การ์ตูน ๑ | น. ภาพล้อ, ภาพตลก, บางทีเขียนเป็นภาพบุคคล บางทีเขียนเป็นภาพแสดงเหตุการณ์ที่ผู้เขียนตั้งใจล้อเลียนจะให้ดูรู้สึกขบขัน, หนังสือเล่าเรื่องด้วยภาพเขียน ซึ่งแบ่งหน้ากระดาษเป็นช่อง ๆ มีคำบรรยายสั้น ๆ อ่านง่าย เนื้อเรื่องมักเป็นนิทานหรือนวนิยาย. |
คอลัมน์ | น. ข้อเขียนในหนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร ซึ่งมักเป็นเรื่องแนวเดียวกัน เช่น คอลัมน์สุขภาพ หรือมีผู้เขียนประจำ เช่น คอลัมน์มังกรห้าเล็บ. |
ซ่อนเงื่อน | ก. ปิดบังเงื่อนไว้ไม่ให้เห็น, ปิดบังข้อสำคัญไว้, ปิดบังอย่างมีเงื่อนงำ, เช่น นวนิยายฆาตกรรมเรื่องนี้ ผู้เขียนซ่อนเงื่อนไว้ตอนต้นเรื่อง. |
นักข่าว | น. ผู้รายงานข่าว, ผู้เขียนข่าว, ผู้บอกข่าว, (ใช้เฉพาะทางสื่อสารมวลชน), ผู้สื่อข่าว ก็เรียก. |
บรรณานุกรม | (บันนานุกฺรม) น. บัญชีรายชื่อหนังสือที่ใช้ประกอบการค้นคว้า, บัญชีรายชื่อหนังสือในหัวข้อเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ยุคใดยุคหนึ่ง หรือของผู้เขียนคนใดคนหนึ่ง มักจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์. |
บัตรสนเท่ห์ | น. จดหมายฟ้องหรือกล่าวโทษผู้อื่นโดยมิได้ลงชื่อหรือไม่ลงชื่อจริงของผู้เขียน. |
ผู้สื่อข่าว | น. ผู้รายงานข่าว, ผู้เขียนข่าว, ผู้บอกข่าว, (ใช้เฉพาะทางสื่อสารมวลชน), ผู้ส่งข่าว หรือ นักข่าว ก็เรียก. |
เลขกะ | (เลขะกะ) น. ผู้เขียน, เสมียน. |
วรรณึก | น. ผู้เขียน, ผู้ประพันธ์ |
author | (n) ผู้เขียน, See also: นักประพันธ์, นักเขียน, ผู้แต่ง, Syn. writer |
biographer | (n) ผู้เขียนชีวประวัติของผู้อื่น |
byline | (n) บรรทัดแรกหรือสุดท้ายในหนังสือพิมพ์/นิตยสารที่ลงชื่อผู้เขียน |
coauthor | (n) ผู้เขียนร่วม, Syn. collaborator |
columnist | (n) ผู้เขียนในหนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร, See also: คอลัมน์นิสต์ |
copywriter | (n) ผู้เขียนคำโฆษณา |
inker | (n) ลูกกลิ้งหมึกของแท่นพิมพ์, See also: ที่พิมพ์หมึก, ผู้เขียนด้วยหมึก |
lexicographer | (n) ผู้เขียนพจนานุกรม, See also: ผู้ทำพจนานุกรม, Syn. dictionary writer, dictionary maker |
playwright | (n) ผู้เขียนบท, See also: คนเขียนบทละคร, นักเขียนบทละคร, Syn. dramatist, scriptwriter |
programmer | (n) ผู้เขียนโปรแกรม, See also: ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์, โปรแกรมเมอร์, Syn. programer |
rapporteur | (n) ผู้เขียนรายงานต่อคณะกรรมการหรือการประชุม |
rewriter | (n) ผู้เขียนใหม่, See also: ผู้ประพันธ์ใหม่, Syn. editor |
scrawler | (n) ผู้เขียนหวัดๆ |
screenwriter | (n) ผู้เขียนบทภาพยนตร์, See also: คนเขียนบท, ผู้เขียนบท, Syn. author, dramatist, playwright, writer |
speechwriter | (n) ผู้เขียนคำสุนทรพจน์ |
