Charge-coupled device | อุปกรณ์ถ่ายเทประจุ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Accelerator | เครื่องเร่งอนุภาค, เครื่องเพิ่มความเร็วและพลังงานจลน์ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า เช่น <em>โปรตอน</em>หรือ<em>อิเล็กตรอน</em> โดยใช้แรงแม่เหล็กและ/หรือไฟฟ้า ทำให้อนุภาคเหล่านั้นเคลื่อนที่ด้วยความเร็วใกล้ความเร็วแสง เครื่องเร่งอนุภาคมีหลายชนิด เช่น <em>ไซโคลทรอน</em> <em>ซิงโครทรอน เครื่องเร่งอนุภาคเชิงเส้น</em> และ<em>บีตาทรอน</em> [นิวเคลียร์] |
Alpha particle | อนุภาคแอลฟา, อนุภาคที่มีประจุบวก ประกอบด้วย<em>โปรตอน</em> 2 อนุภาค และ<em>นิวตรอน</em> 2 อนุภาค ซึ่งเหมือนกับนิวเคลียสของฮีเลียม-4 มีความสามารถในการทะลุทะลวงต่ำ ผ่านอากาศได้เพียง 2-3 เซนติเมตร และไม่สามารถทะลุผ่านแผ่นกระดาษหรือผิวหนังได้ อนุภาคแอลฟาเกิดจาก<em>การสลาย</em>ของสารกัมมันตรังสีบางชนิด เช่น ยูเรเนียม และทอเรียม [นิวเคลียร์] |
Antiparticle | ปฏิยานุภาค, อนุภาคที่มีมวล ประจุไฟฟ้า และเลขสปิน เท่ากับอนุภาคนิวเคลียร์ชนิดเดียวกัน แต่มีประจุไฟฟ้าและหรือโมเมนต์แม่เหล็กตรงข้ามกัน ตัวอย่างโปรตอนมีประจุไฟฟ้า +1 ส่วนแอนติโปรตอนมีประจุไฟฟ้า [นิวเคลียร์] |
Bremsstrahlung | เบรมส์ชตราลุง, รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ถูกปล่อยออกมา เมื่ออนุภาคที่มีประจุถูกเร่งให้เร็วขึ้น หรือถูกหน่วงให้ช้าลง รังสีเอกซ์จากเครื่องเอกซเรย์ทั่วไปก็เป็นรังสีชนิดนี้ [นิวเคลียร์] |
Cerenkov radiation | การแผ่รังสีเซเรนโกฟ, ปรากฏการณ์เรืองแสงเมื่ออนุภาคที่มีประจุเคลื่อนผ่านวัสดุโปร่งใส ด้วยความเร็วที่สูงกว่าความเร็วของแสงในวัสดุนั้น เช่น ในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ หรือเครื่องฉายรังสีแกมมาแบบสระน้ำ จะเห็นการแผ่รังสีนี้เป็นแสงเรืองสีฟ้า พาเวล อเล็กเซวิช เซเรนโกฟ (Pavel Alexsejevich Cerenkov) เป็นคนแรกที่อธิบายปรากฏการณ์นี้ [นิวเคลียร์] |
Particle accelerator | เครื่องเร่งอนุภาค, เครื่องเพิ่มความเร็วและพลังงานจลน์ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า เช่น โปรตอนหรืออิเล็กตรอน โดยใช้แรงแม่เหล็กและ/หรือไฟฟ้า ทำให้อนุภาคเหล่านั้นเคลื่อนที่ด้วยความเร็วใกล้ความเร็วแสง เครื่องเร่งอนุภาคมีหลายชนิด เช่น ไซโคลทรอน ซิงโครทรอน เครื่องเร่งอนุภาคเชิงเส้น และบีตาทรอน [นิวเคลียร์] |
Electron | อิเล็กตรอน, อนุภาคมูลฐานที่เป็นส่วนประกอบของอะตอม มีประจุไฟฟ้าลบ และมีมวล 1 ใน 1873 ส่วนของมวลโปรตอน โดยแต่ละอะตอมจะมีอิเล็กตรอนจำนวนหนึ่งอยู่ล้อมรอบนิวเคลียสที่มีประจุบวก สำหรับอะตอมที่เป็นกลางจำนวนอิเล็กตรอนจะเท่ากับจำนวนโปรตอนและเป็นตัวกำหนดสมบัติทางเคมีของอะตอม [นิวเคลียร์] |
