พณ | (n) Ministry of Commerce, Syn. กระทรวงพาณิชย์ |
พณ.บ. | (n) Bachelor of Commerce, Syn. พาณิชยศาสตรบัณฑิต |
พณิช | (n) merchant, See also: trader, tradesman, dealer, businessman, Syn. ผู้ค้าขาย, พ่อค้า, คนค้าขาย, คนขาย, Ant. ผู้ซื้อ, ลูกค้า, Example: คณะพณิชจากต่างประเทศได้นำสินค้าแปลกๆ ใหม่ๆ มาเสนอขาย ซึ่งได้รับความสนใจเป็นอันมาก, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ทำการค้า, Notes: (บาลี), (สันสกฤต) |
ราพณ์ | (n) giant, Syn. ยักษ์ |
พณิชย์ | (n) trade, See also: commerce, business, Syn. การค้าขาย, การค้า, การแลกเปลี่ยน, การซื้อขาย, Example: คนจีนที่มีกิจการของตนเองส่วนมากชอบให้ลูกหลานเรียนรู้ด้านพณิชย์เพื่อให้สืบทอดกิจการ, Thai Definition: การค้าขาย, Notes: (บาลี), (สันสกฤต) |
ประเพณี | (n) tradition, See also: custom, convention, code of conduct, common practice, Syn. ระเบียบแบบแผน, ขนบธรรมเนียม, จารีต, ประเพณีนิยม, จารีตประเพณี, Example: การตักบาตรทำบุญเป็นประเพณีที่ดีงามของสังคมไทย, Count Unit: อย่าง, แบบ, Thai Definition: สิ่งที่นิยมถือประพฤติปฏิบัติสืบๆ กันมาจนเป็นแบบแผน ขนบธรรมเนียม หรือจารีตประเพณี |
ขนบประเพณี | (n) tradition, See also: custom, convention, practice, pattern, mores, wont, Syn. ประเพณี, จารีต, จารีตประเพณี, Example: การนับถือผีจะเห็นมีปฏิบัติเชื่อถือกันอยู่ในกลุ่มชนที่ยังมีขนบประเพณีที่รักษาลักษณะของเผ่าพันธุ์ดั้งเดิมของตนเองอยู่, Thai Definition: จารีตประเพณีที่วางเป็นระเบียบแบบแผนไว้แล้ว |
ราชประเพณี | (n) royal tradition, See also: royal custom, Example: พันท้ายนรสิงห์ทูลขอให้กษัตริย์ลงโทษประหารชีวิตตามกฏมณเฑียรบาล เพื่อรักษาระเบียบแบบแผนราชประเพณี, Thai Definition: ประเพณีที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริย์และราชวงศ์ |
ประเพณีนิยม | (n) tradition, See also: custom, Syn. ขนมธรรมเนียม, วัฒนธรรม, จารีต, พิธีกรรม, ธรรมเนียมปฏิบัติ, ธรรมเนียม, Example: การแห่ขันหมากเป็นประเพณีนิยมที่มีมานาน, Thai Definition: ประเพณีของสังคมที่ถือปฏิบัติสืบทอดกันมา |
จารีตประเพณี | (n) custom, See also: tradition, Syn. จารีต, ประเพณี, Example: สาวๆ สมัยใหม่ชอบทำตัวผิดจารีตประเพณี, Count Unit: แบบ, Thai Definition: ประเพณีที่นิยมและประพฤติกันสืบมา ถ้าฝ่าฝืนถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว |
ประเพณีพื้นบ้าน | (n) folk custom, See also: tradition, local custom, Example: แนวความคิดที่จะอนุรักษ์ส่งเสริมและพัฒนากลองหลวงของท่านเกิดขึ้นเพราะความรักในศิลปะประเพณีพื้นบ้าน, Thai Definition: ขนบธรรมเนียมประเพณีที่มีลักษณะเฉพาะถิ่น |
ผิดจารีตประเพณี | (v) go against a tradition, See also: violate custom, Syn. ผิดธรรมเนียม, Example: หล่อนผิดจารีตประเพณีของหมู่บ้าน จึงถูกขับไล่ออกไปอย่างไม่มีใครไยดี, Thai Definition: ไม่ปฏิบัติตามสิ่งที่นิยมถือประพฤติปฏิบัติสืบๆ กันมา |
ธรรมเนียมประเพณี | (n) custom, See also: tradition, convention, Syn. ประเพณี, ขนมธรรมเนียม, ธรรมเนียม, Example: การไหว้เป็นธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทย, Count Unit: แบบ, อย่าง, Notes: (บาลี, สันสกฤต) |
ขนบประเพณี | น. จารีตประเพณีที่วางเป็นระเบียบแบบแผนไว้แล้ว. |