stenographer | (n) ผู้เขียนชวเลข, See also: ผู้จดชวเลข, นักชวเลข, Syn. storthand typist, stenographist |
wording | (n) การใช้คำ (โดยผู้เขียนหรือผู้พูด), See also: การเลือกใช้คำ โดยผู้เขียนหรือผู้พูด, Syn. diction, phraseology, phrasing |
algorithm | (แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด., Syn. algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้ |
allonym | (แอล' โลนิม) n. ชื่อของอีกบุคคลหนึ่งที่ ผู้เขียนใช้เป็นนามปากกาของตน. -allonymous adj. |
anonym | (แอน' โนนิม) n. ชื่อแฝง, ชื่อปลอม, คนที่ไม่แจ้งชื่อ, ผู้เขียนที่แฝงนาม, สิ่งตีพิมพ์ที่ไม่ระบุชื่อผู้เขียน, Syn. pseudonym |
antinovel | (แอน' ทีนอฟเวิล) n. นวนิยายหรือเรื่องเริงรมย์ที่ผู้เขียนไมใช้หลักการทั่วไปที่ยืดถือกัน. -antinovelist n. |
auctorial | (ออคโท'เรียล) adj. เกี่ยวกับผู้เขียนหรือผู้ประพันธ์ audacious (ออเด'เชิส) adj. กล้ามาก, ไม่กลัว, สร้างสรรค์มาก, กล้าได้กล้าเสีย (bold, fearless) |
authoring system | ระบบการเขียนโปรแกรมหมายถึง ระบบการเขียนโปรแกรมโดยที่ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องมีความรู้ทางด้านโปรแกรมเลย ผู้เขียนเพียงแต่ใช้ภาษาง่าย ๆ ในรูปแบบเชิงโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์เท่านั้น |
biographer | (ไบออก'กระเฟอะ) n. ผู้เขียนชีวประวัติ' |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
copy protection | การป้องกันการคัดลอกหมายถึง วิธีการป้องกันไม่ให้ผู้ใดสามารถคัดลอกได้ ผู้เขียนโปรแกรมมักพยายามทำทุกวิถีทางที่จะกันไม่ให้ผู้หนึ่งผู้ใด มาคัดลอกโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลที่เขาสร้างขึ้นไว้ เช่นใช้อุปกรณ์ปิดกั้น หรือซ่อนแฟ้มข้อมูลบางแฟ้มไม่ให้มองเห็น อย่างไรก็ตาม เมื่อมีกฎหมายในเรื่องของลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์ออกมาแล้ว ผู้ที่จะคัดลอกก็จะต้องระมัดระวังในเรื่องการคัดลอกนี้มากขึ้น |
eulogist | (ยู'ละจิสทฺ) n. ผู้สรรเสริญ, ผู้เขียนคำสรรเสริญ |
farceur | (ฟาร์เซอร์') n. ผู้เขียนละครตลก, ผู้เขียนเรื่องตลก, ตัวตลก |
fifo | (ฟีโฟ, ไฟโฟ) ย่อมาจาก first in, first out แปลว่า "เข้าก่อนออกก่อน" ผู้เขียนโปรแกรมนำศัพท์คำนี้มาใช้ในเรื่องของ การส่งข้อมูล เข้าไปเก็บ บางทีเราต้องการให้เก็บแบบที่เข้าไปก่อน ก็ให้เรียกออกมาได้ก่อน บางที เราอาจต้องการให้เป็นแบบ "เข้าทีหลัง ออกก่อน" เพราะข้อมูลที่เข้าไปก่อนอยู่ลึกเข้าไป กว่าจะเรียกออกมาได้ ต้องรอจนข้อมูลที่เข้าไปทีหลังออกมา จนหมดเสียก่อน แบบหลังนี้เรียกว่า last in, first out ดู LIFO ประกอบ |