Van de Graaff generator | เครื่องกำเนิดไฟฟ้าแวนเดอแกรฟฟ์, เครื่องผลิตประจุไฟฟ้าสถิตศักย์สูง โดยประจุไฟฟ้าจากเครื่องกำเนิดประจุถูกส่งผ่านโลหะปลายแหลมไปยังสายพานซึ่งทำหน้าที่พาประจุขึ้นไปสะสมไว้ที่ผิวทรงกลมจนได้ศักย์ไฟฟ้าสูง เครื่องนี้สามารถสะสมประจุจนกระทั่งมีศักย์ไฟฟ้าสูงถึง 20 ล้านโวลต์ เครื่องนี้สามารถใช้เป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่มีประจุ มักใช้เร่งอนุภาคก่อนยิงเข้าสู่เครื่องเร่งอนุภาคแบบอื่นที่ให้พลังงานสูงขึ้น รอเบิร์ต แวน เดอ แกรฟฟ์ (Robert Van de Graaff) เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องมือนี้ในปี พ.ศ. 2474, Example: [นิวเคลียร์] |
Van de Graaff accelerator | เครื่องกำเนิดไฟฟ้าแวนเดอแกรฟฟ์, เครื่องผลิตประจุไฟฟ้าสถิตศักย์สูง โดยประจุไฟฟ้าจากเครื่องกำเนิดประจุถูกส่งผ่านโลหะปลายแหลมไปยังสายพานซึ่งทำหน้าที่พาประจุขึ้นไปสะสมไว้ที่ผิวทรงกลมจนได้ศักย์ไฟฟ้าสูง เครื่องนี้สามารถสะสมประจุจนกระทั่งมีศักย์ไฟฟ้าสูงถึง 20 ล้านโวลต์ เครื่องนี้สามารถใช้เป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่มีประจุ มักใช้เร่งอนุภาคก่อนยิงเข้าสู่เครื่องเร่งอนุภาคแบบอื่นที่ให้พลังงานสูงขึ้น รอเบิร์ต แวน เดอ แกรฟฟ์ (Robert Van de Graaff) เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องมือนี้ในปี พ.ศ. 2474 [นิวเคลียร์] |
Radiolytic product | ผลผลิตการแยกสลายด้วยรังสี, สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีสารใดๆ เช่น การฉายรังสีอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และ เกิดการแยกสลาย ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียรและทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหารได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง [นิวเคลียร์] |
Proton | โปรตอน, อนุภาคมูลฐานที่มีประจุไฟฟ้าบวกหนึ่งหน่วย มีมวลประมาณ 1837 เท่าของอิเล็กตรอน โปรตอนเป็นองค์ประกอบของนิวเคลียสทุกชนิด เลขเชิงอะตอม ของอะตอมใด ๆ จะเท่ากับจำนวนของโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอมนั้น [นิวเคลียร์] |
Positron | โพซิตรอน, อนุภาคมูลฐานที่มีมวลเท่ากับอิเล็กตรอนแต่มีประจุเป็นบวก เรียกอีกอย่างว่า “แอนติอิเล็กตรอน” เกิดจาก แพร์โพรดักชัน หรือจากการสลายกัมมันตรังสีของนิวไคลด์บางชนิด เช่น โซเดียม-22 (ดู antimatter; electron และ pair production ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Photon | โฟตอน, กลุ่มหนึ่งๆ ของพลังงานในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีโมเมนตัมซึ่งเป็นลักษณะของอนุภาค แต่ไม่มีมวลหรือประจุไฟฟ้า ตัวอย่างเช่น รังสีแกมมา และรังสีเอกซ์ [นิวเคลียร์] |