จารีตประเพณี | น. ประเพณีที่นิยมและประพฤติกันสืบมา ถ้าฝ่าฝืนถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว. |
ธรรมเนียมประเพณี | น. ประเพณีเกี่ยวกับเรื่องธรรมดาสามัญ ถ้าฝ่าฝืนก็ไม่ถือว่าผิดหรือชั่ว. |
นายประเพณี | น. หัวหน้ารักษาประโยชน์ของวัดและบำรุงวัดได้บังคับว่ากล่าวทั่วไป (ทำนองมรรคนายก). |
ประเพณี | น. สิ่งที่นิยมถือประพฤติปฏิบัติสืบ ๆ กันมาจนเป็นแบบแผน ขนบธรรมเนียม หรือจารีตประเพณี. |
ประเพณีนิยม | น. ประเพณีของสังคมที่ถือปฏิบัติสืบทอดกันมา. |
ฯพณฯ | (พะนะท่าน) น. คำนำหน้าชื่อหรือตำแหน่งข้าราชการผู้ใหญ่ชั้นรัฐมนตรี เอกอัครราชทูต เป็นต้น. |
พณิช | (พะนิด) น. ผู้ค้าขาย, พ่อค้า. |
พณิชย์ | (พะนิด) น. การค้าขาย. |
เพณี | น. เวณิ, ผมซึ่งเกล้าไว้, สายที่ถัก เช่น อันว่าสร้อยสังวาลเพณี (ม. คำหลวง ทศพร). |
ราพณ์ | (ราบ) น. ชื่อเรียกทศกัณฐ์ |
ราพณ์ | ยักษ์. |
ราพณาสูร ๑ | (ราบพะนาสูน) น. ยักษ์. |
ราพณาสูร ๒ | (ราบพะนาสูน) ว. สูญเรียบ, สูญเสียจนหมดเกลี้ยง. |
ล้างอาถรรพ์, ล้างอาถรรพณ์ | ก. ทำพิธีอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อแก้คุณไสยที่ถูกกระทำหรือแก้อำนาจลึกลับที่เชื่อกันว่าอาจบันดาลให้มีอันเป็นไป. |
วิธีประเพณี | น. มาตราชั่ง ตวง วัด หรือมาตราเงินที่ถือกันมาแต่โบราณ เช่น มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๒๐ ตำลึง เป็น ๑ ชั่ง. |
แหวกประเพณี | ก. ทำผิดประเพณีที่เคยกระทำกันมา. |
อาถรรพ์, อาถรรพณ์, อาถรรพณะ | (-ถัน, -ถัน, -ถับพะนะ) น. สิ่งสืบเนื่องจากคัมภีร์อถรรพเวท, การทำพิธีตามตำราไสยศาสตร์เพื่อให้เกิดสิริมงคลป้องกันภยันตราย หรือทำอันตรายผู้อื่น เช่น ทำพิธีฝังเสาหินหรือฝังบัตรพลี ซึ่งเรียกว่า ฝังอาถรรพ์ |
อาถรรพ์, อาถรรพณ์, อาถรรพณะ | อำนาจลึกลับที่เชื่อกันว่าอาจบันดาลให้มีอันเป็นไป เช่น ต้องอาถรรพ์ เสานี้มีอาถรรพ์. |
ก๊ง | น. หน่วยตวงเหล้าโรงเป็นต้นตามวิธีประเพณี ๑ ก๊ง เท่ากับ ๕๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร. |
กฎหมาย | น. กฎเกณฑ์ที่ผู้มีอำนาจตราขึ้นเพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตามเป็นการทั่วไป ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามย่อมได้รับผลร้าย กฎหมายอาจตราขึ้นเพื่อกำหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกับรัฐ หรือเพื่อใช้ในการบริหารประเทศ กฎหมายอาจเกิดจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือกันก็ได้. |
กฎหมายเหตุ | กฎเกณฑ์การปฏิบัติที่ตราขึ้นหรือเนื่องจากประเพณีซึ่งมีค่าบังคับ. |
กระทง ๑ | น. ภาชนะเย็บด้วยใบตองหรือใบไม้เป็นต้น ยกขอบสูงสำหรับใส่ของ, ถ้าเสริมขอบปากเป็นรูปกรวยเล็ก ๆ โดยรอบ เรียกว่า กระทงเจิม, ภาชนะที่ทำขึ้นสำหรับลอยนํ้าในประเพณีลอยกระทง |
กระเบียด | น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ กระเบียด เท่ากับ ๑ ใน ๔ ส่วนของนิ้ว. |
กรีส ๒ | (กะหฺรีด) น. มาตราวัดความยาว เท่ากับ ๑ เส้น ๑๑ วา ๑ ศอก หรือ ๑๒๕ ศอก, ความจุเท่ากับ ๔ อัมพณะ คือ ประมาณ ๔๔ ทะนาน. |
กฤตยา ๒, กฤติยา | (กฺริดตะ-, กฺริดติ-) น. เสน่ห์, อาถรรพณ์, เช่น มนตร์กฤตยานั้นซั้น เสื่อมสิ้นทุกอัน (โลกนิติ), หาแม่มดถ้วนหน้า หมู่แก้ กฤติยา (ลอ). |
กลเม็ด ๒ | (กนละ-) น. ชื่อเทียนชนิดหนึ่ง ซึ่งตามประเพณีเดิมจุดตั้งแต่วันเกิดมาและเลี้ยงไฟต่อกันไว้จนถึงวันตาย เมื่อถึงวันเผาก็ใช้ไฟนั้นเผา เรียกว่า เทียนกลเม็ด, เทียนจุดคู่ชีพเวลาจะสิ้นใจ. |
