ปราย | (v) sow, See also: strew, scatter, throw, scatter, disseminate, cast, Syn. ซัด, หว่าน, สาด, Example: เมื่อคืนเป็นฝนห่าแรกที่ปรายลงมาเมื่อเดือนห้ากำลังจะสิ้น |
ปรายตา | (v) glance, See also: cast one's eyes, keep an eye on, Syn. เหลือบมอง, ลอบมอง, ชำเลือง, Example: เขาแอบปรายตามองลูกค้าของร้านหนังสือแห่งนี้ที่กำลังเลือกดูเล่มโน้นเล่มนี้ |
ประปราย | (adv) sparsely, See also: thinly, slightly, lightly, Syn. ห่างๆ, เรี่ยราย, เล็กน้อย, กระจาย, นิดหน่อย, Example: ขอบสระมีต้นไม้เล็กและต้นหญ้าขึ้นอยู่ประปราย, Thai Definition: มีกระจายอยู่ห่างๆ |
อภิปราย | (v) debate, See also: discuss, contend, Example: ถ้าครูห้ามเด็กคุยในห้องเรียน เด็กก็เลยไม่ตอบคำถามไม่อภิปรายในห้องเรียน, Thai Definition: พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น, Notes: (สันสกฤต) |
เปรยปราย | (v) make a general speech; speak promiscuously, See also: greet, Example: หล่อนเป็นคนเข้าสังคมเก่ง เปรยปรายกับคนทั้งงานได้ตั้งแต่เริ่มงานจนงานเลิก, Thai Definition: กล่าวทักทายทั่วไป ไม่จำเพาะใคร |
โปรยปราย | (v) spread, See also: sprinkle, scatter, strew, disseminate, Syn. โปรย, โรย, Example: ท้องฟ้าเริ่มเปลี่ยนเป็นครึ้มเล็กน้อยและมีละอองฝนโปรยปรายลงมา, Thai Definition: ตกลงมาเป็นเม็ดๆ กระจายทั่วไป |
ผู้อภิปราย | (n) debater, Example: การอภิปรายเรื่องภาวะเศรษฐกิจไทยมีผู้อภิปราย 5 คน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น, Notes: (สันสกฤต) |
ผู้ร่วมอภิปราย | (n) panelist, Example: การอภิปรายเกี่ยวกับการปฎิรูปการศึกษามีผู้ร่วมอภิปราย 4 ท่าน, Count Unit: คน, ท่าน, Thai Definition: ผู้เข้าร่วมพูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น |
กระสุนปราย | น. ลูกตะกั่วหรือลูกเหล็กเล็ก ๆ สำหรับยัดใส่ในลำกล้องปืนครั้งละหลายลูก เมื่อยิงไปครั้งหนึ่ง ๆ ลูกจะกระจายไป, กระสุนปืนชนิดที่มีลูกตะกั่วหรือลูกเหล็กเล็ก ๆ หลาย ๆ ลูกผสมปนอยู่กับดินปืนในนัดเดียวกัน เวลายิงจะกระจายออก, (ปาก) ลูกปราย. |
การเปิดอภิปรายทั่วไป | น. กลไกที่ฝ่ายนิติบัญญัติใช้ควบคุมฝ่ายบริหาร เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี หรือฝ่ายบริหารจะรับฟังความคิดเห็นของฝ่ายนิติบัญญัติ เช่น การเปิดอภิปรายทั่วไปที่คณะรัฐมนตรีร้องขอให้มีขึ้นเพื่อรับฟังความคิดเห็นเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากสมาชิกสภา. |
ญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไป | น. มาตรการสำคัญอย่างหนึ่งของระบบรัฐสภาที่ฝ่ายนิติบัญญัติใช้ควบคุมและตรวจสอบฝ่ายบริหาร และฝ่ายบริหารใช้ประโยชน์จากฝ่ายนิติบัญญัติในการรับฟังความคิดเห็นจากฝ่ายนิติบัญญัติ. |
ทองปราย | น. ปืนคาบศิลาอย่างโบราณ ลำกล้องทำด้วยทองเหลือง ปากบาน ยิงด้วยกระสุนลูกปราย เช่น ล้วนถือทองปรายทุกคน (รามเกียรติ์ ร. ๑). |
ประปราย | (-ปฺราย) ว. มีกระจายอยู่ห่าง ๆ เช่น ผมหงอกประปราย ผลไม้ติดประปราย, มีห่าง ๆ เป็นระยะ ๆ, เรี่ยราย, เล็กน้อย, เช่น ยิงกันประปราย. |