Nucleus | นิวเคลียส, แกนกลางของอะตอม มีประจุเป็นบวก และขนาดเล็กประมาณ 10-15 เมตร หรือประมาณ 1 ใน 10, 000 ของเส้นผ่าศูนย์กลางของอะตอม เป็นที่รวมของมวลเกือบทั้งหมดของอะตอม ทุกนิวเคลียสประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอน ยกเว้นนิวเคลียสของไฮโดรเจนธรรมดาที่มีเพียงโปรตอนหนึ่งอนุภาค [นิวเคลียร์] |
Neutron generator | เครื่องกำเนิดนิวตรอน, เครื่องเร่งอนุภาคชนิดหนึ่งที่ใช้ในการผลิตนิวตรอน โดยการเร่งอนุภาคที่มีประจุ เช่น ดิวเทอรอน ให้มีพลังงานระหว่าง 150-500 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ แล้วปล่อยให้ชนกับเป้าบางๆ ที่เหมาะสม ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นจะให้นิวตรอนที่มีพลังงานได้ถึง 17.59 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์, Example: [นิวเคลียร์] |
Neutron | นิวตรอน, อนุภาคมูลฐานที่ไม่มีประจุ มีมวลมากกว่าโปรตอนเล็กน้อย และพบในนิวเคลียสของทุกอะตอมยกเว้นอะตอมไฮโดรเจนธรรมดา นิวตรอนอิสระไม่เสถียร มีครึ่งชีวิต 10.3 นาที สลายเป็นอิเล็กตรอน โปรตอน และนิวทริโน [นิวเคลียร์] |
Neutrino | นิวทริโน, อนุภาคมูลฐานที่มีมวลน้อยมาก ไม่มีประจุไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูง และมีปฏิสัมพันธ์กับสสารน้อย ทำให้ตรวจหาได้ยาก พบได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์หลายชนิด เช่น การสลายแบบให้อนุภาคบีตา รวมทั้งอนุภาคจากดวงอาทิตย์ที่ผ่านมายังโลก, Example: [นิวเคลียร์] |
Capacitor | ตัวเก็บประจุไฟฟ้า [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Mass spectrometer | สเปกโทรมิเตอร์มวล, อุปกรณ์สำหรับตรวจหาและวิเคราะห์ไอโซโทป ที่สามารถแยกนิวเคลียสที่มีอัตราส่วนประจุต่อมวลที่แตกต่างกันออกจากกันได้ โดยการผ่านนิวเคลียสเหล่านั้นไปในสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก คำนี้มีความหมายเหมือน mass spectrograph, Example: [นิวเคลียร์] |
Mass spectrograph | สเปกโทรกราฟมวล, อุปกรณ์สำหรับตรวจหาและวิเคราะห์ไอโซโทป ที่สามารถแยกนิวเคลียสที่มีอัตราส่วนประจุต่อมวลที่แตกต่างกันออกจากกันได้ โดยการผ่านนิวเคลียสเหล่านั้นไปในสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก คำนี้มีความหมายเหมือน mass spectrograph [นิวเคลียร์] |
Linac | เครื่องเร่งอนุภาคเชิงเส้น, ไลแน็ก, มาจากคำ่ว่า Linear accelerator อนุภาคที่มีลักษณะเป็นท่อตรงยาว อนุภาคที่มีประจุซึ่งวิ่งภายในท่อจะถูกเพิ่มพลังงานด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้ากระแสสลับที่มีอยู่ตลอดความยาวท่อ <br>(ดู cyclotron และ accelerator ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Linear accelerator | เครื่องเร่งอนุภาคเชิงเส้น, ไลแน็ก, เครื่องเร่งอนุภาคที่มีลักษณะเป็นท่อตรงยาว