กล่าว | แต่งงาน เช่น ฝรั่งกล่าวแหม่ม. (ประเพณีของชาวคริสเตียน), คำนี้ใช้เป็นปรกติในภาษาเขียน แต่ใช้เป็นภาษาพูดก็มีในบางลักษณะ เช่น กล่าวสุนทรพจน์. |
กะระนะ | ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงเรื่องเพลงช้า ประกอบด้วยเพลงกะระนะ เพลงอาถรรพณ์ เพลงแขกเห่. |
กะรัตหลวง | น. มาตรานํ้าหนักตามวิธีประเพณี ใช้สำหรับชั่งเพชรพลอยเท่านั้น เป็นเมตริกกะรัต เท่ากับ ๒๐ เซนติกรัม, อักษรย่อว่า กต. |
กันทะ | น. กระทะ เช่น จึ่งตั้งโลหะกันทะโดยตบะบนเส้าโขมดผี ให้ประโคมแล้วโหมอัคคี มาลีธูปเทียนบูชา (รามเกียรติ์ ร. ๒ ตอนศึกไมยราพณ์). |
กำมือ | มาตราตวงตามวิธีประเพณีของไทยโบราณ ๔ หยิบมือ = ๑ กำมือ ๔ กำมือ = ๑ ฟายมือ และอีกแบบหนึ่ง ๔ ใจมือ = ๑ กำมือ ๘ กำมือ = ๑ จังออน. |
ขว้างข้าวเม่า | น. ประเพณีอย่างหนึ่ง เอามะพร้าวทั้งผลโยนไปยังที่เขากำลังทำข้าวเม่ากันอยู่ เพื่อแสดงว่าเอามะพร้าวมาขอแลกข้าวเม่าไปกินบ้าง. |
ขายทอดตลาด | น. การขายทรัพย์สินที่กระทำโดยเปิดเผยแก่บุคคลทั่วไปด้วยวิธีเปิดโอกาสให้ผู้ซื้อสู้ราคากัน ผู้ใดให้ราคาสูงสุดและผู้ทอดตลาดแสดงความตกลงด้วยเคาะไม้หรือด้วยกิริยาอย่างอื่นตามจารีตประเพณีในการขายทอดตลาด การซื้อขายนั้นย่อมเป็นอันสมบูรณ์. |
คติชาวบ้าน | น. เรื่องราวของชาวบ้านที่เป็นของเก่าเล่าต่อปากและประพฤติสืบ ๆ กันมาหลายชั่วอายุคนในรูปคติความเชื่อ ประเพณี นิทาน เพลง ภาษิต ปริศนาคำทาย ศิลปะ สถาปัตยกรรม การละเล่นของเด็ก เป็นต้น, วิชาที่ว่าด้วยเรื่องเหล่านั้น. |
คเนจร | (คะเนจอน) น. เรียกตัวหนังใหญ่หรือภาพเขียนจิตรกรรมแบบไทยประเพณีเป็นรูปมนุษย์ รูปยักษ์ ที่อยู่ในท่าเดิน. |
คืบ ๑ | มาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ คืบ เท่ากับ ๑๒ นิ้ว, อักษรย่อว่า ค. |
คุณ ๒ | น. อาถรรพณ์ คือ พิธีทำร้ายต่ออมิตร โดยเสกสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้าในตัวหรือฝังรูปฝังรอย เรียกกันว่า กระทำคุณ, ผู้ถูกกระทำ เรียกว่า ถูกคุณ, คุณไสย ก็ว่า. |
คุณไสย | น. อาถรรพณ์ คือ พิธีทำร้ายต่ออมิตร โดยเสกสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้าในตัวหรือฝังรูปฝังรอย เรียกกันว่า กระทำคุณไสย, ผู้ถูกกระทำ เรียกว่า ถูกคุณไสย, คุณ ก็ว่า |
งาน ๒ | น. มาตราวัดเนื้อที่ตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๑๐๐ ตารางวา หรือ ๔๐๐ ตารางเมตร, ลักษณนามเรียกเนื้อที่ ๑๐๐ ตารางวา หรือ ๔๐๐ ตารางเมตรว่า งานหนึ่ง หรือ ๑ งาน, อักษรย่อว่า ง. |
เงินปากผี | น. เงินที่ใส่ไว้ในปากคนตายตามประเพณี. |
จังออน | น. มาตราตวงตามวิธีประเพณีของไทยโบราณ ๘ กำมือ = ๑ จังออน และ ๒ จังออน = ๑ แล่ง. |
จารีต | (-รีด) น. ประเพณีที่ถือสืบต่อกันมานาน. |
ใจมือ | น. มาตราตวงตามวิธีประเพณีของไทยโบราณ ๑๕๐ เมล็ดข้าว = ๑ ใจมือ ๔ ใจมือ = ๑ กำมือ และ ๘ กำมือ = ๑ จังออน |
ชักพระ | น. ชื่อประเพณีอย่างหนึ่งทางภาคใต้ ถือว่าเป็นประเพณีสำคัญ นิยมมีในวันแรม ๑ คํ่า เดือน ๑๑ ซึ่งถือว่าเป็นวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์กลับจากโปรดพระพุทธมารดา คล้ายวันตักบาตรเทโวของภาคกลาง, การชักพระมี ๒ อย่าง คือ ชักพระทางบกกับทางน้ำ, ถ้าชักพระทางบก ก็อัญเชิญพระพุทธรูปประดิษฐานไว้บนบุษบกซึ่งตั้งอยู่บนยานพาหนะแล้วช่วยกันชักลากไป, ถ้าชักพระทางน้ำ ก็อัญเชิญพระพุทธรูปประดิษฐานบนบุษบกในเรือ แล้วใช้เชือกผูกเรือพระช่วยกันลากไปยังสถานที่ที่กำหนด แล้วจึงถวายภัตตาหารแก่พระสงฆ์ มักจะมีการโยนข้าวต้มรูปสามเหลี่ยมห่อด้วยใบกะพ้อเป็นต้นใส่กัน บางทีก็มีแข่งเรือและอื่น ๆ ด้วย. |