ปราย | (ปฺราย) ก. ซัด, หว่าน, สาดให้กระจายไป, เช่น ปรายข้าวตอกดอกไม้, มักใช้เข้าคู่กับคำ โปรย เป็น โปรยปราย. |
เปรยปราย | (-ปฺราย) ก. พูดทักทายทั่วไปไม่จำเพาะใคร. |
เปรียบปราย, เปรียบเปรย | (-ปฺราย, -เปฺรย) ว. อาการที่พูดว่ากระทบกระเทียบไม่เจาะจง. |
โปรยปราย | (-ปฺราย) ว. หว่านล้อม (ใช้แก่กริยาพูด) |
โปรยปราย | หว่านไปทั่ว ๆ. |
ลูกปราย | น. กระสุนปราย. |
สัมปรายภพ, สัมปรายิกภพ | (-ปะรายะ-, -ปะราย-, -ปะรายิกะ-) น. ภพหน้า. |
อภิปราย | (อะพิปฺราย) ก. พูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น. |
กระ ๓ | น. จุดดำ ๆ หรือจุดน้ำตาลขึ้นประปรายที่ผิวกายคน สัตว์ หรือสิ่งอื่น ๆ, ประ ก็ว่า. |
กระลูน | น. ความเศร้าโศก. ว. น่ากรุณา, น่าสงสาร, เช่น อ่อนจิตสวามีอันพูนกระลูนนุกูลภรรยายิ่งยอดกว่าอันภิปราย (สรรพสิทธิ์), เขียนเป็น กระลู่น์ ก็มี. |
กา ๒ | น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Morulius chrysophekadion (Bleeker) ในวงศ์ Cyprinidae ปากงุ้มตํ่า ตาเล็ก ตลอดทั้งหัว ตัว และครีบมีสีม่วงเข้มถึงดำทึบ ครีบหลังเป็นแผนใหญ่ เฉพาะเกล็ดมีจุดสีเหลืองประปราย ขนาดยาวได้ถึง ๖๐ เซนติเมตร, เพี้ย ก็เรียก. |
ขี้ควาย | น. ชื่อปลาทะเลชนิด Trachicephalus uranoscopus (Bloch & Schneider) ในวงศ์ Scorpaenidae ตัวแบนข้างเล็กน้อย หัวสั้น ปากกว้างเชิดขึ้น ลำตัวมีรอยด่างสีนํ้าตาล มักมีจุดขาวประปราย ขอบครีบเป็นสีดำคลํ้า เงี่ยงมีพิษ ซ่อนตัวอยู่ตามซอกหินหรือหมกตัวอยู่ตามพื้นท้องทะเล ขนาดยาวได้ถึง ๑๒ เซนติเมตร, ขี้ขุย ก็เรียก. |
เชย ๒ | ก. โปรยปรายลงมา ในคำว่า ฝนเชย |
ได้น้ำได้เนื้อ | ก. มีเนื้อหาสาระ เช่น การอภิปรายครั้งนี้ได้น้ำได้เนื้อดี. |
ทุตวิลัมพิตมาลา | (ทุตะวิลำพิตะ-) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ กำหนดด้วย ๔ คณะ คือ น ภ ภ ร (ตามแบบว่า ทุตวิลมฺพิตมาห นภา ภรา) ตัวอย่างว่า ชินกถาคณนา วนิดาประมาณ พฤศติเพธพิสดาร อดิเรกภิปราย. |
โทธก | (-ทก) น. ชื่อฉันท์วรรณพฤติ บทหนึ่งมี ๔ บาท แต่ละบาทมี ๑๑ พยางค์ กำหนดด้วย ภะคณะ ภะคณะ ภะคณะ และครุ ๒ พยางค์ ตามลำดับเหมือนกันทุกบาท (ตามแบบว่า โทธกมิจฺฉติ เจ ภภภาคา) ตัวอย่างว่า มิตรคณาทุรพาละทุพลมี นามก็กระลี หินะชาติ ประกาศภิปราย (ชุมนุมตำรากลอน). |
บรรลาย ๑ | (บัน-) ก. ปราย, โปรย, เช่น หยั่งหยาดวลาหกบรรลาย (อุเทน). |
ประชุมโต๊ะกลม | น. การประชุมปรึกษาหารือหรืออภิปราย ซึ่งจัดที่นั่งล้อมกันเป็นวงกลม ไม่มีประธาน ทุกคนมีสิทธิ์เสนอความคิดเห็นเท่าเทียมกัน. |
ปรึกษา | (ปฺรึกสา) ก. หารือ, ขอความเห็นแนะนำ, พิจารณาหารือกัน, พิจารณาอภิปรายกัน เช่น ประชุมปรึกษา, พิจารณาร่างคำพิพากษา เช่น ผู้ปรึกษา (ในทางศาล). |
ผการาย | น. เรียกต้นหมากที่เพิ่งออกดอกประปราย. |
ฝนชะช่อมะม่วง | น. ฝนที่ตกเล็กน้อยประปรายในเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม ซึ่งเป็นระยะที่มะม่วงออกช่อพอดี, ฝนชะลาน ก็เรียก. |
พร้อย | (พฺร้อย) ว. ประไปทั่ว, ลายกระเป็นจุดประปราย, วาว, พราย, เช่น ลายพร้อย ด่างพร้อย. |
พลอมแพลม | (พฺลอมแพฺลม) ว. วาบแวบ, ผลุบโผล่, ประปราย, ไม่สมํ่าเสมอ, เช่น หญ้าขึ้นพลอมแพลม. |
