ประการ | (clas) numerative noun for items, counts, points, kinds, sorts, ways, respects, Syn. ชนิด, อย่าง, Example: ผู้ต้องหายอมให้เจ้าหน้าที่สอบปากคำทุกประการ |
ประการ | (clas) numerative noun for items, counts, points, kinds, sorts, ways, respects, Syn. ชนิด, อย่าง, Example: ผู้ต้องหายอมให้เจ้าหน้าที่สอบปากคำทุกประการ |
ประการใด | (n) what, See also: whatever, whatsoever, how, however, Syn. ทำนอง, แบบ, อย่างไร, Example: ปัญหานี้จะแก้ไขประการใด |
บางประการ | (n) some aspects, See also: some measures, Ant. ทุกประการ, Example: องค์กรแรงงานได้รับสิทธิสามารถดำเนินมาตรการบางประการเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของกรรมกรได้ |
นานาประการ | (adj) various, See also: diversified, varied, different, numerous, many, Syn. นานัปการ, มากมาย, หลากหลาย, Ant. เล็กน้อย, นิดหน่อย, น้อย, Example: การเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็วย่อมก่อให้เกิดปัญหานานาประการตามมา, Thai Definition: ที่มีมากมายหลายอย่าง |
ประการหนึ่ง | (n) some, See also: a feature, Example: มีเทคนิคบางประการที่สามารถนำมาใช้ให้งานง่ายลงได้ เทคนิคประการหนึ่งก็คือการแบ่งงานเป็นหน่วย |
ประการหนึ่ง | (n) some, See also: a feature, Example: มีเทคนิคบางประการที่สามารถนำมาใช้ให้งานง่ายลงได้ เทคนิคประการหนึ่งก็คือการแบ่งงานเป็นหน่วย |
ประการหนึ่ง | (n) some, See also: a feature, Example: มีเทคนิคบางประการที่สามารถนำมาใช้ให้งานง่ายลงได้ เทคนิคประการหนึ่งก็คือการแบ่งงานเป็นหน่วย |
แต่ประการใด | (adv) at all, See also: in any way, whatsoever, Syn. แต่อย่างใด, Example: เธอไม่โต้ตอบแต่ประการใด |
ด้วยประการฉะนี้ | (conj) thus, See also: so, therefore, for this reason, Syn. ด้วยเหตุนี้, ด้วยเหตุฉะนี้, Example: ชีวิตของชายแก่ส่วนใหญ่ก็คือความฝังใจที่มีต่อทะเล ด้วยประการฉะนี้แกจึงมีความปรารถนาให้ลูกชายสืบทอดความเป็นชาวเลเช่นแก |
ด้วยประการทั้งปวง | (adv) entirely, See also: completely, fully, wholly, altogether, Example: เด็กคนนี้มีคุณสมบัติเหมาะสมด้วยประการทั้งปวง จึงสมควรได้รับรางวัลลูกดีเด่น |
จำห้าประการ | ว. มีเครื่องจองจำครบ ๕ อย่าง คือ ๑. ตรวนใส่เท้า ๒. เท้าติดขื่อไม้ ๓. โซ่ล่ามคอ ๔. คาไม้ใส่คอทับโซ่ ๕. มือ ๒ ข้างสอดเข้าไปในคาและไปติดกับขื่อทำด้วยไม้, เรียกสั้น ๆ ว่า จำครบ. |
นานาประการ | ว. มีหลายอย่าง, นานัปการ ก็ว่า. |
ประการ | น. อย่าง เช่น จะทำประการไร, ชนิด เช่น หลายประการ |
ประการ | ทำนอง, แบบ, เช่น ด้วยประการฉะนี้. |
วิปการ, วิประการ | (วิปะกาน, วิปฺระกาน) ก. ผิดฐานะ, ไม่เหมาะสม. |
กฎ | (กด) น. คำบังคับ เช่น จึ่งสมเด็จพระมหินทราธิราชเจ้าแผ่นดินก็ตรัสให้ทำตามกฎให้ลงมานั้นทุกประการ (พงศ. ๑๑๓๖) |
กฎอัยการศึก | น. กฎหมายที่ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารลิดรอนสิทธิเสรีภาพบางประการของประชาชนได้ตามความจำเป็น ทั้งให้มีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน การใช้กฎอัยการศึกจะกระทำได้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล โดยจะให้มีผลบังคับทุกท้องที่หรือบางท้องที่ก็ได้ตามความจำเป็น. |
กฐิน, กฐิน- | คำ กฐิน นี้ ใช้ประกอบกับคำอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้ เรียกว่า ผ้ากฐิน ในฤดูกาลเรียกว่า กฐินกาล [ กะถินนะกาน ] คือระยะเวลาตั้งแต่แรมคํ่าหนึ่ง เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ระยะเวลานี้เรียกเป็นสามัญว่าเทศกาลกฐิน [ เทดสะกานกะถิน ] ฤดูกฐิน หรือ หน้ากฐิน ก็มี ก่อนจะถึงกฐินกาลผู้ประสงค์จะถวายผ้ากฐินแก่ภิกษุสงฆ์วัดใดจะต้องไปแจ้งความจำนงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้นเป็นการล่วงหน้า การแสดงความจำนงล่วงหน้านี้ เรียกว่า จองกฐิน การทำพิธีถวายผ้ากฐิน เรียกว่า ทอดกฐิน พระภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินจากสงฆ์โดยวิธีที่กำหนดไว้ในพระวินัย เรียกว่า ผู้กรานกฐิน ผู้ครองกฐิน หรือ องค์ครองกฐิน เฉพาะผ้ากฐิน บางทีก็เรียกว่า องค์กฐิน ถ้าพร้อมกับของอื่นอันเป็นบริวารสำหรับถวายภิกษุสงฆ์ เรียกว่า เครื่องกฐิน หรือ บริวารกฐิน [ บอริวานกะถิน ] เมื่อนำผ้ากฐินไปทอดโดยมีขบวนแห่ เรียกว่า แห่กฐิน ถ้ามีพิธีฉลอง เรียกว่า ฉลองกฐิน การที่ภิกษุสงฆ์ผู้ร่วมอยู่ในพิธีอนุโมทนาต่อองค์ครองกฐินตามพระวินัย หรือการที่บุคคลแสดงความยินดีในการที่เขาทอดกฐิน เรียกว่า อนุโมทนากฐิน [ อะนุโมทะนากะถิน ] ภิกษุสงฆ์ผู้ได้อนุโมทนากฐินแล้วนั้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็น ผู้กรานกฐิน ด้วย ผลของการทอดกฐิน เรียกว่า อานิสงส์กฐิน , ในทางวินัยสิทธิพิเศษ ๕ ประการซึ่งมีแก่ภิกษุผู้ได้กรานกฐินแล้ว ก็เรียกว่า อานิสงส์กฐิน เช่นกัน. (ดู กรานกฐิน และ จุลกฐิน). |
กรรมฐาน | (กำมะถาน) น. ที่ตั้งแห่งการงาน หมายเอาอุบายทางใจ มี ๒ ประการ คือ สมถกรรมฐาน เป็นอุบายสงบใจ และวิปัสสนากรรมฐาน เป็นอุบายเรืองปัญญา. |
กระทู้ ๑ | หลัก เช่น ช้างพังพลายเป็นสัตว์มีคุณแล้วก็เป็นกระทู้ราชการสำหรับแผ่นดินสืบมา (ท้องตราโบราณ วชิรญาณรายเดือน เล่ม ๗), ประการหนึ่งปืนเป็นกระทู้การสงคราม (เรื่องตั้งเจ้าพระยานครศรีธรรมราชครั้งกรุงธนบุรี ประชุมพงศ. ๒). |
กษัยน้ำ | น. กษัยเนื่องจากเลือด นํ้าเหลือง หรือเสมหะเป็นพิษ ถ้ารวมทั้ง ๓ ประการ เรียกว่า กษัยเลือด. |
กามคุณ | น. สิ่งที่น่าปรารถนา มี ๕ ประการ คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส |
ข้อสังเกต | น. สิ่งที่กำหนดไว้ให้สนใจเป็นพิเศษ เช่น บทความนี้มีข้อสังเกตอยู่หลายประการ เขาตั้งข้อสังเกตว่า ๒-๓ วันนี้มีชายแปลกหน้ามาเยี่ยม ๆ มอง ๆ ที่ประตูบ้านบ่อย. |
ของเก่า | ทรัพย์ที่เสนอขาย แลกเปลี่ยน หรือจำหน่ายโดยประการอื่นอย่างทรัพย์ที่ใช้แล้ว ทั้งนี้ รวมถึงของโบราณด้วย. |
ขานยาม | ขานรับเมื่อผู้ตรวจเรียกชื่อนักโทษทุกยาม เช่น ถ้าลักพระปล้นสดมลักช้างม้าเปนสัจให้จำ ๕ ประการไว้ในคุกให้ขานยาม (สามดวง). |
ครบเครื่อง | ว. สมบูรณ์ทุกประการ เช่น เขาต่อยมวยครบเครื่อง ใช้อวัยวะทุกส่วนเป็นอาวุธได้. |