ชั่ง | น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๒๐ ตำลึงหรือ ๘๐ บาท เป็น ๑ ชั่ง |
ชั่ง | ชื่อมาตราวัดน้ำหนักตามวิธีประเพณีแบบไทย ๒๐ ตำลึง เป็น ๑ ชั่ง หรือมีน้ำหนักเท่ากับ ๑, ๒๐๐ กรัม, ถ้าเป็นชั่งจีนมีนํ้าหนักเท่ากับ ๖๐๐ กรัม คือเป็นครึ่งหนึ่งของชั่งไทย. |
ชั่ว ๒ | ว. เลว, ทราม, ร้าย, ไม่ดีเพราะจงใจฝ่าฝืนศีลธรรมหรือจารีตประเพณีเป็นต้น เช่น คนชั่ว. |
ชาติ ๒, ชาติ- ๒ | กลุ่มชนที่มีความรู้สึกในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ประวัติศาสตร์ ความเป็นมา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอย่างเดียวกัน หรืออยู่ในปกครองรัฐบาลเดียวกัน. |
ดำหัว | น. ประเพณีทางภาคเหนือซึ่งกระทำในวันสงกรานต์เพื่อเป็นการแสดงความเคารพนับถือ วิธีดำหัว คือ เอานํ้าสะอาด พร้อมดอกคำฝอย ฝักส้มป่อย และผงขมิ้น ใส่ขัน ไปเคารพและขอขมาผู้ใหญ่ โดยให้ท่านจุ่มน้ำลูบศีรษะตนเองเพื่อให้ท่านอยู่เย็นเป็นสุขและขอรับพรจากท่าน. |
กฎหมาย | กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น หรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ เพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตาม, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ กฏหมาย [คำที่มักเขียนผิด] |
นอกคอก | ประพฤติไม่ตรงตามแบบตามธรรมเนียมประเพณีของบรรพบุรุษ, Example: คำที่มักเขียนผิด นอกครอก [คำที่มักเขียนผิด] |
Bathing customs | ประเพณีการอาบน้ำ [TU Subject Heading] |
Birth customs | ประเพณีการเกิด [TU Subject Heading] |
Constitution conventions | จารีตและประเพณีทางรัฐธรรมนูญ [TU Subject Heading] |
Customary law | กฎหมายจารีตประเพณี [TU Subject Heading] |
Customary law, International | กฎหมายจารีตประเพณีระหว่างประเทศ [TU Subject Heading] |
Customs and practices | ประเพณีและธรรมเนียมปฏิบัติ [TU Subject Heading] |
Funeral customs and rites ; Mortauary | ประเพณีและพิธีกรรมเกี่ยวกับศพ [TU Subject Heading] |
Manners and customs | ความเป็นอยู่และประเพณี [TU Subject Heading] |
Marriage customs and rites | ประเพณีการแต่งงาน [TU Subject Heading] |
Religious life and customs | ชีวิตทางธรรมและประเพณี [TU Subject Heading] |
Commonwealth of Nations | การรวมตัวของชาติต่าง ๆ เข้าเป็นสมาคมทางการเมือง ประกอบด้วยประเทศสหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย แคนาดา ลังกา ไซปรัส แกมเบีย กาน่า อินเดีย จาไมก้า คีเนีย มาเลเซีย มาลาวี มอลต้า นิวซีเแลนด์ ไนจีเรีย ปากีสถาน ซิเอร่าเลโอน แทนเซียเนีย ทรินิแดด-โทเบโก ยูแกนดา และแซมเบียตามทรรศนะของ Oppenheim ศาสตราจารย์นักกฎหมายระหว่างประเทศในระดับโลก สมาคมทางการเมืองแห่งนี้ก็คือกลุ่มของรัฐที่รวมกันโดยไม่มีพื้นฐานการรวมตัว ทางกฎหมายที่เคร่งครัดแต่อย่างใด หากแต่มีความผูกพันร่วมกันในด้านประวัติศาสตร์ จารีตประเพณี กฎหมาย และมีผลประโยชน์ร่วมกันอย่างแน่นแฟ้นมากกว่า [การทูต] |