ลูกกรด | ชื่อกระสุนชนิดหนึ่ง เล็กกว่ากระสุนทั่ว ๆ ไป ปลอกทำด้วยโลหะ หัวกระสุนทำด้วยตะกั่ว มีลูกปรายและดินปืนอยู่ข้างใน มีเชื้อปะทุอยู่ก้นปลอก. |
ลูกซอง | น. ชื่อปืนชนิดหนึ่ง ลูกมีปลอกทำด้วยกระดาษแข็ง ไม่มีหัวกระสุน มีลูกปรายหลายลูกอยู่ภายใน มีดินปืนอยู่ตรงกลาง และมีเชื้อปะทุอยู่ก้นปลอก. |
ลูกปืน | น. ลูกตะกั่วหรือเหล็กเป็นต้นที่ยัดใส่ในลำกล้องปืนแล้วยิง, กระสุนที่บรรจุในลำกล้องปืนสำหรับยิง ประกอบด้วยปลอกโลหะ ตรงปลายด้านหนึ่งมีหัวกระสุนโลหะ ถ้าเป็นปืนลูกซอง ปลอกทำด้วยกระดาษแข็ง ไม่มีหัวกระสุน แต่มีลูกปรายหลายลูกอยู่ภายใน ทั้ง ๒ ชนิดมีดินปืนอยู่ตรงกลางและมีเชื้อปะทุอยู่ก้นปลอก, กระสุนปืน |
สมเหตุสมผล | ว. มีเหตุผลสมควร, มีเหตุผลรับกัน, เช่น คำชี้แจงของเขาสมเหตุสมผล เขาอภิปรายได้สมเหตุสมผล. |
หยิม ๆ | ว. อาการที่ฝนตกพรำประปราย. |
pro forma amendment | ญัตติขอให้เปิดอภิปรายต่อไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
panel | ๑. คณะผู้อภิปราย๒. องค์คณะ๓. บัญชีรายชื่อ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
panel | ๑. คณะผู้อภิปราย๒. องค์คณะ (ผู้พิพากษาหรือลูกขุน)๓. บัญชีรายชื่อ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
puberulous | มีขนประปราย [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
recognition | ๑. การรับรอง (รัฐ, รัฐบาลใหม่)๒. การอนุญาตให้อภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rostrum | แท่นอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
argument | ๑. สังเขปเรื่อง๒. บทอภิปราย [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Address, Debate on the | การอภิปรายเกี่ยวกับพระราชดำรัส (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
argumentum ad | บทอภิปรายแบบอ้าง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
amendment, pro forma | ญัตติขอให้เปิดอภิปรายต่อไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
adjournment of the debate | การเลื่อนการอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
moderator | ผู้ดำเนินการอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
moderator | ผู้ดำเนินการอภิปราย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
catching the Speaker's eye | สบตาประธานสภา (เพื่อขออภิปราย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
closure | การปิดอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
closure | การปิดอภิปราย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
debate | การอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Debate on the Address | การอภิปรายเกี่ยวกับพระราชดำรัส (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
debate, adjournment of the | การเลื่อนการอภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
debate, general | การเปิดอภิปรายทั่วไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