first in, first out | เข้าก่อนออกก่อนใช้ตัวย่อว่า FIFO อ่านว่า ฟีโฟ หรือไฟโฟ ผู้เขียนโปรแกรมนำศัพท์คำนี้มาใช้ในเรื่องของ การส่งข้อมูล เข้าไปเก็บ บางทีเราต้องการให้เก็บแบบที่เข้าไปก่อน ก็ให้เรียกออกมาได้ก่อน บางที เราอาจต้องการให้เป็นแบบ "เข้าทีหลัง ออกก่อน" เพราะข้อมูลที่เข้าไปก่อนอยู่ลึกเข้าไป กว่าจะเรียกออกมาได้ ต้องรอจนข้อมูลที่เข้าไปทีหลังออกมา จนหมดเสียก่อน แบบหลังนี้เรียกว่า last in, first out ดู last in, first out ประกอบ |
flowchart | ผังงานหมายถึง ผังที่ประกอบด้วยเส้นและสัญลักษณ์รูปต่าง ๆ ซึ่งนักเขียนโปรแกรมใช้ เพื่อให้มองเห็นขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม ก่อนจะลงมือเขียน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ผังงานกว้าง ๆ (general flowchart) และผังงานละเอียด (detailed flowchart) ผังงานจะช่วยทำให้เข้าใจการทำงาน ทำให้การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์จะทำงานเป็นขั้นเป็นตอน ซึ่งผู้เขียนโปรแกรมจะต้องเป็นผู้กำหนดให้ ผังงานจะช่วยให้ผู้เขียนโปรแกรมมองเห็นขั้นตอนต่าง ๆ จากสัญลักษณ์ที่กำหนดไว้ง่ายเข้า และไม่เกิดความสับสน โดยเฉพาะปัญหาที่ซับซ้อนมาก ๆ ดู general flowchart และ detailed flowchart ประกอบ |
high level language | ภาษาระดับสูงหมายถึง ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมที่ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องรู้ถึงโครงสร้างภายในของเครื่องแต่อย่างใด ภาษาระดับสูงมีอยู่ด้วยกันหลายภาษา เช่น ภาษาซี (C) ภาษาเบสิก (BASIC) และภาษาปาสกาล (PASCAL) เป็นต้น ตรงข้ามกับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ซึ่งเรียกกันว่าเป็นภาษาระดับต่ำ ผู้เขียนจะต้องรู้มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมเป็นภาษานั้นได้ อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์จะยังไม่สามารถเข้าใจภาษาระดับสูงนี้ได้ แต่จะต้องใช้ตัวแปล (compiler) จัดการแปลเสียก่อน จึงจะปฏิบัติตามคำสั่งได้ดู computer language ประกอบ |
journalist | (เจอร์'นะลิสทฺ) n. นักหนังสือพิมพ์, ผู้เขียนบันทึก, ผู้เขียนอนุทิน, Syn. newswoman |
jurist | (จัว'ริสทฺ) n. นักกฎหมาย, ทนายความผู้พิพากษา, ผู้เชี่ยวชาญกฎหมาย, ผู้เขียนเรื่องราวเกี่ยวกับกฎหมาย -S.jurisprudent |
lexicographer | (เลคซะคอก'ระเฟอะ) n. ผู้เขียนหรือรวบรวมพจนานุกรม |
linus | (ลีนุส) ลีนุส ทรอวัลด์ ชาวฟินแลนด์ เป็นผู้เขียนแก่นของระบบปฏิบัติการลินุกซ์ และดูแลระบบปฏิบัติการลินุกซ์อยู่ในปัจจุบัน |
linus torvald | (ลีนุส ทรอวัลด์) ลีนุส ทรอวัลด์ ชาวฟินแลนด์ เป็นผู้เขียนแก่นของระบบปฏิบัติการลินุกซ์ และดูแลระบบปฏิบัติการลินุกซ์อยู่ในปัจจุบัน |