โคบอลต์ | น. ธาตุลำดับที่ ๒๗ สัญลักษณ์ Co เป็นโลหะแข็งสีเงิน หลอมละลายที่ ๑๔๙๕ °ซ. ใช้ประโยชน์นำไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือเพื่อให้มีสมบัติพิเศษบางประการ เช่น ผสมกับเหล็กทำให้มีความแข็งแกร่งยิ่งขึ้น และเมื่อนำไปทำเป็นแม่เหล็กก็จะได้แม่เหล็กที่มีกำลังมากเป็นพิเศษ ในอุตสาหกรรมเครื่องแก้วและเครื่องดินเผาใช้สารประกอบของโคบอลต์เป็นตัวให้สีนํ้าเงิน. |
จตุปาริสุทธิศีล | (-ปาริสุดทิสีน) น. ศีลคือความบริสุทธิ์ หรือ ศีลคือเครื่องให้บริสุทธิ์ ๔ ประการ คือ ๑. สำรวมในพระปาติโมกข์ (ปาติโมกฺขสํวร) ๒. สำรวมตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (อินฺทฺริยสํวร) ๓. เลี้ยงชีพโดยทางชอบ (อาชีวปาริสุทฺธิ) ๔. บริโภคปัจจัยด้วยการพิจารณา (ปจฺจยสนฺนิสฺสิต). |
จตุรพิธพร | (-พิดทะพอน) น. พร ๔ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ, ใช้ในการให้พร ขอให้มีอายุยืน มีผิวพรรณผ่องใส มีความสุขกายสุขใจ และมีกำลังแข็งแรง. |
จตุราริยสัจ | (จะตุราริยะสัด) น. อริยสัจ ๔ ประการ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค. |
จาตุรงคสันนิบาต | น. การประชุมพร้อมด้วยองค์ ๔ ประการ คือ ๑. วันนั้นดวงจันทร์เสวยมาฆฤกษ์ (ดวงจันทร์เดินมาถึงดาวฤกษ์ชื่อมฆา) ๒. พระสงฆ์ ๑, ๒๕๐ รูป ประชุมกันโดยมิได้นัดหมาย ๓. พระสงฆ์ที่มาประชุมวันนั้นล้วนได้รับเอหิภิกขุอุปสัมปทา ๔. พระสงฆ์เหล่านั้นเป็นพระอรหันต์ทั้งสิ้น, นับเป็นวันสำคัญวันหนึ่งในพระพุทธศาสนา, คำสามัญว่า มาฆบูชา. |
จำครบ | ว. จำห้าประการ. |
เจโตวิมุติ | (-วิมุด) น. ความหลุดพ้นด้วยอำนาจแห่งจิต เป็นโลกุตรธรรมประการหนึ่ง, คู่กับ ปัญญาวิมุติ. |
ฉันทศาสตร์ | (ฉันทะสาด) น. ตำราว่าด้วยการแต่งฉันท์ทั้งที่เป็นมาตราพฤติและวรรณพฤติ เป็นศิลปศาสตร์อย่างหนึ่งในศิลปศาสตร์ ๑๘ ประการ. |
ฉัพพรรณรังสี | (ฉับพันนะ-) น. รัศมี ๖ ประการ คือ ๑. นีล เขียวเหมือนดอกอัญชัน ๒. ปีต เหลืองเหมือนหรดาลทอง ๓. โลหิต แดงเหมือนตะวันอ่อน ๔. โอทาต ขาวเหมือนแผ่นเงิน ๕. มัญเชฐ สีหงสบาทเหมือนดอกเซ่งหรือหงอนไก่ ๖. ประภัสสร เลื่อมพรายเหมือนแก้วผลึก. (ปฐมสมโพธิ). |
ชมรม ๒ | น. ที่ประชุมของกลุ่มบุคคลที่มีจุดประสงค์เพื่อประโยชน์บางประการร่วมกัน เช่น ชมรมวรรณศิลป์ ชมรมพระเครื่อง. |
ช้างเนียม | น. ช้างที่มีลักษณะ ๓ ประการ คือ พื้นหนังดำ งามีลักษณะดังรูปปลีกล้วย และเล็บดำ. |
ช้างเผือก ๑ | น. ช้างในตระกูลชาติพรหมพงศ์ อิศวรพงศ์ พิษณุพงศ์หรืออัคนิพงศ์ ที่มีลักษณะ ๗ สี คือ ขาว เหลือง เขียว แดง ดำ ม่วง เมฆ และมีตา เล็บ ขน เป็นต้น ประกอบด้วยคชลักษณ์ด้วย, (กฎ) ช้างที่มีมงคลลักษณะ ๗ ประการ คือ ตาขาว เพดานปากขาว เล็บขาว ขนขาว พื้นหนังขาวหรือสีคล้ายหม้อใหม่ ขนหางขาว และอัณฑโกศขาวหรือสีคล้ายหม้อใหม่ ในทางกฎหมายและที่กรมช้างใช้เรียกว่า ช้างสำคัญ |
ช้างสำคัญ | น. ช้างที่มีมงคลลักษณะ ๗ ประการ คือ ตาขาว เพดานปากขาว เล็บขาว ขนขาว พื้นหนังขาวหรือสีคล้ายหม้อใหม่ ขนหางขาว และอัณฑโกศขาวหรือสีคล้ายหม้อใหม่. |
ชุมนุม | ที่ประชุมของกลุ่มบุคคลที่มีจุดประสงค์เพื่อประโยชน์บางประการร่วมกัน เช่น ชุมนุมวรรณศิลป์ ชุมนุมภาษาไทย. |
โดยสิ้นเชิง | ว. ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, ทุกประการ, เช่น เขาพ้นข้อหาโดยสิ้นเชิง, อย่างสิ้นเชิง ก็ว่า. |
ตรีพิธพรรณ | ชื่อโคลง ๔ ประเภทหนึ่งที่เลื่อนคำรับสัมผัสในบาทที่ ๒ จากคำที่ ๕ มาเป็นคำที่ ๓ ส่วนข้อบังคับอื่น ๆ เหมือนโคลงสี่สุภาพทุกประการ เช่น ข้าขอประณตน้อม กายวจี จิตนา ต่อพระตรีไตรรัตน์ โรจน์เรื้อง เป็นประทีปส่องศรี โลกชัชวาลนา กำจัดมืดมนธ์เปลื้อง สัตว์พ้นสงสาร (หลักภาษาไทยของพระยาอุปกิตศิลปสาร, ในจินดามณีเรียกตรีเพชรทัณฑี). |
ตรีเพชรทัณฑี | (ตฺรีเพ็ดทันที) น. ชื่อโคลงชนิดหนึ่งที่เลื่อนคำรับสัมผัสในบาทที่ ๒ จากคำที่ ๕ มาเป็นคำที่ ๓ ส่วนข้อบังคับอื่น ๆ เหมือนโคลงสี่สุภาพทุกประการ เช่น ปางนั้นสองราชไท้ ดาบศ สาพิมตไปมา กล่าวแก้ว ประทานราชเอารส สองราช เวนแต่ชูชกแล้ว จึ่งไท้ชมทาน (จินดามณี). |
ตอนสัตว์ | น. กระทำด้วยประการใด ๆ เพื่อมิให้สัตว์สืบพันธุ์. |
ไตรรัตน์ | น. แก้ว ๓ ประการอันประเสริฐสุดของพุทธศาสนิกชน หมายถึง พระพุทธเจ้า เรียกว่า พุทธรัตนะ พระธรรม เรียกว่า ธรรมรัตนะ พระสงฆ์ เรียกว่า สังฆรัตนะ, รัตนตรัย ก็เรียก. |
ไตรลักษณ์ | (-ลัก) น. ลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไป ๓ ประการ คือ ความไม่เที่ยง ความเป็นทุกข์ ความมิใช่ตัวตนที่แท้จริง. |
ทศพร | น. พร ๑๐ ประการ, ชื่อกัณฑ์ที่ ๑ ของมหาชาติ ว่าด้วยพร ๑๐ ประการ. |
ทศพิธราชธรรม | น. จริยาวัตรที่พระเจ้าแผ่นดินทรงประพฤติเป็นหลักธรรมประจำพระองค์ หรือคุณธรรมของผู้ปกครองบ้านเมือง มี ๑๐ ประการ ได้แก่ ๑. ทาน–การให้ ๒. ศีล–การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย ๓. บริจาค–ความเสียสละ ๔. อาชชวะ–ความซื่อตรง ๕. มัททวะ–ความอ่อนโยน ๖. ตบะ–การข่มกิเลส ๗. อักโกธะ–ความไม่โกรธ ๘. อวิหิงสา–ความไม่เบียดเบียน ๙. ขันติ–ความอดทน ๑๐. อวิโรธนะ–ความไม่คลาดจากธรรม. |
ท่าเดียว | ว. อย่างเดียว, ประการเดียว, ถ่ายเดียว, เช่น วัน ๆ จะเอาแต่กินท่าเดียว. |
ทำไม้ | ก. ตัด ฟัน กาน โค่น ลิด เลื่อย ผ่า ถาก ทอน ขุด ชักลากไม้ในป่า หรือนำไม้ออกจากป่าด้วยประการใด ๆ และหมายความรวมถึงการกระทำดังกล่าวกับไม้สักหรือไม้ยางที่ขึ้นอยู่ในที่ดินที่มิใช่ป่า หรือการนำไม้สักหรือไม้ยางออกจากที่ดินที่ไม้นั้น ๆ ขึ้นอยู่ด้วย. |
นววิธ | (-วิด) ว. ๙ ประการ, ๙ อย่าง. |
นวอรหาทิคุณ, นวารหาทิคุณ | (นะวะอะระหาทิคุน, นะวาระหาทิคุน) น. คุณพระพุทธเจ้า ๙ ประการ ได้แก่ ๑. อรหํ ๒. สมฺมาสมฺพุทฺโธ ๓. วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน ๔. สุคโต ๕. โลกวิทู ๖. อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ ๗. สตฺถา เทวมนุสฺสานํ ๘. พุทฺโธ ๙. ภควา. |
นานัปการ | (นานับปะกาน) ว. มีหลายอย่าง, นานาประการ ก็ว่า. |
นิวรณ์ | น. สิ่งที่ขัดขวางจิตไม่ให้ก้าวหน้าในคุณธรรม มี ๕ ประการ คือ ความพอใจในกามคุณ ๑ ความพยาบาท ๑ ความหดหู่ซึมเซา ๑ ความฟุ้งซ่านรำคาญ ๑ ความลังเลใจ ๑. |