Conference Diplomacy | กระบวนการเจรจาระหว่างรัฐบาลต่อรัฐบาลในรูปของการ ประชุม แทนที่จะกระทำโดยวิถีทางการทูตตามปกติ คือ โดยทางเอกอัครราชทูต หรือผู้แทนทางการทูตถาวร การประชุมแบบหนึ่งซึ่งเรียกว่า การประชุมโต๊ะกลม เพื่อทำหน้าที่ระงับปัญหาระหว่างประเทศนั้น เริ่มนิยมกระทำกันหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 การประชุมระหว่างประเทศนี้จะประกอบด้วยคณะผู้แทน ซึ่งมีหัวหน้าคณะที่ได้รับมอบอำนาจเต็ม และรัฐบาลของประเทศที่ร่วมประชุมเป็นผู้ส่งไป ในเรื่องนี้มีความเห็นแตกต่างกันอยู่บ้าง บ้างเห็นว่า ควรเป็นการประชุมทางการทูตตามประเพณีที่กระทำกันโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญโดยอาชีพ ซึ่งเป็นไปตามวิถีทางการทูตตามปกติมากกว่า [การทูต] |
Cultural Diplomacy | การทูตวัฒนธรรม หมายถึง กิจกรรมด้านวัฒนธรรมในกรอบกว้าง ทั้งภาษา ความคิด อุดมการณ์ ทัศนคติ ประเพณี วิทยาการความรู้ การกีฬาและวิถีชีวิต (ไม่เพียงแต่การส่งคณะนาฏศิลป์ไปแสดงในต่างประเทศเท่านั้น) ทั้งนี้ เพื่อ ใช้สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องมือสร้างความรู้สึกที่ดีต่อกัน โดยใช้แนวทางปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในลักษณะซึมลึกเพื่อให้เข้าถึงประชาชน [การทูต] |
Exercise by Diplomatic Missions of Consular functions | การปฏิบัติหน้าที่กงสุลโดยคณะผู้แทนทางการทูต ตามข้อ 70 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ได้บัญญัติไว้ว่า1. บทของอนุสัญญานี้ใช้แก่ปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลโดยคณะผู้แทนทางการทูตด้วย เท่าที่บริบทจะอำนวยให้2. ชื่อของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานในแผนกกงสุล หรือมิฉะนั้นได้รับภาระให้ปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลของคณะผู้แทนนั้น จะต้องแจ้งไปยังกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือแจ้งไปยังเจ้าหน้าที่กระทรวงนั้นที่แต่งตั้งไว้3. ในการปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุล คณะผู้แทนทางการทูตอาจติดต่อกับก. เจ้าหน้าที่ท้องที่ของเขตกงสุลนั้นข. เจ้าหน้าที่ส่วนกลางของรัฐผู้รับ ถ้าหากกระทำได้ตามกฎหมาย ข้อบังคับ และจารีตประเพณีของรัฐผู้รับ หรือตามความตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง4. เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูตที่อ้างถึงในวรรค 2 ของข้อนี้ จะยังคงอยู่ในบังคับแห่งกฎเกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ทางการทูต [การทูต] |
Presentation of Credentials | หมายถึง การยื่นสารตราตั้ง เป็นธรรมเนียมปฏิบัติทางการทูตว่า ผู้ใดได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำประเทศใดประเทศหนึ่ง ก่อนที่จะปฏิบัติงานในหน้าที่ จะต้องนำสารตราตั้ง (Credentials) ไปยื่นต่อประมุขของรัฐนั้น ๆ พิธียื่นสารตราตั้งจะกระทำไม่เหมือนกันในแต่ละประเทศ แล้วแต่จะพิจารณาเห็นความเหมาะสม และความเคร่งต่อธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติติดต่อกันมาเป็นสำคัญ เช่น อังกฤษเป็นประเทศหนึ่งที่พิธียื่นสารตราตั้งของเอกอัครราชทูตต่อองค์ประมุข ของประเทศค่อนข้างวิจิตรพิสดารมาก ส่วนบางประเทศมีพิธียื่นสารอย่างง่าย ๆ แทบจะไม่มีพิธีรีตองอย่างใดในสหรัฐอเมริกา ณ กรุงวอชิงตันดีซี พิธียื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดีของสหรัฐฯ กระทำอย่างเรียบง่าย กล่าวคือ พอถึงเวลาที่กำหนดในวันยื่นสารตราตั้ง อธิบดีกรมพิธีการทูตหรือผู้แทนของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ จะนำรถยนต์ลีมูซีนสีดำไปยังทำเนียบของเอกอัครราชทูต เพื่อรับเอกอัครราชทูตและครอบครัวไปยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ณ ตึกทำเนียบขาว ( White House)มีข้อน่าสนใจอันหนึ่งคือ ทางฝ่ายสหรัฐฯ จะสนับสนุนให้เอกอัครราชทูตพาภรรยาและบุตรทั้งชายหญิงไปร่วมในการยื่นสารตรา ตั้งนั้นด้วย การแต่งกายของเอกอัครราชทูตก็สวมชุดสากลผูกเน็คไทตามธรรมดา ระหว่างที่ยื่นสารมีการปฏิสันถารกันพอสมควรระหว่างเอกอัครราชทูตกับ ประธานาธิบดีสหรัฐฯมีช่างภาพของทางราชการถ่ายรูปไว้เป็นที่ระลึก และมอบภาพถ่ายให้แก่เอกอัครราชทูตในวันหลัง (ต่างกับพิธีของอังกฤษมาก) เอกอัครราชทูตไม่ต้องพาคณะเจ้าหน้าที่ของสถานเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย หลังจากพบกับประธานาธิบดีสหรัฐฯ แล้ว อธิบดีกรมพิธีการทูตจะนำเอกอัครราชทูตและครอบครัวกลับไปยังทำเนียบที่พักโดย รถยนต์คันเดิม เป็นอันเสร็จพิธียื่นสารตราตั้ง โดยที่ประเทศต่าง ๆ ในโลกต่างมีสถานเอกอัครราชทูตของตนตั้งอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซี ดังนั้น ในวันไหนที่มีการยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ทางการทำเนียบขาวมักจะกำหนดให้เอกอัครราชทูตใหม่จากประเทศต่าง ๆ เข้ายื่นสารในวันนั้นราว 4-5 ประเทศติดต่อกัน มิใช่วันละคนอย่างที่ปฏิบัติในบางประเทศทันทีที่เอกอัครราชทูตยื่นสารตรา ตั้งต่อประธานาธิบดีเรียบร้อยแล้ว เอกอัครราชทูตจะมีหนังสือเวียนไปยังหัวหน้าคณะทูตทุกแห่งในกรุงวอชิงตันดีซี แจ้งให้ทราบว่าในวันนั้น ๆ เขาได้ยื่นสารตราตั้งต่อประมุขของรัฐ ในฐานะเอกอัครราชทูตเรียบร้อยแล้ว พร้อมกับแสดงความหวังในหนังสือว่าความสัมพันธ์อันดีที่มีอยู่ระหว่างคณะผู้ แทนทางการทูตทั้งสอง ทั้งในทางราชการและทางส่วนตัว จะมั่นคงเป็นปึกแผ่นยิ่งขึ้นอีก จากนั้น เอกอัครราชทูตใหม่ก็จะหาเวลาไปเยี่ยมคารวะเอกอัครราชทูตของประเทศต่าง ๆ ที่ประจำอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซีทีละราย กว่าจะเยี่ยมหมดทุกคนก็กินเวลานานอยู่หลายเดือนทีเดียว [การทูต] |
The Great Wonders of Suwannabhumi | โครงการสิ่งมหัศจรรย์แห่งสุวรรณภูมิ หมายถึง โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวระหว่างกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคที่นับถือศาสนาพุทธ อันประกอบด้วย ไทย ลาว กัมพูชา และพม่า โดยร่วมกันจัดรายการนำเที่ยวในโบราณสถานที่สำคัญต่าง ๆ ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งมหัศจรรย์ของ 4 ประเทศ ได้แก่ วัดพระศรีรัตนศาสดารามในกรุงเทพฯ นครวัดในกัมพูชา โบราณสถานในพุกาม/มัณฑะเลย์ในพม่า และแขวงหลวงพระบางในลาว เพื่อที่จะดึงดูดชาวต่างชาติให้มาสนใจในดินแดนแห่งนี้ และนำมาซึ่งการพัฒนาสถานที่ดังกล่าว รวมทั้งยังจะเป็นการเชื่อมโยงการเดินทางระหว่าง 4 ประเทศอย่างสมบูรณ์ โครงการนี้เสนอโดย ฯพณฯ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศลาว กัมพูชา และพม่า เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2542 ในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ ครั้งที่ 3 ที่กรุงมะนิลา [การทูต] |
The Hague Peace Conferences | การประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์ การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย [การทูต] |
