นักปราชญ์ | น. ผู้รอบรู้, ผู้มีปัญญา. |
ปราชญ์ | (ปฺราด) น. ผู้มีปัญญารอบรู้. |
ปราชญา | (ปฺราดยา) น. ปัญญา. |
กระวี ๑ | น. นักปราชญ์ในการแต่งบทกลอน เช่น เสดจ์ยังสาระพินิจฉัยพร้อมด้วยหมู่มุกขมนตรีกระวีราชปโรหิตาโหราจารย์อยู่ในศีลสัจ (สามดวง). |
จ่อม ๒ | ก. หย่อนลง, วางลง, เช่น เอาเบ็ดไปจ่อม จ่อมก้นไม่ลง, จุ่มลง, จม, เช่น ปวงเทพเจ้าตกจม จ่อมม้วย (โคลงตำนานศรีปราชญ์), จอด เช่น ใจจ่อมเจ้า |
จินต์จล | ก. คิดหวั่น, คิดหวาดหวั่น, เช่น ใจปราชญ์ฤๅเฟื่องฟื้นห่อนได้จินต์จล (โลกนิติ). |
ทิพพยาน | (ทิบพะยาน) น. กลพยานประเภทหนึ่ง เป็นพยานที่เชื่อถือได้ เช่น ภิกษุผู้ทรงธรรม พราหมณาจารย์ผู้ทรงศีลพรต นักปราชญ์ราชบัณฑิตผู้ทรงธรรม ขุนนางผู้มีบรรดาศักดิ์, ในสามดวงเขียนเป็น ทิพญาณ หรือ ทิพพญาณ, ทิพยพยาน ก็ว่า. |
ทิพยพยาน | น. กลพยานประเภทหนึ่ง เป็นพยานที่เชื่อถือได้ เช่น ภิกษุผู้ทรงธรรม พราหมณาจารย์ผู้ทรงศีลพรต นักปราชญ์ราชบัณฑิตผู้ทรงธรรม ขุนนางผู้มีบรรดาศักดิ์, ทิพพยาน ก็ว่า. |
ธีร-, ธีระ | (ทีระ-) น. นักปราชญ์. |
ธีรราช | น. กษัตริย์ผู้เป็นปราชญ์. |
เธียร | น. นักปราชญ์. |
บัณฑิต | (บันดิด) น. ผู้ทรงความรู้, ผู้มีปัญญา, นักปราชญ์, ผู้สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาซึ่งมี ๓ ขั้น คือ ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก เรียกว่า บัณฑิต มหาบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิต, ผู้มีความสามารถเป็นพิเศษโดยกำเนิด เช่น คนนี้เป็นบัณฑิตในทางเล่นดนตรี. |
ประวัติ, ประวัติ- | (ปฺระหฺวัด, ปฺระหฺวัดติ-, ปฺระหวัด-) น. เรื่องราวว่าด้วยความเป็นไปของคน สถานที่ หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ประวัติศรีปราชญ์ ประวัติวัดมหาธาตุ. |
พญาพยาต | น. พญาปราชญ์, จอมปราชญ์. |
พิชญ์ | น. นักปราชญ์, คนมีความรู้สูง. |
มนัสวี | (มะนัดสะ-) น. ผู้เป็นปราชญ์, ผู้มีใจเด็ดเดี่ยว, ผู้มีความคิดสูง. |
มัชฌิมชนบท | น.ในสมัยพุทธกาลหมายถึง ดินแดนส่วนกลางของประเทศอินเดียอันเป็นที่อยู่ของพวกอริยกะ เป็นถิ่นที่อุดมสมบูรณ์ เป็นที่ตั้งนครใหญ่ ๆ เป็นศูนย์กลางการปกครอง และเป็นที่ประชุมของนักปราชญ์ คณาจารย์ เจ้าลัทธิต่าง ๆ. |
มุนิ, มุนี | น. นักปราชญ์, ฤษี, พระสงฆ์. |
มุนินทร์ | น. จอมนักปราชญ์, พระพุทธเจ้า. |
เมธาวี, เมธี | น. นักปราชญ์. |
โมไนย | (-ไน) น. ความเป็นปราชญ์, คุณธรรมของนักปราชญ์. |
ราชบัณฑิต | (-บันดิด) น. นักปราชญ์หลวงมีความรู้ทางภาษาบาลี |
วิชญะ | (วิดยะ) น. ผู้รู้, ผู้ฉลาด, ปราชญ์. |