low level language | ภาษาระดับต่ำเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง (machine language) ฉะนั้น คอมพิวเตอร์จะแปลได้ง่ายกว่าภาษาระดับสูงอย่างภาษา FORTRAN, COBOL หรือ C แต่ผู้เขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับนี้ จะพบว่าเขียนยากกว่าใช้ภาษาระดับสูง ซึ่งมีลักษณะเหมือนภาษามนุษย์มากกว่า ตัวอย่างของภาษานี้มี ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) อยู่เพียงภาษาเดียว ดู high level language เปรียบเทียบ |
lyricist | (เลอ'ริซิสทฺ) n. ผู้เขียน.เนื้อร้องของเพลง, นักกวีผู้บรรยายความรู้สึกที่เป็น, ลักษณะเพลงที่ร้องกับพิณ |
object-oriented programmi | การทำโปรแกรมเชิงวัตถุหมายถึง วิธีการเขียนโปรแกรมของนักเขียนโปรแกรมรุ่นใหม่ ที่จัดแบ่งการเขียนคำสั่งกันออกเป็นชุด ๆ แต่ละชุดเรียกว่า "วัตถุ" (object) แล้วจึงนำเอาชุดคำสั่งแต่ละชุดนั้นมารวมกันเป็นโปรแกรมชุดใหญ่อีกทีหนึ่ง ในบางครั้งยังอาจนำ "วัตถุ" ของโปรแกรม หนึ่งไปรวมกับ "วัตถุ" ของอีกโปรแกรมหนึ่ง แล้วเรียกออกมาใช้ได้เลย ทั้งนี้ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมใหม่ไม่จำเป็นต้องเริ่มต้นใหม่ทั้งหมด วิธีการดังกล่าวนี้ช่วยประหยัดเวลาได้มาก พูดให้ง่ายก็คือ ทุกโปรแกรมไม่ต้องเริ่มต้นจากศูนย์ อนึ่ง คำว่า "วัตถุ" นั้น หมายรวมไปถึงภาพหรือกราฟิกด้วย ภาพหนึ่งภาพ เช่น การสร้างวงกลมนั้น เกิดจากการเขียนโปรแกรมโดยใช้สูตรคำนวณเส้นโค้ง ซึ่งจะประกอบด้วยคำสั่งหลายร้อยคำสั่ง แล้วเก็บไว้เป็น "วัตถุ" หนึ่ง ฉะนั้น เมื่อใดที่เราสั่งวาดวงกลม ก็เท่ากับไปเรียก "วัตถุ" นี้มาใช้ หลังจากนั้น หากเราจะต่อเติมเป็นภาพอื่นต่อไป คอมพิวเตอร์ก็จะไปดึงอีก "วัตถุ" หนึ่งมาทำต่อให้ |
oop | (โอโอพี, อุป) ย่อมาจาก object-oriented programming หมายถึง วิธีการเขียนโปรแกรมของนักเขียนโปรแกรมรุ่นใหม่ ที่จัดแบ่งการเขียนคำสั่งกันออกเป็นชุด ๆ แต่ละชุดเรียกว่า "วัตถุ" (object) แล้วจึงนำเอาชุดคำสั่งแต่ละชุดนั้นมารวมกันเป็นโปรแกรมชุดใหญ่อีกทีหนึ่ง ในบางครั้งยังอาจนำ "วัตถุ" ของโปรแกรม หนึ่งไปรวมกับ "วัตถุ" ของอีกโปรแกรมหนึ่ง แล้วเรียกออกมาใช้ได้เลย ทั้งนี้ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมใหม่ไม่จำเป็นต้องเริ่มต้นใหม่ทั้งหมด วิธีการดังกล่าวนี้ช่วยประหยัดเวลาได้มาก พูดให้ง่ายก็คือ ทุกโปรแกรมไม่ต้องเริ่มต้นจากศูนย์ อนึ่ง คำว่า "วัตถุ" นั้น หมายรวมไปถึงภาพหรือกราฟิกด้วย ภาพหนึ่งภาพ เช่น การสร้างวงกลมนั้น เกิดจากการเขียนโปรแกรมโดยใช้สูตรคำนวณเส้นโค้ง ซึ่งจะประกอบด้วยคำสั่งหลายร้อยคำสั่ง แล้วเก็บไว้เป็น "วัตถุ" หนึ่ง ฉะนั้น เมื่อใดที่เราสั่งวาดวงกลม ก็เท่ากับไปเรียก "วัตถุ" นี้มาใช้ หลังจากนั้น หากเราจะต่อเติมเป็นภาพอื่นต่อไป คอมพิวเตอร์ก็จะไปดึงอีก "วัตถุ" หนึ่งมาทำต่อให้ |