บงสุกูลิก | น. ผู้ใช้ผ้าบังสุกุลเป็นวัตร, เป็นชื่อธุดงค์ประการหนึ่งของภิกษุผู้ใช้ผ้าเฉพาะที่เก็บได้จากกองฝุ่นกองหยากเยื่อมาทำเป็นเครื่องนุ่งห่ม คือ ไม่ใช้ผ้าที่ชาวบ้านถวาย. |
บทบูรณ์ | (บดทะ-) น. พยางค์ที่ทำให้บทประพันธ์ครบคำตามฉันทลักษณ์ ไม่สู้มีความหมาย เช่น แต่งอเนกนุประการ คำ “นุ” เป็นบทบูรณ์, บาทบูรณ์ ก็เรียก. |
บริณายกรัตน์ | (บอรินายะกะ-) น. ขุนพลแก้ว, เป็นสมบัติประการ ๑ ในสมบัติ ๗ ประการของพระเจ้าจักรพรรดิ. |
บัญญัติ | (บันหฺยัด) น. ข้อความที่ตราหรือกำหนดขึ้นไว้เป็นข้อบังคับ เป็นหลักเกณฑ์ หรือเป็นกฎหมาย เช่น พระราชบัญญัติ พุทธบัญญัติ บัญญัติ ๑๐ ประการ. |
บุคคลล้มละลายทุจริต | น. บุคคลล้มละลายที่ถูกศาลพิพากษาว่ามีความผิดบางประการเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายล้มละลายกำหนด หรือไม่สุจริตเกี่ยวกับทรัพย์สินหรือหนี้สินตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายล้มละลาย หรือเป็นบุคคลล้มละลายอันเนื่องมาจากหรือเกี่ยวเนื่องกับการกระทำความผิดฐานยักยอกหรือฉ้อโกง หรือการกระทำความผิดอันมีลักษณะเป็นการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน. |
เบญจกัลยาณี | ว. ที่มีลักษณะงาม ๕ ประการ คือ ๑. ผมงาม ๒. เนื้องาม (คือ เหงือกและริมฝีปากแดงงาม) ๓. ฟันงาม ๔. ผิวงาม ๕. วัยงาม (คือ งามสมวัย), เรียกหญิงที่มีลักษณะเช่นนั้น ว่า หญิงเบญจกัลยาณี. |
Innovation | นวัตกรรม, นวัตกรรม หรือนวกรรม หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่และเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลองพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดย มีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการ ที่จัดเป็นหลักพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาหรือไม่ คือ <ul><li>สิ่งนั้นควรเป็นสิ่งที่ค้นพบ หรือประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือการปรับปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัยมาใช้ในวงการศึกษา เพื่อให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ</li><li>ได้ผ่านการทดลอง การปรับปรุงพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับกับอย่างแพร่หลาย</li><li>ได้มีการนำมาปฏิบัติจริงในวงการนั้น</li></ul> [เทคโนโลยีการศึกษา] |
พระสัปตปฎลเศวตฉัตร | ฉัตร ๗ ชั้น คือฉัตรขาวมีลักษณะเหมือนพระนพปฎลมหาเศวตฉัตรทุกประการเพียงแต่ลดจำนวนชั้นลงเหลือ ๗ ชั้น พระสัปตปฎลเศวตฉัตรเป็นฉัตรประกอบพระอิสริยยศสำหรับพระมหากษัตริย์ที่ยังไม่ผ่านการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/re-IM-2009-02.JPG" alt="พระสัปตปฎลเศวตฉัตร์"> <p>ฉัตร ๗ ชั้น คือฉัตรขาวมีลักษณะเหมือนพระนพปฎลมหาเศวตฉัตรทุกประการเพียงแต่ลดจำนวนชั้นลงเหลือ ๗ ชั้น [ศัพท์พระราชพิธี] |
ถวายพระพรลา | กระทำภายหลังจากที่พระสงฆ์สวดบท ภวตุ สพฺพมงฺคลํ เสร็จเรียบร้อยแล้ว พระสงฆ์รูปที่ ๒ จะต้องเป็นผู้กล่าวถวายพระพรลา ซึ่งมีข้อความดังต่อไปนี้ คือ "ขอถวายพระพร เจริญพระราชสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล พระชนมสุขทุกประการ จงมีแด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ เวลานี้สมควรแล้ว อาตมภาพทั้งปวง ขอถวายพระพรลา แด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ขอถวายพระพร" [ศัพท์พระราชพิธี] |
Treatment, waste | การบำบัดกากกัมมันตรังสี, การดำเนินการเปลี่ยนแปลงลักษณะของกากกัมมันตรังสีให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมต่อการเก็บรักษาและการขจัด โดยมีหลักพื้นฐาน 3 ประการ คือ 1. ลดปริมาตร เช่น การกดอัด 2. แยกสารกัมมันตรังสีออกจากกาก เช่น การตกตะกอน การแลกเปลี่ยนไอออน 3. เปลี่ยนองค์ประกอบ เช่น การเผา การระเหย [นิวเคลียร์] |
Irradiated food | อาหารฉายรังสี, อาหารที่ผ่านการฉายรังสีด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสม ซึ่งไม่ก่อให้เกิดสารกัมมันตรังสี หรือมีรังสีตกค้างแต่ประการใด จึงไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อการพาณิชย์ภายในประเทศจะต้องมีฉลากแสดงข้อความ และเครื่องหมายว่าผ่านการฉายรังสีแล้ว พร้อมทั้งระบุวัตถุประสงค์ของการฉายรังสี ชื่อ ที่ตั้ง ของผู้ผลิต และผู้ฉายรังสี วัน เดือน ปี ที่ฉายรังสี, Example: [นิวเคลียร์] |
Convention Relation to Registration of Rights in Respect of Vessels under Construction, 1967 | อนุสัญญาว่าด้วยการจดทะเบียนซึ่งสิทธิบางประการของเรือที่อยู่ระหว่างการต่อ (ค.ศ. 1967) [TU Subject Heading] |
International Convention for the Unification of Certain Rules of Law Relating to Bills of Lading (1924) | อนุสัญญาว่าด้วยการทำให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันซึ่งกฎเกณฑ์บางประการที่เกี่ยวกับใบตราส่ง (ค.ศ. 1924) [TU Subject Heading] |
Clone (โคลน) | การสร้างสำเนาที่มีลักษณะเหมือนกันทุกประการของโมเลกุล เซลล์ หรือสิ่งมีชีวิต [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Shore Reef | แนวประการังแบบหย่อม, Example: ดู Fringing Reef (Fringing Reef or Shore Reef หมายถึง แนวปะการังเล็กๆ พบแพร่กระจายอยู่ตามบริเวณชายฝั่งทะเล) [สิ่งแวดล้อม] |
African Union | สหภาพแอฟริกา สหภาพแอฟริกาซึ่งเป็นความร่วมมือระดับภูมิภาคที่สำคัญ ของทวีป แอฟริกา ได้ก่อกำเนิดมาจากองค์การเอกภาพแอฟริกา (Organization of African Unity ? OAU) เมื่อปี พ.ศ. 2545 โดยได้ปรับปรุงกฎบัตรเดิมขององค์การเอกภาพแอฟริกา ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในการจัดตั้งกองกำลังรักษาสันติภาพและสามารถแทรกแซงกิจการของประเทศ สมาชิกโดยผ่านกองกำลังรักษาสันติภาพ กลไกที่สำคัญของสหภาพ แอฟริกาที่เพิ่มขึ้นอีกประการหนึ่งคือ ธนาคารกลาง นอกจากนี้ นโยบายสำคัญที่สหภาพแอฟริกาเน้น คือ การพัฒนาเศรษฐกิจและความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกัน และได้ใช้โครงการ The New Partnership for Africa?s Development หรือ NEPAD เป็นหลักในการดำเนินการเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาคแอฟริกา ซึ่งมุ่งเน้นการขจัดความยากจน [การทูต] |