อนุภาคที่มีประจุซึ่งวิ่งภายในท่อจะถูกเพิ่มพลังงานด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้ากระแสสลับที่มีอยู่ตลอดความยาวท่อ <br>(ดู cyclotron และ accelerator ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Kinetic energy released in matter | เคอร์มา, ผลรวมของพลังงานจลน์เริ่มต้นของอนุภาคที่มีประจุซึ่งเกิดจากรังสีชนิดก่อไอออนที่ไม่มีประจุทำปฏิสัมพันธ์กับวัตถุ มีหน่วยเป็นเกรย์ [นิวเคลียร์] |
Ion pair | คู่ไอออน, ไอออนบวกและไอออนลบที่มีขนาดประจุเท่ากัน เกิดจากการแตกตัวของอะตอมหรือโมเลกุลที่เป็นกลางเมื่อได้รับรังสี โดยอิเล็กตรอนที่หลุดออกจากอะตอมหรือโมเลกุลจะเป็นไอออนลบ ส่วนอะตอมหรือโมเลกุลที่อิเล็กตรอนหลุดออกไปนั้นจะเป็นไอออนบวก [นิวเคลียร์] |
Ion | ไอออน, อะตอมหรือโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้าจากการสูญเสียหรือได้รับอิเล็กตรอนหนึ่งอนุภาคหรือมากกว่า อะตอมหรือโมเลกุลที่สูญเสียอิเล็กตรอนจะเป็นไอออนบวก ถ้าได้รับอิเล็กตรอนเข้ามาจะเป็นไอออนลบ [นิวเคลียร์] |
Anions | ประจุลบ [TU Subject Heading] |
Cations | ประจุบวก [TU Subject Heading] |
Glow discharges | การปล่อยประจุแบบมีแสง [TU Subject Heading] |
Ionization | การแตกตัวประจุ, ไอออน [สิ่งแวดล้อม] |
Ion Exchange | การแลกเปลี่ยนประจุ, ไอออน [สิ่งแวดล้อม] |
Hydrogen-Ion Concentration | ความเข้มข้นของประจุไฮโดรเจน, Example: น้ำหนักของไฮโดรเจนเป็นโมลต่อลิตรของสารละลาย, ปกติแสดง ในรูปพีเอช ซึ่งเป็นค่าลอกการิธึมของส่วนกลับของความเข้มข้น ประจุไฮโดรเจน [สิ่งแวดล้อม] |
accelerator (particle accelerator) | เครื่องเร่งอนุภาค, เป็นเครื่องเพิ่มความเร็วและพลังงานจลน์ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า เช่น โปรตรอน หรืออิเล็กตรอน โดยใช้แรงแม่เหล็ก หรือแรงไฟฟ้า ทำให้อนุภาคเหล่านั้นเคลื่อนที่ด้วยความเร็วใกล้ความเร็วแสง เครื่องเร่งอนุภาคมีหลายชนิด เช่น ไซโคลตรอน ซินโครตรอน เครื่องเร่งอนุภาคเชิงเส้น และบีตาตรอน [พลังงาน] |
cyclotron | เครื่องไซโคลตรอน , เป็นเครื่องสำหรับเร่งอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ผู้ประดิษฐ์คือ Earnest O. Lawrence ชาวอเมริกัน ซึ่งได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ในปี พ.ศ. 2482 ในเครื่องเร่งอนุภาคชนิดนี้ อนุภาคถูกเร่งด้วยสนามไฟฟ้า ในขณะเดียวกันก็ถูกควบคุมด้วยสนามแม่เหล็ก ให้วิ่งวนเป็นวงออกไป เมื่อได้ความเร็วที่เหมาะสม ก็จะถูกปล่อยให้ไปชนกับเป้าที่ต้องการ เครื่องเร่งนี้ใช้ในการวิจัยทางฟิสิกส์พื้นฐาน และการผลิตสารไอโซโทปรังสี [พลังงาน] |