guillotine | ๑. วิธีการจำกัดเวลาอภิปรายร่างกฎหมาย (ของสภาสามัญอังกฤษ)๒. เครื่องประหารชีวิต (ของฝรั่งเศส) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
general debate | การเปิดอภิปรายทั่วไป [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
general debate | การเปิดอภิปรายทั่วไป [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
floor | ๑. สิทธิที่จะอภิปราย (ในสภา)๒. ที่อภิปราย (ในสภา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
filibuster | การอภิปรายประวิงเวลา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
interpellation | ๑. การจำกัดเวลาความรับผิด (ก. แพ่ง)๒. การเปิดอภิปรายทั่วไป (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
kangaroo closure | การปิดอภิปรายอย่างรวบรัด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
kangaroo closure | การปิดอภิปรายอย่างรวบรัด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Proceedings | เอกสารเสนอหรือแถลงในการประชุม รายงานสรุปผลการอภิปราย รายงานกิจการหรือธุรกิจเกี่ยวกับการประชุม, Example: <p>Proceedings คือ เอกสารหรือหนังสือที่รวบรวมบทความวิจัย บทคัดย่อ หรือเอกสารนำเสนอในการประชุมวิชาการหรือวิชาชีพ ที่จัดขึ้นทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ โดยสมาคม หน่วยงาน หรือองค์กร จัดให้มีการประชุม เพื่อเป็นการพบปะระหว่างนักวิทยาศาสตร์ นักวิชาชีพ ในสาขาวิชาเดียวกันอย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น และความร่วมมือกัน มีการนำเสนอผลการค้นคว้าวิจัยใหม่ในที่ประชุม <p>รายงานการประชุมที่เผยแพร่เป็นรูปเล่ม (Proceedings) ดำเนินการตีพิมพ์ผลงานฉบับสมบูรณ์เผยแพร่หลังการประชุม แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ <p>1. การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (International Conference) <p>2. การประชุมวิชาการระดับชาติ (National Conference) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Discussion | อภิปราย [TU Subject Heading] |
No confidence motions | อภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล [TU Subject Heading] |
Council for Security and Cooperation in the Asia-Pacific | ชมรมด้านความมั่นคงและความร่วมมือในเอเชียแปซิฟิก เป็นสถาบันเอกชนก่อตั้งขึ้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2536 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยมีสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ (Institute of Security and International Studies : ISIS) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันก่อตั้งร่วมกับสถาบันอื่น ๆ จากประเทศอาเซียนและประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก CSCAP เป็นกลไกที่ไม่ใช่เป็นทางการ เพื่อให้นักวิชาการ เจ้าหน้าที่รัฐบาลในฐานะส่วนตัวและบุคคลอื่นได้อภิปรายปัญหาทางการเมืองและ ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
intervention | 1. การเข้าแทรกแซง 2. การเข้าร่วมอภิปราย การเข้าร่วมกล่าวถ้อยแถลง (ใช้ในกรณีการประชุมพหุภาคี) [การทูต] |