APSC | แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอา เซียน เป็นเอกสารที่รวบรวมรายการกิจกรรมต่างๆ ที่รัฐสมาชิกอาเซียนจะทำร่วมกันเพื่อสร้างประชาคมการเมืองและความมั่นคงอา เซียนภายในปี 2558 แผนงานฯ ได้รับการรับรองโดยผู้นำในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่ชะอำ หัวหิน เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2552 โดยแผนงาน มีวิสัยทัศน์ 3 ประการ ให้อาเซียนเป็น(1) ประชาคมที่มีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน (2)เป็นประชาคมที่สงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคงสำหรับ ประชาชนที่ครอบคลุมในทุกด้าน และ (3)เป็นประชาคมที่มีพลวัตรและร่วมมือปฎิสัมพันธ์กับโลกภายนอก [การทูต] |
Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] |
Declaration | คำประกาศ หรือ ปฏิญญา ตามความเห็นของผู้ทรงคุณความรู้ทางกฎหมายระหว่างประเทศ ส่วนมากได้ให้ความเห็นว่า คำนี้มีความหมายต่างกันอยู่สามประการ คือประการแรก ใช้เป็นชื่อเรียกข้อกำหนดต่าง ๆ ของสนธิสัญญา กล่าวคือ ตามสนธิสัญญานี้ ภาคีคู่สัญญารับที่จะปฏิบัติตามแนวทางบางประการในอนาคตประการที่สอง เป็นคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่แก่รัฐอื่นๆ เช่น คำประกาศสงครามประการสุดท้าย หมายถึง การกระทำซึ่งรัฐหนึ่งหรือหลายรัฐได้ติดต่อแจ้งไปยังรัฐอื่น ๆ ซึ่งเป็นการอธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุนพฤติกรรมของฝ่ายตนในอดีต หรืออธิบายทรรศนะและเจตจำนงเกี่ยวกับเรื่องบางเรื่อง คำประกาศสำหรับความหมายสองประการหลังไม่ถือว่ามีลักษณะเป็นสนธิสัญญาอนึ่ง ในกรณีคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) นั้น บางทีรัฐหนึ่งต้องการเสนอนโยบายหรือหนทางปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งของตน โดยประกาศนโยบายหรือหนทางปฏิบัตินั้นไปให้รัฐอื่นๆ ทราบกันไว้ อาทิเช่น ลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศออกไปในรูปคำประกาศถ่ายเดียว เป็นต้น [การทูต] |
Functions of Diplomatic Mission | ภาระหน้าที่ต่าง ๆ ของคณะผู้แทนทางการทูต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง หน้าที่ที่ปฏิบัติเป็นประจำของผู้แทนทางการทูตนั้น ได้แก่ หน้าที่การเจรจา การสังเกต และการคุ้มครอง อย่างไรก็ดี มีบางประเทศได้มอบอำนาจให้ผู้แทนทางการทูตของตนปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล และกิจกรรมเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ด้วย ซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสำคัญใด ๆ กับการทูตเลยเกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ในมาตรา 3 ว่า1. นอกจากประการอื่นแล้ว การหน้าที่ของคณะผู้แทนทางการทูตประกอบด้วยก. ทำหน้าที่แทนรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับข. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่งและของคนชาติของรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดอันกฎหมายระหว่างประเทศได้อนุญาตให้ค. เจรจากับรัฐบาลของรัฐผู้รับง. สืบเสาะให้แน่ด้วยวิถีทางทั้งมวลอันชอบด้วยกฎหมายถึงสถาวะและพัฒนาการในรัฐ ผู้รับ แล้วรายงานไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่งจ. ส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ตลอดจนพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ2. ไม่มีข้อความในอนุสัญญานี้ ที่จะหมายความได้ว่าเป็นการห้ามไม่ให้คณะผู้แทนทางการทูตปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล [การทูต] |
Geneva Conference on the Problem of Restoring Peace in Indo-China | การประชุม ณ นครเจนีวา ว่าด้วยปัญหาการนำสันติภาพกลับคืนสู่อินโดจีน ในการประชุมนี้ มีการทำความตกลงกันเกี่ยวกับการหยุดสู้รบระหว่างกำลังทหารในประเทศเวียดนาม กัมพูชา และลาว กับกำลังทหารฝรั่งเศส ความตกลงดังกล่าวได้กระทำกันในนครเจนีวา เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 มีผู้แทนจากประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ฝรั่งเศส ลาว สาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา เข้าร่วมการประชุมตามข้อตกลงนี้ให้มีการยุติการสู้รบในกัมพูชา ลาว และเวียดนาม และการปฏิบัติให้เป็นไปตามบทบัญญัติในความตกลงดังกล่าว ให้อยู่ใต้ความควบคุมและดูแลระหว่างประเทศ ที่ประชุมเจนีวาได้แสดงความมั่นใจว่า ในการปฏิบัติตามข้อตกลงจะปล่อยให้กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ได้แสดงบทบาทภายใต้ความเป็นเอกราชและอำนาจอธิปไตยของตนอย่างสมบูรณ์ภายใน ประชาคมนานาชาติ สำหรับความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามใด้ห้ามมิให้นำกองทหารและเจ้าหน้าที่ฝ่าย ทหารของต่างชาติ รวมทั้งอาวุธและอุปกรณ์ทางทหารทุกชนิดเข้าไปในประเทศนั้น ที่ประชุมยังได้รับรองว่า วัตถุประสงค์สำคัญยิ่งของความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามคือ ต้องการระงับปัญหาต่าง ๆ ทางทหาร เพื่อยุติการสู้รบ และการปักปันเส้นเขตแดนทางทหารนั้น ให้ถือเป็นการชั่วคราว มิได้หมายความว่าเป็นแนวแบ่งเขตทางการเมืองหรือทางดินแดนแต่ประการใดทั้งสิ้น [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Humanitarian Intervention | การแทรกแซงเพื่อมนุษยธรรม " เป็นแนวคิดที่นายโคฟี อันนาน เลขาธิการสหประชาชาติเสนออย่างเป็น ทางการครั้งแรกต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยที่ 54 เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยมุ่งจะให้สหประชาชาติสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนภาย ในประเทศต่าง ๆ ได้โดย คำนึงถึงประเด็นเรื่องมนุษยธรรมเป็นหลัก ขณะนี้ แนวคิดนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่ยุติ โดยบางประเทศเห็นว่า เป็นการดำเนินการที่ขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นการละเมิดอธิปไตยของรัฐ บางประเทศเห็นว่าเป็นมาตรการที่จำเป็นเพื่อแก้ปัญหาของมนุษยชาติ ส่วนบางประเทศเห็นว่าการแทรกแซงดังกล่าวจะต้องอยู่ใต้กรอบหลักเกณฑ์ หรือกรอบกฎหมายบางประการ เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ " [การทูต] |