neutron generato | เครื่องกำเนิดนิวตรอน, เป็นเครื่องผลิตนิวตรอนพลังงานสูง โดยการเร่งอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า เช่น ดิวเทอรอน (deuteron) ให้มีพลังงานจลน์ในช่วง 150-500 กิโลอิเล็กตรอนโวลต์ แล้วให้ชนกับเป้าบางๆ โดยทั่วไปปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่ใช้ในการผลิตนิวตรอน ได้จากการเร่งดิวเทอรอนให้ชนกับตริเตรียม(tritium) ทำให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ ดังสมการ [พลังงาน] |
radiolytic products | เรดิโอไลติกโปรดักส์, คือ สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีอาหาร เมื่อรังสีทะลุผ่านอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และเกิดปฏิกิริยาเรดิโอไลซิส ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียร และไปทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร ได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง ซึ่งเรียกโดยรวมว่า เรดิโอไลติก โปรดักส์ การเกิดอนุมูลอิสระนอกจากจะเกิดจากการใช้รังสีแล้ว ยังเกิดจากการใช้ความร้อน เช่น การต้ม การทอด การอบ การย่าง และการปิ้ง และอนุมูลอิสระที่เกิดจากการใช้ความร้อนนี้ทำให้เกิดสารประกอบต่างๆ ที่มี โมเลกุลเล็กลงได้เช่นกัน แต่เรียกโดยรวมว่าเทอร์โมไลติกโปรดักส์ และเมื่อเปรียบเทียบกับเรดิโอไลติกโปรดักส์ พบว่า สารประกอบส่วนใหญ่เป็นชนิดเดียวกัน และเป็นสารประกอบที่ตรวจพบได้ในอาหารที่ไม่ได้ฉายรังสี [พลังงาน] |
Van de Graaff Generator (accelerator) | เครื่องแวนเดอกราฟ, เป็นเครื่องผลิตประจุไฟฟ้าสถิตย์ศักดาสูง ซึ่งประจุไฟฟ้าจากแหล่งกำเนิดถูกส่งผ่านโลหะปลายแหลมไปยังสายพาน ซึ่งทำหน้าที่พาประจุขึ้นไปสะสมไว้ที่ผิวทรงกลมจนได้ศักดาไฟฟ้าสูง ระบบทั้งหมดนี้อยู่ในถังความดันที่บรรจุแก๊สเฉื่อยทางไฟฟ้า เช่น ฟรีออนความดันสูงไม่น้อยกว่า 15 บรรยากาศ จะสามารถเก็บประจุซึ่งมีศักดาไฟฟ้าสูงถึงประมาณ 20 ล้านโวลต์ เครื่องนี้นำมาใช้เป็นเครื่องเร่งอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าได้ และมักใช้เร่งอนุภาคก่อนยิงเข้าสู่เครื่องเร่งอนุภาคแบบอื่นที่ให้พลังงานสูงขึ้น เรียกชื่อตาม Robert Van de Graaff ชาวเนเธอร์แลนด์ ซึ่งประดิษฐ์เครื่องมิอนี้ ในปี พ.ศ. 2474 [พลังงาน] |
Antistatic agent | สารเคมีที่เติมลงไปในยางเพื่อช่วยลดการสะสมของประจุไฟฟ้าบนผิวยาง เช่น เขม่าดำเกรดที่นำไฟฟ้าได้ดี (Conductive black) เกลือของแอมโมเนียม เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Latex | 1.น้ำยาง : ของเหลวสีขาวคล้ายน้ำนมได้จากพืชบางชนิด เช่น ต้นยางพารา และต้นรัก เป็นต้น 2.เลเทกซ์ : พอลิเมอร์ที่มีอนุภาคขนาดเล็กกว่า 1 ไมโครเมตร กระจายตัวอยู่ในน้ำด้วยสภาวะเสถียรด้วยประจุ มีลักษณะขุ่นขาวคล้ายน้ำนม เช่น อิมัลชันของโคพอลิเมอร์สไตรีน-อะคริลิก [เทคโนโลยียาง] |
Air Ionization, Negative | อากาศมีประจุลบ [การแพทย์] |
Air Ionization, Positive | ประจุบวกเพิ่มขึ้นในอากาศ [การแพทย์] |