Biasing the Discussion | ความลำเอียงในการอภิปราย [การแพทย์] |
Case Discussion | การอภิปรายเกี่ยวกับรายตัวอย่าง [การแพทย์] |
Case Report Review | การสรุปรายงานเฉพาะกรณี [การแพทย์] |
Discharge Summary | สรุปผลเมื่อผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล, สรุปรายงาน, สรุปผลเมื่อผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล [การแพทย์] |
Discussion | การอภิปราย, อภิปราย, วิจารณ์ผล, วิจารณ์ [การแพทย์] |
Discussion, Lecture | การใช้วิธีอภิปราย [การแพทย์] |
Discussion, Panel | การอภิปรายหมู่, การอภิปรายเป็นคณะ [การแพทย์] |
Endemic | ระบาดเป็นแห่ง, ท้องถิ่นที่มีโรค, ประจำท้องถิ่น, ประจำถิ่น, โรคเรื้อรังประจำถิ่น, เกิดประปรายประจำ, การระบาด [การแพทย์] |
Snow pellets (soft hail) | ลูกปรายหิมะ [อุตุนิยมวิทยา] |
Ice pellets | ลูกปรายน้ำแข็ง [อุตุนิยมวิทยา] |
granite | หินแกรนิต, หินอัคนีชนิดหนึ่งประกอบด้วยแร่ควอรตซ์และเฟลด์สปาร์เป็นส่วนใหญ่ มีแร่อื่น ๆ เช่น แร่ไมกา ปนอยู่ด้วย ผลึกของแร่แต่ละชนิดเกาะก่ายกัน มีลักษณะเป็นดอก ๆ ประปราย และมีเนื้อหยาบ เปลือกโลกประกอบด้วยหินชนิดนี้เป็นส่วนใหญ่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Group Discussion | วิธิอภิปรายกลุ่ม, [การแพทย์] |
argue | (vt) ให้เหตุผล, See also: อ้างเหตุผล, อภิปราย |
argue against | (phrv) ถกเถียงเพื่อต่อต้าน, See also: อภิปรายแย้ง, อภิปรายต่อต้าน |
argue for | (phrv) ถกเถียงเรื่อง, See also: อภิปรายเรื่อง |
bat around | (phrv) พิจารณาอย่างถี่ถ้วน (คำไม่เป็นทางการ), See also: อภิปรายอย่างละเอียด |
cause | (n) หัวเรื่องของการอภิปราย, Syn. subject of discussion |
debate about | (phrv) อภิปรายในเรื่อง, See also: พุดคุยในเรื่องอย่างเป็นทางการ, Syn. debate on |
debate on | (phrv) อภิปรายในเรื่อง, See also: พุดคุยในเรื่อง...อย่างเป็นทางการ, Syn. debate about |
debate upon | (phrv) อภิปรายในเรื่อง, See also: พุดคุยในเรื่อง...อย่างเป็นทางการ, Syn. debate about |
debate with | (phrv) อภิปรายกับ, Syn. debate about |
discourse on | (phrv) กล่าวสุนทรพจน์เรื่อง, See also: อภิปรายเรื่อง, ปราศรัยเรื่อง |
discourse upon | (phrv) กล่าวสุนทรพจน์เรื่อง, See also: อภิปรายเรื่อง, ปราศรัยเรื่อง |
discuss with | (phrv) อภิปรายกับ |
debate | (n) การโต้วาที, See also: การอภิปราย, การโต้แย้ง, การถกเถียง, Syn. argument, contention, controversy, discussion, dispute, disputation |
debate | (vt) โต้แย้ง, See also: ถกเถียง, โต้เถียง, อภิปราย, ขัดแย้ง, Syn. argue, discuss, dispute |
debate | (vi) โต้แย้ง, See also: ถกเถียง, โต้เถียง, อภิปราย, ขัดแย้ง, Syn. argue, discuss, dispute |
debater | (n) ผู้อภิปราย, See also: ผู้โต้แย้ง, Syn. arguer, talker |
deliberative | (adj) เกี่ยวกับการอภิปราย (ทางการเมือง), See also: เป็นผลของการอภิปราย |
dialog | (n) การอภิปราย, See also: การสนทนา |
dialog | (vi) สนทนา, See also: อภิปราย |
dialogue | (n) การสนทนา (คำทางการ), See also: การอภิปราย, Syn. dialog |