International Force in East Timor | กองกำลังนานาชาติในติมอร์ตะวันออก จัดตั้งขึ้นตามข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1264 (1999) เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2542 มีภารกิจหลัก 3 ประการ คือ ฟื้นฟูสันติภาพและเสถียรภาพในติมอร์ตะวันออก ป้องกันและสนับสนุนงานของเจ้าหน้าที่ของสหประชาชาติ และอำนวยความสะดวกในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม กองกำลังนานาชาติปฏิบัติหน้าที่ในติมอร์ตะวันออกจนถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2543 [การทูต] |
New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] |
Pacific Settlement of International Disputes | หมายถึง การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี คงจะจำกันได้ว่า ในตอนเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศในโลกฝ่ายเสรีซึ่งเป็นผู้ชนะ ต่างมีเจตนาอันแน่วแน่ที่จะหาทางมิให้เกิดสงครามขึ้นอีกในโลก จึงตกลงร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)ดังนั้น ข้อ 2 ของกฎบัตรสหประชาชาติจึงได้กำหนดให้ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีที่จะต้องหาทางระ งังกรณีพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี และข้อ 33 ของกฎบัตรก็ได้บัญญัติไว้ว่า ?1. ผู้เป็นคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในกรณีพิพาทใด ๆ ซึ่งหากดำเนินอยู่ต่อไป น่าจะเป็นอันตรายแก่การธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ก่อนอื่นจักต้องแสวงหาการแก้ไขโดยการเจรจา ไต่สวน ไกล่เกลี่ย ประนีประนอม อนุญาโตตุลาการ การระงับโดยทางศาล การหันเข้าอาศัยทบวงการตัวแทน การตกลงส่วนภูมิภาค หรือสันติวิธีประการอื่นใดที่คู่กรณีจะพึงเลือก 2. เมื่อเห็นว่าจำเป็น คณะมนตรีความมั่นคงจักเรียกร้องให้คู่พิพาทระงับกรณีพิพาทของตนโดยวิธีเช่น ว่านั้น? [การทูต] |
Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] |
Southeast Asia Collective Defense Treaty (Mahila Pact) | สนธิสัญญาซีโต้ สนธิสัญญานี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ประเทศที่ลงนามในสนธิสัญญามีประเทศออสเตรเลีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ประเทศไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา สนธิสัญญาได้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1955ในภาคอารัมภบทของสัญญานี้ บรรดาประเทศสมาชิกต่างแสดงความปรารถนาที่จะประสานความพยายามของตนที่จะ ป้องกันร่วมกัน เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคง โดยเฉพาะข้อ 4 ของสนธิสัญญาเป็นข้อสำคัญที่สุด คือ แต่ละประเทศภาคีคู่สัญญาตกลงเห็นพ้องกันว่า หากดินแดนของประเทศใดถูกรุกรานจาการโจมตีด้วยกำลังอาวุธ ประเทศภาคีทั้งหมดที่เหลือจะถือว่าเป็นอันตรายร่วมกัน และจะปฏิบัติการเพื่อเผชิญหน้ากับอันตรายร่วมกัน หรือถ้าหากพื้นที่ภายในเขตครอบคลุมของสนธิสัญญาถูกคุกคามด้วยประการใด ๆ ประเทศภาคีทั้งหมดจะปรึกษากันในทันที เพื่อตกลงในมาตรการเพื่อการป้องกันร่วมกันสำนักงานใหญ่ขององค์การซีโต้ตั้ง อยู่ในกรุงเทพมหานคร โดยที่สถานการณ์ทางการเมืองของโลกได้เปลี่ยนไปมากทำให้องค์การซีโต้หมดความ จำเป็น และได้ยุบเลิกไปนานแล้ว [การทูต] |
The League of Nations | สันนิบาตชาติ เป็นองค์การที่ตั้งขึ้นตามสนธิสัญญาแวร์ซาย และสนธิสัญญาอื่น ๆ ที่ทำขึ้นตอนเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และสถาปนาเป็นองค์การระหว่างประเทศเมื่อวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1920 สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ นครเจนีวา สันนิบาตชาติมีหน้าที่สำคัญสองประการ คือ1. ดูแลให้มีการปฏิบัติเป็นไปตามสนธิสัญญา2. ให้โลกมีสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศแต่สันนิบาตชาติมีอายุอยู่ได้ ไม่นาน อุปสรรคสำคัญที่สุดอันหนึ่ง คือ ไม่มีสหรัฐอเมริการ่วมเป็นสมาชิกขององค์การด้วย สันนิบาตชาติประชุมกันเป็นสมัยประชุมครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1939 และหมดสภาพเป็นองค์การระหว่างประเทศลงเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1946 ทรัพย์สินที่มีอยู่ทั้งหมดได้โอนไปให้แก่องค์การสหประชาชาติ [การทูต] |
irradiated food | อาหารฉายรังสี, คือ อาหารที่ผ่านกระบวนการฉายรังสีด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสม ซึ่งไม่ก่อให้เกิดสารกัมมันตรังสี หรือมีรังสีตกค้างแต่ประการใดจึงไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค อาหารที่ผ่านการฉายรังสีเพื่อการพาณิชย์ภายในประเทศ จะต้องมีฉลากแสดงข้อความ และเครื่องหมายว่าผ่านการฉายรังสีแล้ว พร้อมทั้งระบุวัตถุประสงค์ของการฉายรังสี ชื่อ ที่ตั้งของผู้ผลิต ผู้ฉายรังสีและวันเดือนปีที่ฉายรังสี [พลังงาน] |
การมีน้ำมันเชื้อเพลิงไว้ในครอบครอง | การมีน้ำมันเชื้อเพลิงไว้ในครอบครอง, การมีไว้ในครอบครองไม่ว่าเพื่อตนเองหรือผู้อื่น และไม่ว่าจะเป็นกรณีมีไว้เพื่อจำหน่าย เพื่อขนส่ง เพื่อใช้หรือเพื่อประการอื่นใด และให้หมายความรวมถึงการทิ้งหรือปรากฏในบริเวณ ที่อยู่ในความครอบครองด้วย [พลังงาน] |
ผู้ค้าน้ำมัน | ผู้ค้าน้ำมัน, ผู้กระทำการค้าน้ำมันเชื้อเพลิง โดยซื้อนำเข้ามาในราชอาณาจักร หรือได้มาไม่ว่าด้วยประการใดเพื่อจำหน่าย และให้หมายความรวมถึงผู้กลั่นหรือผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงด้วย แต่ทั้งนี้ ไม่รวมถึงผู้ได้รับสัมปทานตามกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม [พลังงาน] |
Cell Line | เซลล์ไลน์, เซลล์ที่เลี้ยงให้เติบโตและเพิ่มจำนวนได้อย่างต่อเนื่องอย่างไม่จำกัดภายนอกร่างกายสิ่งมีชีวิต เซลล์ทุกเซลล์ในเซลล์ไลน์เดียวกันมีลักษณะเหมือนกันทุกประการ คือเป็นโคลน (Clone) ของกันและกัน เซลล์ไลน์ต่างชนิดกันจะมีลักษณะบางอย่างที่แตกต่างกัน ซึ่งมีประโยชน์สำหรับการประยุกต์ใช้ในการศึกษาทางอณูชีววิทยา (Molecular Biology) [เทคโนโลยีชีวภาพ] |