packaged program | โปรแกรมสำเร็จในทางคอมพิวเตอร์ใช้หมายถึง application package ซึ่งก็คือ โปรแกรมสำเร็จที่มีผู้เขียนไว้จำหน่าย มีการจดลิขสิทธิ์ (ห้ามการคัดลอก) ปัจจุบันได้รับความนิยมมาก ราคาถูกกว่าการจ้างเขียน การใช้ก็ไม่ยาก ผู้ที่ซื้อไปใช้เพียงแต่อ่านคู่มือเอาเอง หรือเรียนรู้วิธีใช้คำสั่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ผู้ผลิตจะแข่งขันกันในการทำให้โปรแกรมเหล่านี้ใช้ง่าย มีทั้งโปรแกรมระบบ เช่น MS DOS และ Windows โปรแกรมตารางจัดการเช่น Excel, Lotus โปรแกรมประมวลผลคำ เช่น Word Perfect, MS Word, CU Writer ฯลฯ |
penman | (เพน'เมิน) n. ผู้คัดสำเนา, ผู้เขียน, นักเขียน, นักประพันธ์, ผู้ปลอมแปลง, Syn. writer |
port | (พอร์ท) n. ท่าเรือ, เมืองท่า, ท่า, ท่าอากาศยาน, ท่าด่าน , ช่องทางเข้า/ออกช่องทาง1. หมายถึง ช่องสำหรับเสียบสายเคเบิลที่อยู่ด้านหลังเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อต่อกับอุปกรณ์อื่น ๆ ถ้าไม่เป็นแบบอนุกรม (serial) ก็จะเป็นแบบขนาน (pararell) 2. การที่ทำให้โปรแกรมที่ใช้ระบบปฏิบัติการหนึ่ง ไปใช้กับอีกระบบปฏิบัติการหนึ่ง ได้ ทั้ง ๆ ที่ในตอนแรก ผู้เขียนโปรแกรมไม่ได้ตั้งใจให้ใช้กับระบบปฏิบัติการนั้น, Syn. harbour |
programming | การเขียนโปรแกรมการสร้างโปรแกรมหมายถึง การเขียนหรือสร้างคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ตามที่ต้องการ ด้วยภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ (สามารถแปลได้) ในการเขียนโปรแกรมนี้ ผู้เขียนจะต้องเข้าใจถึงขั้นตอนการแก้ปัญหา วิธีการแก้ รวมทั้ง ศัพท์และไวยากรณ์ ตลอดจนกฎเกณฑ์ของภาษาที่เลือกใช้ ดู programming language ประกอบ |
screenwriter | (สครีน'ไรเทอะ) n. ผู้เขียนบทภาพยนตร์ |
scribbler | (สคริบ'เบลอะ) n. ผู้เขียนหวัด, ผู้เขียนอย่างลวก ๆ , ผู้ประพันธ์ผลงานชั้นเลว |
software package | ส่วนชุดคำสั่งสำเร็จซอฟต์แวร์สำเร็จในทางคอมพิวเตอร์ บางทีใช้สั้น ๆ ว่าpackage ซึ่งก็คือ โปรแกรมสำเร็จที่มีผู้เขียนไว้จำหน่าย มีการจดลิขสิทธิ์ (ห้ามการคัดลอก) ปัจจุบันได้รับความนิยมมาก ราคาถูกกว่าการจ้างเขียน การใช้ก็ไม่ยาก ผู้ที่ซื้อไปใช้เพียงแต่อ่านคู่มือเอาเอง หรือเรียนรู้วิธีใช้คำสั่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ผู้ผลิตจะแข่งขันกันในการทำให้โปรแกรมเหล่านี้ใช้ง่าย มีทั้งโปรแกรมระบบ เช่น MS DOS และ Windows โปรแกรมตารางจัดการเช่น Excel, Lotus โปรแกรมประมวลผลคำ เช่น Word Perfect, MS Word, CU Writer ฯลฯมีความหมายเหมือน packaged program |
stenographer | (สเทนนอก'ระเฟอ) n.ผู้เขียนชวเลข, ผู้จดชวเลข, See also: stenographist n. |
tracer | (เทร'เซอะ) n. ผู้ตามรอย, ผู้สืบเสาะ, สิ่งที่ตามรอย, ผู้เขียนแผนผัง, ผู้วาด |
writer | (ไร'เทอะ) n. ผู้เขียน, นักเขียน, นักประพันธ์, ผู้สามารถเขียนได้, Syn. litterateur |