำย่อของ Doctor of Laws), Syn. LLD |
LL.M. | (abbr) นิติศาสตรมหาบัณฑิต (คำย่อของ Master of Laws), Syn. LLM |
LLB | (abbr) นิติศาสตรบัณฑิต (คำย่อของ Bachelor of Laws), Syn. LL.B |
LLD | (abbr) นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต (คำย่อของ Doctor of Laws), Syn. LL.D |
LLM | (abbr) นิติศาสตรมหาบัณฑิต (คำย่อ Master of Laws), Syn. LL.M |
longhair | (n) ผู้มีความรู้, See also: บัณฑิต |
M.A. | (abbr) ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (Master of Arts), See also: ปริญญาโท |
M.B.A. | (abbr) บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (Master of Business Administration) |
M.C.S. | (abbr) วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์มหาบัณฑิต (Master of Computer Science) |
M.D. | (abbr) แพทย์ศาสตร์มหาบัณฑิต (Medicinae Doctor/Doctor of Medicine) |
M.Ed. | (abbr) ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (Master of Education) |
M.H.S. | (abbr) วิทยาศาสตร์สุขภาพมหาบัณฑิต (Master of Health Science) |
M.M.E. | (abbr) วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต (Master of Mechanical Engineering) |
M.S. | (abbr) วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (Master of Science) |
M.S.N. | (abbr) พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต (Master of Science in Nursing) |
Master of Arts | (n) อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต, See also: ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต, ปริญญาโททางสังคมศาสตร์ |
master's degree | (n) ปริญญาโท, See also: ปริญญามหาบัณฑิต, Syn. Master's degree, master's |
pandit | (n) บัณฑิต, See also: นักปราชญ์ |
Ph.D. | (abbr) ปริญญาดุษฎีบัณฑิต (คำย่อของ Doctor of Philosophy) |
sage | (n) คนฉลาด, See also: นักปราชญ์, บัณฑิต, Syn. philosopher, savant, wise man |
a.b. | abbr. Artium Baccalaureus (Bachelor of Arts, อักษรศาสตรบัณฑิต) able-bodied seaman (ทหารหรือชั้นสอง) |
a.m. | abbr. Master of Arts อักษรศาสตรมหาบัณฑิต. a. m. |
ansi | (แอนซี) ย่อมาจาก American National Standards Institute ซึ่งราชบัณฑิตสถานบัญญัติว่า "สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา" เป็นสถาบันเอกชน ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ทำหน้าที่กำหนดและควบคุมมาตรฐานของอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ รวมทั้งอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ โดยไม่หวังผลกำไรใด ๆ ทั้งสิ้นดู ANSI C, ANSI character set, ANSI graphics |
b.a. | abbr. Bachelor of Arts อักษรศาสตรบัณฑิต, British America |
b.m | abbr. Bachelor of Medicine แพทย์ศาสตรบัณฑิต |
b.s. | abbr. Bachelor of Science วิทยาศาสตรบัณฑิต |
b.sc | abbr. Bachelor of Science วิทยาศาสตรบัณฑิต |
b.sc. | abbr. Bachelor of Science วิทยาศาสตรบัณฑิต |
baccalaureate | (แบคคะลอ'รีเอท) n. บัณฑิตปริญญาตรี, พิธีศาสนาสำหรับบัณฑิตจบใหม่, คำสวดมนต์ในพิธีดังกล่าว |
con | (คอน) 1. { conned, conning, cons } v. ต่อต้าน, แย้ง, เรียนรู้, ศึกษา, ตรวจสอบอย่างระมัดระวัง, จำไว้, นำเรือ, ถือพวงมาลัยเรือ n. การต่อต้าน, การโต้เถียง, ผู้คัดค้าน, ผู้ลงบัตรคัดค้าน, นักโทษ, วัณโรค adj. ซึ่งหลอกให้เชื่อ 2. ย่อมาจากคำว่า CONsole ซึ่งศัพท์บัญญัติฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า ส่วนเฝ้าคุม ในวงการคอมพิวเตอร์ มักจะหมายถึง อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ส่วนที่เป็นแป้นพิมพ์และจอภาพ เป็นต้นว่า คำสั่ง COPY CON:autoexec.bat เป็น คำสั่งที่นำมาใช้เมื่อต้องการนำข้อความที่เราพิมพ์จากแป้นพิมพ์และมองเห็นบนจอภาพ (โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมประมวลผลคำ) คัดลอกเข้าไปเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลแฟ้มหนึ่ง ชื่อว่า autoexec.bat เมื่อพิมพ์ข้อความที่ต้องการเสร็จแล้ว ให้กด CTRL+Z หลังจากนั้น ในคอมพิวเตอร์ก็จะมีแฟ้มข้อมูลชื่อ autoexec.bat ซึ่งบรรจุข้อความที่พิมพ์ไว้นั้น |