Cloning | โคลนนิ่ง, โคลนนิ่ง กระบวนการสร้างสิ่งที่เหมือนกันโดยสมบูรณ์กับสิ่งที่มีอยู่ก่อน ไม่ว่าจะเป็น ดีเอ็นเอ ยีน เซลล์ หรือสิ่งมีชีวิต การสร้างชุดของดีเอ็นเอที่เหมือนกันทุกประการเรียกว่า การโคลนนิ่งดีเอ็นเอ (DNA Cloning) หรือ การโคลนนิ่งโมเลกุล (Molecular Cloning) การสร้างเซลล์ที่เหมือนกันทุกประการเรียกว่า การโคลนนิ่งเซลล์ (Cell Cloning) เป็นต้น, Example: ปัจจุบันมีผู้จำแนกคำว่า โคลนนิ่ง ออกเป็นสองแบบ เพื่อให้เห็นความแตกต่างของเป้าหมายการทำโคลนนิ่งคือ การโคลนนิ่งเพื่อการรักษา (Therapeutic Cloning) และการโคลนนิ่งเพื่อการสืบพันธุ์ (Reproductive Cloning) โดยการโคลนนิ่งแบบแรกต่างจากการโคลนนิ่งในแบบหลังคือ จะไม่มีการพัฒนาของสิ่งที่ได้จากกระบวน จนเป็นตัวสัตว์ที่สมบูรณ์ แต่จะเป็นการโคลนเพื่อให้เกิดเซลล์หรือเนื้อเยื่อที่มีประโยชน์ใช้ในการรักษาโรคได้ [เทคโนโลยีชีวภาพ] |
Epichlorohydrin | ยางอิพิคลอโรไฮดรินเป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งที่มีสายโซ่หลักเป็นพอลิ อีเทอร์และมีหมู่คลอโรเมทิลเป็นกิ่งก้าน แบ่งได้เป็น 3 ชนิดหลัก คือ 1.โฮโมพอลิเมอร์ของอิพิคลอโรไฮดริน (CO) ได้จากการทำปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบเปิดวงแหวนของอิพิคลอโรไฮดริน 2.โคพอลิเมอร์ของอิพิคลอโรไฮดรินและเอทิลีนออกไซด์ (ECO) ได้จากการนำเอทิลีนออกไซด์ไปพอลิเมอไรเซชันร่วมกับอิพิคลอโรไฮดริน 3.เทอร์พอลิเมอร์ระหว่างอิพิคลอโรไฮดริน เอทิลีนออกไซด์ และมอนอเมอร์ชนิดที่ไม่อิ่มตัว (GECO/ETER) ได้จากการเติมมอนอเมอร์ชนิดที่สามลงไปเพื่อให้ยางชนิดนี้สามารถคงรูปได้โดย ใช้ระบบกำมะถันและเพอร์ออกไซด์ ยางอิพิคลอโรไฮดรินมีสมบัติเด่นหลายประการ คือ ทนต่อน้ำมันและน้ำมันเชื้อเพลิงได้ดี ทนต่อความร้อนและโอโซนได้ดีเยี่ยม มีอัตราการซึมผ่านของก๊าซและน้ำมันเชื้อเพลิงต่ำที่สุด ทนทานต่อการติดไฟได้ดี และมีสมบัติการหักงอที่อุณหภูมิต่ำดีมากอีกด้วย ยางชนิดนี้แม้ว่าจะมีสมบัติที่ดีหลายประการ แต่ไม่นิยมนำมาใช้มากนักเนื่องจากยางชนิดนี้มีฤทธิ์กัดกร่อนโลหะและยางจะ อ่อนตัว (reversion) เมื่อใช้งานที่อุณหภูมิสูงเป็นเวลานานและมีราคาแพงมาก ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ทำจากยางชนิดนี้ ได้แก่ ซีล ปะเก็น ท่อน้ำมัน ปลอกหุ้มสายเคเบิล ลูกกลิ้งในเครื่องพิมพ์ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Acyanotic Tof | ความพิการ 4 ประการของฟาโลท์ [การแพทย์] |
Distortion | การคดเคี้ยว, พูดเพี้ยนไปจนฟังไม่ออกว่าเป็นเสียงพยัญชนะหรือสระ, การผิดรูป, เบี้ยว, การบิดเบี้ยว, ผิดรูปร่างไป, การตัดรายละเอียดบางประการทิ้งไป [การแพทย์] |
liver | ตับ, อวัยวะภายในช่องท้องของสัตว์มีกระดูกสันหลัง มีหน้าที่สำคัญหลายประการ เช่น ผลิตน้ำดี สะสมอาหาร ขจัดสารที่เป็นพิษ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
pheromone | ฟีโรโมน, สารเคมีที่สัตว์บางพวกสร้างและปล่อยออกนอกร่างกาย เพื่อสื่อความหมายบางประการต่อสัตว์ชนิดเดียวกัน เช่น กลิ่นของชะมดที่ช่วยล่อเพศตรงข้ามให้มาหา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
cylinder | ทรงกระบอก, รูปทรงใด ๆ ซึ่งมีหน้าตัดตามขวางในระนาบที่ขนานกันเป็นรูปกลมหรือวงรีที่เท่ากันทุกประการ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
congruent angles | มุมเท่ากันทุกประการ, มุมที่มีขนาดเท่ากัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
congruent triangles | รูปสามเหลี่ยมเท่ากันทุกประการ (รูปสามเหลี่ยมสมภาค), รูปสามเหลี่ยมที่ทับกันสนิทพอดี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ideal gas | แก๊สอุดมคติ, แก๊สที่ถือว่ามีสมบัติเป็นไปตามกฎของแก๊สทุกประการ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
capacitor | ตัวเก็บประจุ, ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งมีสมบัติในการเก็บประจุไฟฟ้า ตัวเก็บประจุอย่างง่าย ๆ ประกอบด้วยแผ่น ตัวนำคู่เดียวหรือหลายคู่ซึ่งมีฉนวนคั่นระหว่าง แผ่นตัวนำ มีสมบัติสำคัญ อีกประการหนึ่ง คือให้ไฟฟ้ากระแสสลับผ่านได้แต่ไม่ยอมให้ไฟฟ้า กระแสตรงผ่าน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
hardness | ความแข็ง, สมบัติทางฟิสิกส์ประการหนึ่งของแร่ที่ต้านทานต่อการตัดและการขูดรีด วิธีหาความแข็งของแร่อย่างง่าย ๆ คือใช้สเกลความแข็งของโมส์ซึ่งมีอยู่ 10 อันดับ ตั้งแต่แร่ทัลก์ มีความแข็ง 1 ซึ่งอ่อนที่สุด จนถึงเพชรมีความแข็ง 10 ซึ่งแข็งที่สุดแร่ที่แข็งกว่าจะขูดแร่ที่อ่อน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
group | หมู่, กลุ่มธาตุต่าง ๆ ที่อยู่ในแนวดิ่งเดียวกันในตารางธาตุ ธาตุที่อยู่ในหมู่เดียวกันจะมีสมบัติบางประการคล้างคลึงกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
prism | ปริซึม, รูปทรงตันที่มีหน้าตัดเป็นระนาบที่ขนานกัน และเป็นรูปหลายเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ ส่วนหน้าอื่น ๆ เป็นรูปสี่เปลี่ยมด้านขนาน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
sub species | ซับสปีชีส์, กลุ่มย่อยของสปีชีส์สมาชิกของกลุ่มย่อยนี้มีลักษณะคล้ายคลึงกันและแตกต่างกันบางประการ แต่ความแตกต่างนั้นยังไม่มากจนถึงขั้นที่จะแบ่งออกเป็นสปีชีส์ใหม่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
congruence | ความเท่ากันทุกประการ, รูปเรขาคณิตสองรูปเท่ากันทุกประการ ก็ต่อเมื่อ เคลื่อนที่รูปหนึ่งไปทับอีกรูปหนึ่งได้สนิท [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
prototype | ต้นแบบ, ชิ้นงานที่สร้างขึ้นเป็นแบบฉบับเพื่อสร้างชิ้นงานอื่นให้มีลักษณะเดียวกัน มีรูปทรง ขนาดสัดส่วน โครงสร้างที่แสดงรายละเอียด สามารถใช้งานได้ตามที่ออกแบบไว้ทุกประการ วัสดุที่นำมาสร้างต้นแบบอาจเป็นวัสดุที่ใช้จริง หรือวัสดุทดแทนก็ได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
altogether | (adv) ด้วยประการทั้งปวง, See also: โดยสิ้นเชิง |
atoll | (n) เกาะรูปวงแหวนที่เกิดจากหินประการัง |
by no means | (adv) ไม่ด้วยประการใดเลย, See also: มิใช่ใดๆเลย, Syn. by no means, not by any means, not in any way, absolutely not, not at all |
cardinal sin | (n) หนึ่งในบาปที่ร้ายแรง 7 ประการในศาสนาคริสต์ (หยิ่งยโส, ราคะ, อิจฉา, โมหะ, โลภ, ตะกละ, เกียจคร้าน) |
first | (adv) อย่างแรก, See also: ในขั้นแรก, แรกสุด, ก่อนอื่น, อันดับแรก, ประการแรก, Syn. at the beginning, firstly, Ant. lastly |