dialogue | (vi) สนทนา, See also: อภิปราย |
discuss | (vt) สนทนา, See also: แลกเปลี่ยนความเห็น, ปรึกษาหารือ, อภิปราย, ถกเถียง, ถกปัญหา, Syn. consult, analyze, criticize, confabulate |
discussion | (n) การสนทนา, See also: การปรึกษาหารือ, การอภิปราย, การประชุม, การแลกเปลี่ยนความเห็น, การอภิปราย, Syn. consulation, argument, conference, seminar |
drizzle | (n) ฝนตกปรอยปราย, Syn. mist, drip |
forensic | (adj) เกี่ยวกับการโต้แย้งถกเถียง, See also: เกี่ยวกับการเกี่ยวกับการอภิปราย |
forum | (n) ที่สำหรับอภิปราย, See also: ที่แสดงความคิดเห็น |
intersperse among | (phrv) ทำให้กระจายไปท่ามกลาง, See also: โปรยท่ามกลาง, โปรยปรายระหว่าง, Syn. intersperse between |
intersperse between | (phrv) ทำให้กระจายไปท่ามกลาง, See also: โปรยท่ามกลาง, โปรยปรายระหว่าง, Syn. intersperse among |
interlocutory | (adj) ซึ่งมีลักษณะของการสนทนา, See also: ซึ่งมีลักษณะของการอภิปราย |
moot | (vt) เสนอความคิดหรือหัวข้อเพื่อการอภิปราย (มักใช้รูป passive voice), Syn. broach, raise, propose, Ant. repress, conceal |
moot | (n) การอภิปราย, See also: การโต้แย้ง, การโต้เถียง, Syn. debate, argument, discussion |
motion | (n) ญัตติ, See also: เรื่อง, ข้อเสนอเพื่อการอภิปรายในที่ประชุม, Syn. offer, submission |
Order Paper | (n) รายการหัวข้อที่อภิปรายในรัฐสภาแต่ละวัน |
panel | (n) คณะผู้อภิปรายทางการเมือง, Syn. committee, group |
panelist | (n) ผู้ร่วมอภิปราย, See also: สมาชิกในกลุ่มผู้อภิปราย, Syn. discussant, participants |
politicise | (vt) อภิปรายเรื่องการเมือง |
politicize | (vt) อภิปรายเรื่องการเมือง |
proposition | (n) ญัตติ, See also: หัวข้อที่นำมาอภิปราย, Syn. statement, theorem |
sparge | (n) ประปราย |
sprinkling | (n) ปริมาณโปรยปราย, See also: จำนวนที่พรมลงมา |
symposium | (n) การประชุมสัมมนา, See also: การประชุมอภิปราย, Syn. conference, parley, discussion |
talk | (vt) อภิปรายกันในเรื่อง, See also: พิจารณากันในเรื่อง, ถกเรื่อง, พูดถึงเรื่อง, Syn. discuss |
talk | (n) การอภิปราย, See also: การพิจารณา, การถกเรื่อง, Syn. discussion |
thin | (adj) น้อย, See also: เบาบาง, มีประปราย, Syn. sparse |
argue | (อาร์'กิว) vt., vi. ถกเถียง, เถียง, โต้คารม, อ้างเหตุผล, อภิปราย, พูดให้ยอม, โต้แย้งพิสูจน์ว่า, แสดงให้เห็นว่า-arguer n., Syn. debate |
argumentation | (อาร์กิวเมนเท'เชิน) n. ขบวนการโต้เถียงการให้เหตุผล, การอภิปราย, การถกเถียง, บทความเชิงอภิปราย, ข้อพิสูจน์, ข้อสรุป, ข้ออนุมาน, Syn. discussion |
bull session | n. การอภิปรายกลุ่ม |
canvass | (แคน'เวิส) { canvassed, canvassing, canvasses } vt., vi., n. (การ) ตรวจสอบอย่างละเอียด, หาเสียง, ออกเที่ยวชักชวน, อภิปรายอย่างละเอียด, วิจารณ์อย่างรุนแรง, See also: canvasser n. ดู canvass, Syn. examine, survey |
cloture | (โคล'เชอะ) { clotured, cloturing, clotures } n. วิธีการปิดการอภิปรายและให้มีการลงคะแนนเสียงทันที vt., vi. ปิดการอภิปราย |