วิญญู | น. ผู้รู้แจ้ง, นักปราชญ์. |
วิทวัส | (วิดทะวัด) น. ผู้รู้, นักปราชญ์, ผู้มีปัญญา. |
วิพุธ | น. ผู้รู้, นักปราชญ์. |
วิภาวี | น. ผู้รู้แจ้งชัด, นักปราชญ์. |
เวที ๒ | น. ผู้รู้, นักปราชญ์. |
แวว | น. ลักษณะที่แสดงให้เห็นว่าจะเป็นคนชนิดไร, เค้า, ร่องรอย, เช่น เด็กคนนี้มีแววจะเป็นนักปราชญ์ต่อไป เขาไม่มีแววว่าจะสอบได้ |
สมาคม | (สะมา-) ก. คบค้า, คบหา, เช่น อย่าสมาคมกับคนพาล ให้สมาคมกับนักปราชญ์. |
สุธี | น. คนมีปัญญา, นักปราชญ์. |
สุเมธ | (-เมด) น. คนมีปัญญาดี, นักปราชญ์. |
หะหาย, หะห้าย | ว. เสียงเยาะ เช่น หะหายกระต่ายเต้น ชมแข (ตำนานเรื่องศรีปราชญ์). |
หัวใจ | อักษรย่อของหลักธรรมหรือข้อความต่าง ๆ ที่ผูกไว้เพื่อกำหนดจำได้ง่าย นิยมว่าเป็นของขลัง เช่น หัวใจอริยสัจ ว่า “ทุ. ส. นิ. ม.” หัวใจนักปราชญ์ ว่า “สุ. จิ. ปุ. ลิ.” หัวใจเศรษฐี ว่า “อุ. อา. ก. ส.”. |
หาก | เผอิญ เช่น หากอักนิฏฐ์พรหมฉ้วย พี่ไว้จึงคง (ตำนานเรื่องศรีปราชญ์), หากเดชพระจอมจุมพลป้องบไภยันต์ (บุณโณวาท). |
alcuin | (แอล' ควิน) n. ชื่อนักธรมและนักปราชญ์ชาวอังกฤษ |
aristotle | (อา'ริสทอทเทิล) n. นักปราชญ์กรีกเป็นลูกศิษย์ของ Plato และเป็นอาจารย์ของอเลคซานเดอร์มหาราช (Greek philosopher) |
graybeard | (เกร'เบียด) n. คนที่เคราสีขาว, คนแก่, นักปราชญ์., See also: graybearded adj. |
hakim | (ฮา'คิม) n. คนที่ฉลาด, นักปราชญ์, บัณฑิต, แพทย์, ผู้ปกครอง, ข้าหลวง, ผู้พิพากษา |
mahatma | (มะฮาท'มะ) n. มหาตมะ, ปราชญ์, พราหมณ์., See also: mahatmaism n., Syn. greatsage |
philosopher | (ฟิลิส'ซะเฟอะ) n. นักปรัชญา, ปรัชญาเมธี, ปราชญ์, ผู้รู้หลักธรรม, ผู้ที่ปลงตก, ผู้เล่นแปรธาตุ, ผู้มีใจเยือกเย็น ไม่สะทกสะท้านต่อภยันตราย, ผู้เล่นแปรธาตุ ุ, See also: philosophership n. |
sage | (เซจฺ) n. คนที่ฉลาดมาก, นักปราชญ์, บัณฑิต, พืชจำพวก Salvia adj. ฉลาดมาก, ปราดเปรื่อง, สุขุม, รอบคอบ, See also: sagely adv. sageness n., Syn. intellectual, pundit |
savant | (เซวานทฺ'แซฟ'เวินทฺ) n. ชายที่มีความรู้มากและลึกซึ้ง, นักปราชญ์, เมธี, ผู้คงแก่เรียน |
sententious | (เซนเทน'เชิน) adj. เต็มไปด้วยคติพจน์, เต็มไปด้วยสุภาษิต, เล่นสำนวน, ชอบสั่งสอน, เชิงเทศนา, เชิงปราชญ์, โอ้อวด., See also: sententiously adv. sententiousness n., Syn. pithy, terse, preachy, didactic |
swami | (สวา'มี) n. (ศาสนาฮินดู) ครูศาสนา, ปราชญ์, ผู้คงแก่เรียน, ผู้รอบรู้, Syn. swamy |