firstly | (adv) เริ่มแรก, See also: ประการแรก, ในตอนแรก, ในตอนต้น, อันดับแรก, Syn. first, in the first place, Ant. lastly |
in the first instance | (idm) ประการแรก (คำทางการ), See also: อย่างแรก, เริ่มแรก |
in the first place | (idm) เริ่มแรก, See also: ประการแรก |
to the letter | (idm) ตรงตามที่เขียน, See also: ตรงตามที่บอกทุกประการ |
incidentally | (adv) อีกประการหนึ่ง, Syn. by the way |
instance | (n) กรณี, See also: ราย, ประการ, คราว, ตัวอย่าง |
kind | (n) ชนิด, See also: ประเภท, พวก, ประการ, แบบ, พรรณ, Syn. type, group |
manifold | (adj) หลากหลาย, See also: นานาประการ, นานาชนิด, หลายชนิด, มากมาย, หลายอย่าง, Syn. diverse, numerous, various |
multiple | (adj) หลายอย่าง, See also: มากมาย, หลายประการ, หลายเท่า, เป็นทวีคูณ, Syn. complicated, many, manifold, multiplex, Ant. simple, united |
to begin with | (phrv) อย่างแรก, See also: ประการแรก, Syn. start with |
alert box | ช่องข้อความเตือนหมายถึงช่องข้อความที่คอมพิวเตอร์จะแสดงให้เห็นบนจอภาพ มีข้อความเตือนในเรื่องการใช้คำสั่งบางประการที่อาจทำให้เกิดผลเสีย เช่น เครื่องพิมพ์ไม่มีกระดาษ ข้อความบางตอนอาจศูนย์หาย ฯ เป็นต้น |
altogether | (ออลทูเกธ' เธอะ) adv. ทั้งหมด, พร้อมกัน, ด้วยประการทั้งปวง, โดยสิ้นเชิง, ทั้งสิ้น, โดยสรุป, รวมทั้งสิ้นเป็น (entirely, completely) |
binary number system | ระบบเลขฐานสอง <คำแปล>ระบบเลขฐานสอง หมายถึง ตัวเลขบอกจำนวนที่มีฐานเป็น"สอง" (ไม่ใช่ "สิบ" อย่างที่นิยมใช้ในปัจจุบัน) คือมีเลขเพียงสองตัว คือ 0 และ 1 คอมพิวเตอร์ได้นำระบบเลขฐานสองนี้มาใช้เป็นรหัส เพื่อสะดวกในการแสดงสภาวะ 2 ประการคือ (สวิตซ์) เปิด และ ปิด |
c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม |
cd | abbr. ธาตุ cadmium, แผ่นซีดี ย่อมาจาก compact disk แปลตามตัวอักษรว่า จานบันทึกอัดแน่น มีลักษณะเป็นแผ่นจานกลม ๆ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 ซม. ใช้เป็นที่เก็บข้อมูล จานบันทึกนี้มีความจุสูงมาก (ประมาณ 600ล้านตัวอักษร) ปัจจุบันมีอุปกรณ์ใช้อ่านข้อมูลจากจานบันทึกนี้ได้ แต่การบันทึกข้อมูลลง ยังทำไม่ได้ง่าย ๆ ต้องมีเครื่องพิเศษเฉพาะ บันทึกได้ทั้งข้อมูลธรรมดา เพลง ภาพยนตร์ ปัจจุบันเป็นที่นิยมใช้มาก เพราะราคาถูก ความจุสูง แต่ยังติดขัดในปัญหาบางประการในเรื่องการบันทึกข้อมูลลง ดู CD ROM ประกอบ 2. ย่อมาจากคำ Change Directory เป็นคำสั่งในระบบดอสที่สั่งให้เข้าไปในสารบบ (directory) ใดสารบบหนึ่ง หรือออกจากสารบบใดสารบบหนึ่ง เช่น C:/>CD <ชื่อสารบบ> \ (หมายความว่าให้เข้าไปในสารบบชื่อนั้น) C:> CD\ (หมายความว่า ให้ออกจากสารบบที่อยู่) |
cold start | เปิดเครื่อง (คอมพิวเตอร์) การเริ่มต้นระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ทั้งหมด โดยเปิดสวิตซ์ที่ตัวเครื่อง การเริ่มต้นเช่นนี้เป็นการเริ่มต้นครั้งแรกหรือเริ่มต้นใหม่เนื่องจากบางครั้ง ขณะที่ใช้อยู่ เกิดข้อผิดพลาดบางประการเกี่ยวกับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ จนทำให้ไม่สามารถประมวลผลต่อไปได้ จึงต้องใช้วิธีปิดสวิตช์ แล้วเริ่มต้นใหม่ดู warm start เปรียบเทียบ |
commandment | (คะมาน'เมินทฺ) n. อำนาจ, คำสั่ง, การออกคำสั่ง, บัญญัติ, หนึ่งในบัญญัติ10ประการ (Ten Commandments) |
computer organization | ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ต้องมีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ1. ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึง ส่วนตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ 2. ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงโปรแกรมต่าง ๆ หรือชุดคำสั่งทั่เครื่องสั่งให้ทำงานตามความประสงค์3. บุคลากรคอมพิวเตอร์ (peopleware) หมายถึงแรงงานบุคคลที่ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานจนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ |
computer virus | ไวรัสคอมพิวเตอร์หมายถึง โปรแกรมที่คนบ้า ๆ เขียนซ่อนไว้เพื่อทำลายโปรแกรม แฟ้มข้อมูลหรือ อุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติประการหนึ่ง คือ เกาะติดตามไปกับโปรแกรม หรือแฟ้มข้อมูลได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แฟ้มข้อมูล command.com ทำให้มีการติดต่อระบาดไปในที่ต่างได้เหมือนเชื้อไวรัส สาเหตุของการติดไวรัส ก็คือมีการใช้จานบันทึกร่วมกัน ไวรัสเหล่านี้มักจะกำหนดมาให้เพิ่มความสามารถในการทำลายทุกครั้งที่เปิดเครื่อง หรือทุกครั้งที่ใช้โปรแกรมนั้น วิธีการป้องกันไวรัสในขั้นต้นก็คือ 1. อย่าใช้จานบันทึกของผู้อื่น หรือร่วมกับผู้อื่น2. ใช้โปรแกรมที่สามารถตรวจสอบและกำจัดไวรัสได้เป็นประจำ หรือทุกครั้งที่ใช้จานบันทึกในหน่วยบันทึก A: หรือ B: รวมทั้งจัดการใช้วัคซีนฉีดกันไว้ก่อน แม้ว่าในปัจจุบัน ไม่สู้จะได้ผลนัก เพราะมีไวรัสใหม่ ๆ เพิ่มมาทุกวัน (ดู vaccine) 3. จัดรูปแบบการบันทึกข้อมูล (format) ใหม่ วิธีนี้รับประกันได้ผลแน่นอน แต่ก็ต้องเข้าใจด้วยว่า ข้อมูลหรือโปรแกรมอื่นที่เก็บไว้แม้จะยังมิได้ติดไวรัสก็จะหายไปหมด พร้อมกับไวรัส |
copy disk | คัดลอกทั้งแผ่นเป็นคำสั่งในระบบวินโดว์ ที่สั่งให้คัดลอกแฟ้มข้อมูลทั้งหมดในแผ่นต้นแบบ ไปลงในอีกแผ่นหนึ่งซึ่งต้องมีขนาดเท่าแผ่นต้นแบบทุกประการ การคัดลอกด้วยคำสั่งนี้ จะเลือกเฉพาะบางแฟ้มข้อมูลไม่ได้ นอกจากนั้น เมื่อคัดลอกมาแล้ว จะลบแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่เดิมทิ้งไปให้ด้วย (เฉพาะแผ่นที่เก็บข้อมูลที่คัดลอกมาเท่านั้น) |
data processing | n. กระบวนการหรือเทคนิคการป้อนข้อมูล ใช้ตัวย่อว่า DP (อ่านว่า ดีพี) หมายถึง การนำข้อมูลดิบ (raw data) มาดำเนินการบางประการ เช่น จัดจำแนก คัดแยก คำนวณ บันทึก เปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดผลตามที่ต้องการ หรือ ผลที่จะนำไปใช้ต่อไป โดยปกติจะใช้คำเต็ม ๆ ว่า electronic data processing หรือ EDP ซึ่งหมายเฉพาะถึง การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เท่านั้น |