War Crimes | อาชญากรรมสงคราม ตามกฎบัตรต่อท้ายความตกลงว่าด้วยการพิจารณาลงโทษ อาชญากรสางคามที่สำคัญ ๆ ของฝ่ายอักษะยุโรป (European Axis) การกระทำต่อไปนี้ถือว่าเป็นอาชญากรรมสงครามคือ การละเมิดกฎหมายหรือประเพณีของการสงคราม เช่น การฆ่า การปฏิบัติอันโหดร้าย หรือการขับคนไปทำงานเยี่ยงทาส หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่นใด ซึ่งกระทำต่อราษฎรพลเรือนของดินแดนที่ถูกยึดครอง การฆ่าหรือปฏิบัติอย่างโหดร้ายต่อเชลยศึกหรือบุคคลในท้องทะเล การฆ่าตัวประกัน การปล้นสะดมทรัพย์สินสาธารณะหรือส่วนบุคคล การทำลายล้างตัวเมืองหรือหมู่บ้าน ซึ่งเป็นการกระทำที่ไม่จำเป็นในแง่การทหาร [การทูต] |
Cultural Super-Food | อาหารหลักตามประเพณี [การแพทย์] |
Learning, Receptive | การเรียนแบบรับการเรียนรู้แบบประเพณีนิยม [การแพทย์] |
alternative | (adj) ซึ่งไม่ตามประเพณี, See also: ซึ่งไม่เป็นไปตามแผนเดิม |
conventional | (adj) เกี่ยวกับประเพณีนิยม, See also: เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ, Syn. customary |
custom | (n) ขนบธรรมเนียม, See also: ประเพณี, Syn. tradition, folkways |
folk | (adj) เกี่ยวกับขนบประเพณีของชาวบ้าน, See also: เกี่ยวกับพื้นบ้าน |
folklore | (n) ประเพณีและความเชื่อของผู้คน, See also: คติชาวบ้าน |
folklore | (n) การศึกษาเกี่ยวกับขนบประเพณีพื้นบ้าน |
formal | (adj) ตามธรรมเนียมปฏิบัติ, See also: ตามประเพณีนิยม, Syn. ceremonious, conventional |
go native | (phrv) ประพฤติตัวเหมือนคนท้องถิ่นหรือคนพื้นเมือง (เช่น ทางด้านประเพณีหรือวัฒนธรรม) |
habit | (n) ธรรมเนียม, See also: ประเพณี |
iconclast | (n) ผู้ทำลายความเชื่อ วัฒนธรรม และประเพณี |
illicit | (adj) ผิดกฎหมาย, See also: เถื่อน, ซึ่งต้องลักลอบ, ซึ่งผิดศีลธรรม, ซึ่งต้องห้าม ตามวัฒนธรรมประเพณี, Syn. illegal, prohibited, unlawful, Ant. lawful, legal |
institution | (n) ธรรมเนียม, See also: ขนบประเพณี, สิ่งที่ปฏิบัติกันมานาน, Syn. convention, custom, practice |
lodge in | (phrv) เป็นของ (สิทธิหรือประเพณี) |
offend against | (phrv) ละเมิด (กฎหมาย, ประเพณี ฯลฯ) |
manners | (n) ขนบธรรมเนียมประเพณี, See also: รูปแบบการดำเนินชีวิต, ธรรมเนียมปฎิบัติ, วิถีชีวิต, วิถีทาง, ขนบธรรมเนียม, Syn. culture, etiquette, decorum |
medievalism | (n) ประเพณีและความเชื่อในยุคกลาง, Syn. mediaevalism |
mores | (n) ประเพณี, See also: วัฒนธรรม, Syn. culture, custom, ethics |
observe | (vt) ยินยอมทำตาม (ทางกฎหมายหรือประเพณี), Syn. comply, obey, Ant. disobey |
orthodox | (adj) ดั้งเดิม, See also: ประเพณี, Syn. conventional, customary, Ant. unconventional |
pattern | (n) ธรรมเนียมปฏิบัติ, See also: ประเพณีนิยม, จารีตประเพณี, Syn. custom |
precedent | (n) ตัวอย่างหรือแบบอย่างที่มีมาก่อน, See also: เรื่องราวแต่ก่อน, ขนบธรรมเนียมหรือประเพณีที่มีมาก่อน, Syn. pattern, authoritative example |
rubric | (n) ข้อควรประพฤติ, See also: กฎประเพณี, Syn. custum, tradition |
stuffy | (adj) ซึ่งอยู่ในกรอบประเพณี, See also: หัวโบราณ, ล้าสมัย, Syn. conservative, old-fashioned |
tradition | (n) ประเพณี, See also: ขนบธรรมเนียม, วัฒนธรรม, ธรรมเนียม, ขนบธรรมเนียมประเพณี |
traditional | (adj) แบบดั้งเดิม, See also: เป็นประเพณี |
traditionalism | (n) ความเชื่อเรื่องจารีตประเพณี |
ultraconservative | (adj) ซึ่งมีแนวคิดอนุรักษ์นิยมสุดขั้ว, See also: ซึ่งรักษาจารีตประเพณี |
upstream | (adv) ตรงข้ามกับขนบประเพณี, See also: ทวนกระแสวัฒนธรรม, Syn. against |
wont | (n) นิสัยหรือประเพณีที่มีผู้คนทำตาม (คำทางการ) |