Alkyl Carbanion | หมู่อัลคิลที่มีประจุลบ [การแพทย์] |
Anionic | ประจุลบ, มีประจุลบ, มีประจุไฟฟ้าลบ [การแพทย์] |
Anionics | สารที่มีประจุลบ [การแพทย์] |
Anions | ประจุลบ, อิออนลบ, อิออนที่มีประจุลบ, ไอออนประจุลบ, อนุภาคที่มีประจุลบ, อิออนประจุลบ, แอนไอออน, แอนไออ้อน, ไอออนลบ, แอนอิออน, อีออนลบ [การแพทย์] |
Anions, Complex | อิออนเชิงซ้อนที่มีประจุลบ, สารเชิงซ้อนที่มีประจุลบ [การแพทย์] |
Antistatic | ต้านการเกิดประจุไฟฟ้าสถิต, ต้านไฟฟ้าสถิตย์ [การแพทย์] |
Band, Charge-Transfer | แถบซึ่งมีการโอนประจุ [การแพทย์] |
Calcium, Ionized | ไอออไนซด์แคลเซี่ยม, แคลเซียมในสภาพเป็นประจุ [การแพทย์] |
Capacit Transistors | ตัวเก็บประจุ [การแพทย์] |
alpha particle | อนุภาคที่มีประจุบวกที่ประกอบด้วยสองโปรตอนและสองนิวตรอน, นิวเคลียสของอะตอมของธาตุฮีเลียม (nucleus of a helium atom) |
anion | (แอน' ไอออน) n. ไอออนที่มีประจุลบ, อะตอมหรือกลุ่มอะตอมที่มีประจุลบ. -anionic adj. (negatively charged ion) |
antimatter | (แอนทีแมท' เทอะ) n. lสารที่ประกอบด้วยอนุภาคที่เหมือนกันแต่มีประจุไฟฟ้าตรงกันข้าม (anti-+mater) |
antineutron | (แอนทีนิว' ทรอน) n. อนุภาคไร้ประจุที่มีมวลเท่ากับของนิวตรอน แต่มีโมเมนท์แม่เหล็กตรงกันข้าม (anti-neutron) |
antiproton | (แอนทีโพร' ทอน) n. อนุภาคที่มีประจุลบเท่ากับของอีเล็คตรอน แต่มีมวลและส่วนหมุนรอบเหมือนของโปรตรอน, อนุภาคด้านของโปรตอน |
atomic number | จำนวนประจุบวกหรือโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม หรือเท่ากับจำนวนอีเล็กตรอนที่ล้อมรอบอะตอมอย่างปกติ |
carbide | Pref. n. สารประกอบคาร์บอนที่มีธาตุหรือกลุ่มธาตุที่มีประจุบวก, แคลเซี่ยมคาร์ไบด์ |
cation | (แคท'ไอออน) n. ไอออนบวก, อะตอมหรือกลุ่มอะตอมที่มีประจุบวก, See also: cationic adj. ดูcation, Syn. kation |
ccd memory | หน่วยความจำแบบซีซีดีย่อมาจาก charge coupled device memory (หน่วยความจำแบบอุปกรณ์ถ่ายเทประจุ) หมาย ถึงหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ที่ทำจากซิลิคอนชิป (silicon chip) ซึ่งสามารถเปลี่ยนสนามแม่เหล็กไฟฟ้าไปเป็นประจุไฟฟ้า และสามารถบันทึกข้อมูลลงในจานแม่เหล็ก (disk) ได้ เหมาะสำหรับงานที่เรียกใช้ข้อมูลในหน่วยความจำตามลำดับ (sequential) หน่วยความจำชนิดนี้ทำงานช้ากว่าแรม (RAM) แต่เร็วกว่าแบบแม่เหล็ก |
charge | (ชาร์ดจฺ) vt. บรรจุ, ประจุ, อัดไฟ, ทำให้เต็ม, วางเงื่อนไข, สั่ง, ตักเตือน, แนะนำ, กล่าวหา, ฟ้องร้อง, เรียกเก็บเงิน, โจมตี, เป็นภาระ บันทึกเป็นหนี้ -vi. พุ่งเข้าไป, พุ่งไปข้างหน้า, โจมตี, เรียกเก็บ, หมอบลง (ตามคำสั่ง) -n. การอัดประจุไฟฟ้า, กระแสไฟที่อัด, ปริมาณดินระเบิด, ภาระ |