dp | (ดีพี) ย่อมาจาก data processing (แปลว่า การประมวลผลข้อมูล) หมายถึงการนำข้อมูลดิบ (raw data) มาดำเนินการบางประการ เช่นจัดจำแนก คัดแยก คำนวณ บันทึก เปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดผลตามต้องการหรือผลที่จะนำไปใช้ต่อไปได้ โดยปกติจะหมายถึงการประมวลผลโดยใช้คอมพิวเตอร์เท่านั้น |
file maintenance | การบำรุงรักษาแฟ้มข้อมูลหมายถึง การปรับปรุงแฟ้มข้อมูลให้ทันสมัยและถูกต้อง อยู่เสมอ เป็นต้นว่า เพิ่ม/ลด หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลบางประการ |
hard lock | (ฮาร์ดล็อค) หมายถึงการติดตั้งอุปกรณ์บางอย่างเข้ากับตัวเครื่อง เพื่อมิให้ใช้เครื่องได้ในกิจกรรมบางประการ เป็นต้นว่า การทำงานกับซอฟต์แวร์บางตัวเป็นต้น |
hereby | (เฮียร์'ไบ) adv. ด้วยประการฉะนี้, โดยวิธีนี้, โดยนัยนี้, Syn. by this |
indicator | (อิน' ดิเคเทอะ) n. ดรรชนี, เครื่องชี้นำ, สิ่งชี้นำ, Syn. pointer, guide, sign หมายถึง อุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นตัวชี้บอกสภาพบางประการของเครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้นว่า มีไฟแดงขึ้นที่หน่วยขับจานบันทึก disk drive เพื่อบอกว่าอุปกรณ์ส่วนนี้กำลังทำงาน หรืออาจเป็นสัญลักษณ์อย่างใดอย่างหนึ่งโผล่ขึ้นบนจอภาพในระหว่างการกระทำการ execution เช่น มีสัญลักษณ์แสดงว่า ข้อมูลล้นหน่วยความจำ overflow เป็นต้น |
law | (ลอ) { lawed, lawing, laws } n. กฎหมาย, กฎ, กฎข้อบังคับ, คำสั่ง, วิชากฎหมาย, ความรู้ทางกฎหมาย, อาชีพกฎหมาย, หลักความประพฤติ, กฎทางคณิตศาสตร์ -Phr (the Law บัญญัติสิบประการของโมเซส, คำสั่งสอนในพระคัมภีร์ไบเบิล) . vi., vt. ดำเนินคดี, ฟ้องร้อง |
mouse button | ปุ่มบนเมาส์หมายถึง ส่วนพื้นที่บนหลังเมาส์ที่ใช้สำหรับกดเพื่อทำให้เกิดการกระทำบางประการ เช่น การเริ่มต้นโปรแกรม การเลือกรายการ การย้ายข้อความหรือภาพ ฯ เมาส์ของเครื่องแมคอินทอชจะมีปุ่มเดียว ส่วนของพีซีจะมีถึงสามปุ่ม ดู mouse ประกอบ |
otherwise | (อัธ'เธอะไวซฺ) adv. อีกอย่างหนึ่ง, หาไม่แล้ว, ถ้าไม่เช่นนั้น, มิฉะนั้น, อีกอย่างหนึ่ง, ประการอื่น. adj. อื่น, เป็นอย่างอื่น, แตกต่าง, ตรงกันข้าม |
perfection | (เพอเฟค'เชิน) n. ความสมบูรณ์, ความดีพร้อม, ความดีเลิศทุกประการ, การบรรลุถึงความสำเร็จ, คุณสมบัติอันดีเลิศ, การทำให้ดีพร้อม, การทำให้สมบูรณ์, Syn. faultlessness, flawlessness, ideal, precision |
respect | (รีสเพคทฺ') n. ความนับถือ, ความเคารพ, ความยำเกรง, ความคารวะ, ความเอาใจใส่, ความสัมพันธ์, ความเกี่ยวข้อง, ประเด็น, ข้อ, ประการ vt. นับถือ, เคารพ, สัมพันธ์กับ, เกี่ยวกับ, คำนึง, พิจารณา, See also: respecter n., Syn. regard, esteem |
some way | (ซัม'เวย์) adv. บางวิธี, บางวิธีการ, บางประการ, Syn. somehow |
somehow | (ซัม'เฮา) adv. ด้วยเหตุใดเหตุหนึ่ง, ด้วยเหตุผลบางประการ |
someway | (ซัม'เวย์) adv. บางวิธี, บางวิธีการ, บางประการ, Syn. somehow |
someways | (ซัม'เวย์) adv. บางวิธี, บางวิธีการ, บางประการ, Syn. somehow |
testimony | (เทส'ทะโมนี) n. หลักฐาน, พยาน, การยืนยันโดยการสาบานตัว, การแถลงโดยเปิดเผย, บัญญัติ10ประการของโมเซส., Syn. evidence |
testosterone | เป็นฮอร์โมนเพศชายมีหน้าที่ 2 ประการสำคัญคือ 1. กระตุ้น secondary sex charactor ผลข้อนี้เรียกว่า androgenic-action 2. ควบคุม metabolism ของร่างกาย กระตุ้นให้มีการสังเคราะห์โปรตีนเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะเอนไซม์ซึ่งช่วยในการทำงานของเซลล์เพิ่มขึ้น ผลข้อนี้เรียกว่า anabolic hormone |
then | (เธน) adv. ดังนั้น, ในเวลานั้น, ถ้าเป็นเช่นนั้น, อีกประการหนึ่ง, โดยเฉพาะอย่างยิ่ง, นอกจากนั้น, ในกรณีนั้น, เพราะฉะนั้น, then and there ในขณะนั้นทันที. adj. เช่นนั้น, ดังนั้น. n. เวลานั้น |
thick | (ธิค) adj., adv., n. (ส่วนที่) หนา, หนาแน่น, ทึบ, หนาทึบ, มองไม่เห็น, มัว, ขุ่น, กำยำ, หยาบ, ทึ่ม, โง่, ขัน -Phr. (through thick and thin ผ่านอุปสรรคนานาประการ, เหนียวแน่น), See also: thickish adj. thickly adv. |
treble | (เทรบ'เบิล) adj., n., vt., vi. (เพิ่ม, กลายเป็น) สามเท่า, สามชั้น, สามหน, ตรีคูณ, สามอย่าง, สามประการ, ระดับเสียงที่สูงสุด, นักร้องเสียงสูง, เครื่องดนตรีเสียงสูง, See also: trebly adv. |
vessel | (เวส'เซิล) n. เรือ (โดยเฉพาะสำหรับใส่ของเหลว) ท่อ, หลอด, ท่อในxylemของพืช, บุคคล (ผู้มีลักษณะเฉพาะทางจิตหรือคุณสมบัติบางประการ), See also: vesseled adj. vesselled adj. |
warm boot | หมายถึง การสั่งให้เครื่องเริ่มปฏิบัติการใหม่โดยที่ไม่ปิดสวิตช์ดับไฟที่เครื่องก่อน ในระบบดอส มีวิธีทำ คือ กดแป้น CTRL+ALT+DEL พร้อมกันทั้ง 3 แป้น วิธีการทำเช่นนี้ มักจะใช้เมื่อเกิดข้อผิดพลาดบางประการ จนทำให้เครื่องค้างหรือหยุดการปฏิบัติงานไปเลย (hang) จึงต้องเริ่มเครื่องใหม่ การกดแป้นสามแป้นนี้ จะสามารถเริ่มต้นเครื่องใหม่ได้เร็วกว่าการปิดสวิตช์แล้วเปิดใหม่ ซึ่งเรียกว่า "cold boot " หรือ "cold start " ปัจจุบันเครื่องรุ่นใหม่ ๆ จะมีปุ่ม Reset ไว้ให้ด้วย จะกดที่ปุ่มนี้ก็ได้ ถือเป็นการ "warm boot" เช่นเดียวกัน มีความหมายเหมือน warm startดู cold boot เปรียบเทียบ |
warm start | การเริ่มต้นระบบการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ โดยไม่ต้องปิดสวิตช์ที่ตัวเครื่อง การเริ่มต้นเช่นนี้เป็นการเริ่มต้นใหม่ก็จริง แต่วิธีทำเพียงกดแป้นบางแป้นที่แผงแป้นอักขระ (เช่น แป้น CTRL, ALT และ DEL พร้อม ๆ กันในระบบดอส ในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ตระกูลไอบีเอ็ม) เครื่องก็จะเริ่มต้นใหม่ให้ การที่ต้องทำเช่นนี้ก็เนื่องจาก ขณะที่ใช้อยู่ เกิดข้อผิดพลาดบางประการเกี่ยวกับตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ จนทำให้ไม่สามารถประมวลผลต่อไปได้ ทำให้ต้องเริ่มต้นใหม่ การเริ่มเครื่องต่อด้วยวิธีนี้ ใช้เวลาน้อยกว่าเปิดเครื่องใหม่ (cold start) มีความหมายเหมือน warm bootดู cold start เปรียบเทียบ |
withal | (วิธ'เธิล) adv. นอกจากนี้, อนึ่ง, อีกประการหนึ่ง, อย่างไรก็ตาม, ถึงกระนั้นก็ดี, ไม่เท่านั้น, แต่ทว่า, Syn. nevertheless, still |