colloquium | (คะโล'เควียม) n. การประชุม หรือปรึกษาหารืออย่าง ๆ ไม่เป็นทางการ, การอภิปรายกลุ่ม |
confabulate | (คันแฟบ'บิวเลท) vi. คุยกันเล่น, สนทนา, อภิปราย, See also: confabulator n. |
confabulation | (คันแฟบบิวเล'เชิน) n. การคุยกันเล่น, การสนทนา, การอภิปราย., See also: confabulatory adj., Syn. conversation |
controvert | (คอน'ทระเวิร์ท) vt. โต้เถียง, คัดค้าน, อภิปราย., See also: controverter n. ดูcontrovert controvertible adj. ดูcontrovert, Syn. oppose, deny |
debate | (ดิเบท') { debated, debating, debates } vt., n. (การ) ถกเถียง, อภิปราย, พิจารณา, ชิงชัย, ต่อสู้, Syn. argue |
discourse | (ดิส'คอร์ส) v., n. (การ) สนทนา, บรรยาย อภิปราย., See also: discourser n. ดูdiscourse, Syn. confer |
discuss | (ดิสคัส') { discussed, discussing, discusses } vt. อภิปราย, โต้ตอบ, สาธยาย., See also: discusser n. ดูdiscuss, Syn. debate, argue |
discussant | (ดิสคัส'เซินทฺ) n. ผู้อภิปราย, ผู้ร่วมการอภิปราย |
discussion | (ดิสคัส'เชิน) n. การอภิปราย, การโต้แย้งหาเหตุผล |
disputant | (ดิสพิว'เทินทฺ) n.ผู้โต้เถียง, ผู้โต้แย้ง, ผู้อภิปราย. -adj. ซึ่งโต้เถียง, ซึ่งโต้แย้ง |
disputation | n. การโต้เถียง, การอภิปราย, การทะเลาะ, Syn. dispute |
drizzle | (ดริซ'เซิล) { drizzled, drizzling, drizzles } vt., vi., n. ฝนตกประปราย, ฝนตกพรำ, See also: drizzly adv. |
fire fight | n. การรบอย่างประปราย |
flak | (แฟลคฺ) n. การยิงปืนต่อสู้อากาศยาน, การวิจารณ์ที่รบกวน, การต่อต้านที่รบกวน, การโต้เถียงอย่างเผ็ดร้อน, การอภิปรายอย่างเผ็ดร้อน., Syn. flack |
floor | (ฟลอร์) n. พื้น, พื้นห้อง, กัน (ทะเล, ถ้ำ, น้ำ) , ชั้นอาคาร, ชั้นต่ำสุด, ชั้นพื้นฐาน vt. ปูพื้น, ทำให้ล้มลง, ทำให้สับสน, ทำให้งง. -Phr. (take the floor อภิปราย), Syn. level, stage |
flurry | (เฟลอ'รี) n. หิมะที่ตกปรอย ๆ , ฝนตกลงมาอย่างประปราย, ความตื่นเต้นหรืองงงวยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน, ความเกรียวกราว, ความหวั่นไหวของตลาดหุ้น, ลมที่พัดมาอย่างกะทันหัน. vt. ทำให้ยุ่งใจ, ทำให้ตื่นเต้น, Syn. fluster |
forum | (ฟอ'รัม) n. สภา, ที่ประชุมสำหรับการอภิปราย, ศาล, ศาลกลางเมือง, วิธีการอภิปรายปัญหา, -Phr. (the Forum ตลาดหรือสนามกว้างของเมืองโบราณสมัยโบราณ), Syn. assembly, meeing -pl. forums, fora |
genie | (จีนี) ย่อมาจาก General Electric Network for Information Exchange เป็นบริการตามสายซึ่งจัดไว้สำหรับการคัดลอกโปรแกรม การเล่นเกม การอภิปรายปัญหาแบบรายการสัมนาโต๊ะกลมไว้ให้ แต่ไม่ฟรี จีนีมีขนาดหรือมีสมรรถนะต่ำกว่า Compuserve แต่ก็มีค่าบริการถูกกว่า ดู Compuserve, internet และ network ประกอบ |
moot | (มูท) adj. น่าสงสัย, ไม่จริง, เป็นสมมุติฐาน vt. ถกเถียง n. ศาลากลาง, การถกเถียง, การอภิปราย, Syn. debatable, academic |
panelist | (แพน'นะลิสท) n. สมาชิกของกลุ่มผู้อภิปราย |
panell discussion | n. การอภิปรายหมู่ต่อหน้าชุมชน ในรายการโทรทัศน์ หรือวิทย |