condenser | (คันเดน'เซอะ) n. เครื่องทำให้ไอน้ำหรือแก๊สจับตัวกันเป็นของเหลว หรือของแข็ง, คนย่อ, คนเดี่ยว, เลนส์รวมแสง, เครื่องสะสมประจุไฟฟ้า |
coulomb | (คู'ลอมบ์) n. หน่วยประจุไฟฟ้า (เมตร-กิโลกรัม-วินาที) |
electricity | (อีเลคทริส'ซิที) n. ไฟฟ้า, กระแสไฟฟ้า, วิชาไฟฟ้า, การไฟฟ้า, ประจุไฟฟ้า, ไฟฟ้าสถิต, อารมณ์หรือความรู้สึกที่ตื่นเต้น, เร่าร้อนตึงเครียด |
electropositive | adj. ซึ่งมีประจุไฟฟ้าบวก |
ion | (ไอ'อัน, ไอ'ออน) n. อะตอมหรือกลุ่มของอะตอมที่มีประจุบวกและลบโดยขึ้นอยู่กับการได้หรือสูญเสียอีเล็กตรอน |
isotope | (ไอ'โซโทพฺ) n. ธาตุที่มีคุณสมบัติทางเคมีเหมือนกันแต่ต่างกันที่น้ำหนักอะตอมและประจุไฟฟ้าisotopeหลายชนิดที่มีกัมมันตภาพรังสี |
meson | (มี'ซอน, เมซ'ซัน) n. อนุภาคที่มีมวลระหว่างอิเล็กตรอนกับโปรตรอน มีประจุเป็นกลาง หรือเป็นบวกหรือลบ มีค่าการหมุนรอบ |
positive | (พอส'ซิทิฟว) adj. แน่นอน, แน่ใจ, เชื่อถือได้, ยืนยันได้, เด็ดขาด, มั่นใจ, มีประจุบวก, (การทดสอบ) ได้ผลบวกของพยาธิสภาพ, มีอยู่จริง, (รูปถ่าย) มีสีถูกต้อง. n. สิ่งที่เป็นบวก, สัญลักษณ์หรือเครื่องหมายบวก, ภาพที่มีสีถูกต้อง (ตรงกันข้ามกับภาพเป็นกาติฟว์) , ฐานะที่ชัดเจน, รูปแบบที่แน่นอน |
proton | (โพร'ทอน) n. อนุภาคของอะตอมที่มีประจุบวกซึ่งมีขนาดประจุเท่ากับของอิเล็กตรอน., See also: protonic adj. |
reduction | (รีดัค'เชิน) n. การลดลง, การย่อ, การทำให้หด, การทด, การทอน, การทำให้เจือจาง, การเอาออกซิเจนออกจากออกไซด์, การเพิ่มไฮโดรเจนแก่สาร, การได้อิเล็กตรอนของสาร, การลดวาเลนซีของธาตุที่มีประจุบวกในสารประกอบ, See also: reductional adj. -S... |
toner | (โท'เนอะ) n. น้ำยาสี, น้ำยาปรับสี, ตัวปรับ, หมึกพิมพ์หมายถึง สารที่มีลักษณะเหมือนหมึกพิมพ์สีดำที่ใช้กับเครื่องพิมพ์เลเซอร์ (laser printer) ในความเป็นจริงนั้น สารนี้เป็นเกล็ดวัสดุที่สามารถประจุกระแสไฟได้ มีลักษณะการทำงานคล้ายเครื่องถ่ายเอกสาร กล่าวคือความร้อนจะทำให้สารนี้ละลาย ทำให้เกิด เป็นตัวอักษรหรือภาพบนกระดาษ |
uncharged | (อันชาร์จดฺ') adj. ไม่มีประจุไฟฟ้า, (ไฟฟ้า) เป็นกลาง |
undercharge | (อัน'เดอะชาร์จฺ) vi. เรียกราคาต่ำกว่าที่ควร, ใส่ (ประจุ) น้อยกว่าที่ควร. n. ราคาเรียกที่ต่ำกว่าที่ควรหรือต่ำกว่าปกติ, ประจุไม่เพียงพอ, จำนวนไม่เพียงพอ |
xerographic printer | xerographic printer เครื่องพิมพ์แบบถ่ายสำเนาหมายถึง เครื่องพิมพ์ชนิดหนึ่งซึ่งใช้วิธีการพิมพ์ด้วยประจุไฟฟ้าลงบนแผ่นกระดาษเป็นตัวอักษรก่อน แล้วจึงปัดด้วยผ้าหมึกแห้งให้ขึ้นเป็นสีทีหลัง เป็นการใช้ทั้งความร้อน และแรงอัด ทำให้เกิดเป็นภาพหรือตัวอักษรที่คมชัดมาก ความเร็วในการพิมพ์จะอยู่ในราว 400 บรรทัดต่อนาที |
zwitterion | (สวิท'เทอไรเอิน) n. ไอออนที่มีทั้งประจุบวกและประจุลบ, See also: zwitterionic adj., Syn. zwitter-ion. |