doctorate | (ดอค'เทอะเรท) n. ปริญญาเอก, ดุษฎีบัณฑิต, ปริญญาแพทยศาสตร์ (ไม่จำเป็นต้องจบปริญญาเอก) |
gigo | (กิโก) ย่อมาจาก garbage in , garbage out พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานแปลว่า เข้าผิด ออกผิด แต่ถ้าแปลตามตัวจะได้ว่า ขยะเข้า ขยะออก เป็นคำกล่าวที่ใช้เตือนสติผู้ใช้คอมพิวเตอร์ว่า ถ้าใส่ข้อมูลที่ไร้คุณค่าลงไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องก็มิอาจจะทำให้ข้อมูลนั้นมีค่าขึ้นมาได้เลย อีกนัยหนึ่ง เป็นการบอกให้นักคอมพิวเตอร์มือใหม่รู้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์หาใช่สิ่งมหัศจรรย์ที่จะเนรมิตข้อมูลเลว ๆ ให้เป็นสารสนเทศ (information) ดี ๆ ได้ ถ้าใส่ขยะ (ข้อมูลเลว ๆ) เข้าไป ก็จะได้ขยะ (สารสนเทศเลว ๆ) ออกมา |
grad | (แกรด) n. บัณฑิต, Syn. graduate |
graduate | (แกรด'จุเอท) n., adj. บัณฑิต, ภาชนะตวงที่แบ่งออกเป็นขีด ๆ vi.สำเร็จการศึกษา, ค่อย ๆ เปลี่ยนแปลง vt. มอบปริญญาแก่, สำเร็จการศึกษาจาก, แบ่งออกเป็นขีด, See also: graduated adj., Syn. mark off, calibrate |
graduate college | บัณฑิตวิทยาลัย |
graduation | (แกรดจุเอ'เชิน) n. การสำเร็จเป็นบัณฑิต, การได้รับปริญญา, Syn. grading, gradation |
hakim | (ฮา'คิม) n. คนที่ฉลาด, นักปราชญ์, บัณฑิต, แพทย์, ผู้ปกครอง, ข้าหลวง, ผู้พิพากษา |
master | (มาส'เทอะ, แมส'เทอะ) n. นาย, เจ้านาย, นายจ้าง, กัปตันเรือสินค้า, กัปตันเรือ, ผู้บังคับการ, หัวหน้าครอบครัว, เจ้าบ้าน, ผู้เชี่ยวชาญ, ผู้มีชัย, ผู้มีอำนาจ, คนเก่ง, ผู้ช่วยผู้พิพากษา, มหาบัณฑิต, ผู้สำเร็จปริญญาโท adj. เป็นนาย, เป็นหัวหน้า, เป็นผู้นำ, เกี่ยวกับการควบคุม, เกี่ยวกับการนำ, วางอำนาจ, ใหญ่ยิ่ง, เชี่ยวชาญ |
master of arts | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, ปริญญาโททางศิลปศาสตร์ (M.A., A.M.) |
master of science | n. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (M.S., MSc., S.M., Sc.M.) |
master's degree | n. ปริญญามหาบัณฑิต |
micro | ไมโครหมายถึง คำที่ใช้นำหน้าคำอื่น มีค่าเท่ากับ 1 /ล้าน เช่น microsecond หรือ ไมโครวินาที ก็เท่ากับ 1 /ล้านวินาที (10 -6) คำ "micro" นั้นแปลแต่เพียงว่า ขนาดเล็กจิ๋ว เช่น microproces sor ราชบัณฑิตยสถานบัญญัติว่า ตัวประมวลแบบจุลภาค เมื่อนำมาใช้กับคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า microcomputer ก็หมายถึงคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก หรือที่บางทีเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) หรือพีซี |
midshipman | (มิด'ชิพเมิน) n. ว่าที่เรือตรี, นักเรียนทำการในกองทัพเรือ, บัณฑิตระดับนายทหารที่จบจากโรงเรียนทหารเรือ pl. midshipmen |
pandit | (พัน'ดิท) n.บัณฑิต |
ph d | abbr. Philosophiae Doctor ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, =Doctor of Philosophy (ดู) |
ph. d. | abbr. Philosophiae Doctor ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, =Doctor of Philosophy (ดู) |
postgraduate | (โพสทฺแกรจ'จุเอท) adj. หลังได้รับปริญญาแล้ว. n. นักศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย |
pundit | (พัน'ดิท) n. บัณฑิต, ผู้เชี่ยวชาญ, ผู้มีความรู้มาก., See also: punditic adj. punditically adv., Syn. expert, sage, prophet |
sage | (เซจฺ) n. คนที่ฉลาดมาก, นักปราชญ์, บัณฑิต, พืชจำพวก Salvia adj. ฉลาดมาก, ปราดเปรื่อง, สุขุม, รอบคอบ, See also: sagely adv. sageness n., Syn. intellectual, pundit |