pellet | (เพล'ลิท) n. ก้อนกลมเล็ก ๆ , ลูกกลม, ลูกหิน, ลูกปืน, เม็ดขี้สัตว์, ลูกปราย, ยาเม็ดกลม vt. ปั้นเป็นลูกกลม, ยิงหรือปาด้วยลูกกลม., See also: pelletize vt. ทำให้เป็นลูกกลม, Syn. ball, sphere, drop |
question | (เควส'เชิน) n. คำถาม, ประโยคคำถาม, ปัญหา, การถาม, การสอบถาม, กระทู้, เรื่องที่อภิปราย -v. ถาม, สอบถาม, See also: questioner n. questionable adj. questionably adv. -Phr. beyond all question ไม่ต้องสงสัย -Phr. out of the question เป็นไปไม่ได้ |
seminar | (เซม'มะนาร์) n. กลุ่มสัมมนา, สัมมนา, การประชุมสัมมนา, วิชาประเภทสัมมนา, การประชุมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและอภิปราย |
skirmish | (สเคอ'มิช) vi., n. (การ) ต่อสู้กันประปราย, ต่อสู้กันระหว่างกลุ่มเล็ก ๆ |
sprinkle | (สพริง'เคิล) vt., vi., n. (การ) พรม, โปรย, โรย, หว่าน, (ฝน) ลงประปราย, ฉีดให้เปียก., สิ่งที่ใช้พรม (โรย, โปรย) , การหว่าน, ฝนที่ลงประปราย, จำนวนเล็กน้อย |
theme | (ธีม) n. หัวข้อการอภิปราย, หัวข้อในการสนทนา, หัวข้อหนังสือ, เรื่องของหนังสือ, ใจความ, สาระสำคัญ, แก่นสาร, หัวข้อความเรียง, แกนคำศัพท์, แนวบทเพลง., Syn. topic, subject |
tribune | (ทริบ'บิวน์) n. ผู้พิทักษ์สิทธิของประชาชน, เจ้าหน้าที่คุ้มครองประชาชน, เวทีแสดงสุนทรพจน์, เวทีอภิปราย, ยกพื้นสำหรับการแสดงสุนทรพจน์, See also: tribuneship n. |
ventilate | (เวน'ทะเลท) vt. ระบายลม, ระบายอากาศ, ทำให้มีอากาศเข้าได้, เปิดเผย, เปิดให้ตรวจสอบ, เปิดอภิปราย, แสดงออก, แสดงข้อคิดเห็น., See also: ventilable adj. ventilative adj. |
controvert | (vi, vt) แย้งกัน, โต้เถียง, คัดค้าน, อภิปราย |
debate | (n) การถกเถียง, การอภิปราย, การโต้แย้ง, การโต้วาที |
debate | (vt) ถกเถียง, โต้แย้ง, ต่อต้าน, ชิงชัย, โต้วาที, อภิปราย |
debater | (n) ผู้ถกเถียง, ผู้อภิปราย, ผู้โต้วาที |
discourse | (n) การสนทนา, การบรรยาย, การอภิปราย, การพูด, ปาฐกถา |
discourse | (vi) สนทนา, บรรยาย, อภิปราย, พูด, ปาฐกถา |
discuss | (vt) อภิปราย, สาธยาย, พิจารณา, โต้เถียง, โต้ตอบ, สนทนา |
discussion | (n) การอภิปราย, การพิจารณา, การสนทนา, การโต้เถียง, การโต้ตอบ |
disputation | (n) การโต้เถียง, การโต้แย้ง, การถกปัญหา, การอภิปราย |
dispute | (vt) โต้เถียง, แย้ง, ค้าน, ทะเลาะ, ต่อต้าน, อภิปราย |
disseminate | (vt) แจกจ่าย, โปรยปราย, เผยแพร่, แพร่กระจาย |
drizzle | (vi) ฝนปรอย, ฝนตกพรำ, ฝนตกประปราย |
intersperse | (vt) ทำให้กระจายไปทั่ว, โปรยปราย |
pellet | (n) ลูกปราย, ยาเม็ดเล็กๆ, ลูกปืน, ลูกหิน |
rain | (vi) โปรยปราย, ฝนตก |
shower | (vi) ตกปรอยๆ, โปรยปราย, อาบน้ำฝักบัว |
showery | (adj) ซึ่งโปรยปราย |
skirmish | (n) การประดาบ, การรบกันประปราย, การโต้เถียงเล็กน้อย |
skirmish | (vi) ประดาบ, รบกันประปราย, โต้เถียงเล็กน้อย |
sporadic | (adj) เป็นพักๆ, ประปราย, เป็นระยะๆ, กระจัดกระจาย |
sprinkle | (n) การพรม, จำนวนน้อย, การโปรย, การหว่าน, ฝนโปรยปราย |
tribune | (n) ผู้พิทักษ์ประชากร, เวทีอภิปราย |