americanise | (อะเม' ริคะไนซ) vt., vi. ทำให้หรือกลายเป็นลักษณะของอเมริกา, ปรับตัวกับสิ่งแวดล้อมหรือประเพณีของอเมริกา. -Americanis (z) ation n., -Americanis (z) er n.. |
americanism | (อะเม' ริคันนิสซึม) n. ความเลื่อมในในอเมริกา, ภาษาหรือคำศัพท์ที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา , ประเพณีอเมริกัน, แบบอเมริกัน |
americanize | (อะเม' ริคะไนซ) vt., vi. ทำให้หรือกลายเป็นลักษณะของอเมริกา, ปรับตัวกับสิ่งแวดล้อมหรือประเพณีของอเมริกา. -Americanis (z) ation n., -Americanis (z) er n.. |
antiquity | (แอนทิค' ควิที) n. ความโบราณ, สมัยโบราณ, ยุคโบราณ, บรรดาความโบราณทั้งหลาย (คน, เผ่า, ขนบ ธรรม เนียม, ประเพณีและอื่น, Syn. olden days, antique |
christian | (คริส'เชิน) adj. เกี่ยวกับพระเยซูคริสต์, เกี่ยวกับศาสนาคริสต์, เกี่ยวกับคริสเตียน, ถูกต้องตามจารีตประเพณี. -n. คริสเตียน, นับถือศาสนาคริสต์, Syn. of Christ, respectable |
civilisation | (ซิฟวิลไลเซ'เชิน) n. อารยธรรม, การมีวัฒนธรรมประเพณี |
civility | (ซิฟวิล'ลิที) n. ความสุภาพ, มารยาท, ความเอื้อเฟื้อ, อัธยาศัย, อารยธรรม, วัฒนธรรมประเพณี, Syn. courtesy |
civilization | (ซิฟวิลไลเซ'เชิน) n. อารยธรรม, การมีวัฒนธรรมประเพณี |
classic | (แคลส'ซิค) adj. ยอดเยี่ยม, ดีเด่น, ชั้นหนึ่ง, ชั้นเอก, ดีถึงขนาด, อมตะ, เป็นพื้นฐาน, เป็นหลัก, มีชื่อเสียงทางประวัติศาสตร์หรือวรรณคดี, เป็นแบบอย่าง, เป็นประเพณี, เกี่ยวกับภาษากรีกและลาติน, แบบกรีกและโรมัน, เกี่ยวกับเอกลักษณ์หรือลีลาโบราณ. n. นักเขียนชั้นหนึ่ง, นักวรรณค |
climate | (ไคล'เมท) n. อากาศตามฤดูกาล, แนวโน้มทั่วไปของสังคม, ประเพณีนิยมที่เป็นอยู่, See also: climatic adj. ดูclimate climatical adj. ดูclimate climatal adj. ดูclimate, Syn. trend -Conf. weather |
common law | n. กฎหมายจารีตประเพณีของอังกฤษ |
concrete poetry | n. โคลงกลอน ฉันท์ กาพย์ ที่ประพันธ์โดยวิธีจัดหรือลำดับคำเป็นแบบแผน แทนที่จะเป็นไปตามประเพณีดั้งเดิม |
consuetude | (คอน'สวิทิวด) n. ประเพณี, จารีตประเพณี., See also: consuetudinary adj. ดูconsuetude |
convenance | (คอน'วะนานซฺ) n. ความเหมาะสมประเพณีนิยม |
convention | (คันเวน'เชิน) n. การประชุม, การประชุมพรรคการเมือง, สัญญา, สนธิสัญญา, อนุสัญญา, ระเบียบแบบแผน, จารีตประเพณี, ธรรมเนียมปฎิบัติ, การประชุมที่มีกำหนด, Syn. meeting, custom |
conventional | (คันเวน'เชินเนิล) adj. เกี่ยวกับธรรมเนียมปฎิบัติหรือประเพณีนิยม, ธรรมดา, สามัญ, เกี่ยวกับข้อตกลงหรือสัญญา, See also: conventionalist n. ดูconventional, Syn. usual, Ant. unusual |
conventionalism | (คันเวน'ช'?ะเนิลลิซึม) n. ลัทธิธรรมปฎิบัติ, การปฎิบัติตามจารีตประเพณีหรือประเพณีนิยม |
conventionality | (คันเวน'ชะแนล'ลิท') n. หลักการตามประเพณีนิยม, Syn. convention |
conventioneer | (คันเวน'?ะเนียร์') n. ผู้ปฎิบัติตามประเพณีนิยม |
custom | (คัส'เทิม) n. ประเพณี, ธรรมเนียมปฏิบัติ, จารีตประเพณี, กิจวัตร, ความเคยชิน, การอุดหนุน, ภาษี -Phr. (customs พิกัดอัตราภาษีอากร, ลูกค้า, ขาประจำ) adj. ซึ่งสั่งตัด, ซึ่งสั่งทำ, Syn. habit, tariff, duty |
customary | (คัส'เทิมมะรี) adj. เกี่ยวกับประเพณี, เป็นขนบธรรมเนียม, ตามปกติ, เคยชิน, เป็นกิจวัตร, Syn. normal |
folklore | (โฟล์ค'ลอร์) n. คติชาวบ้าน, ความเชื่อหรือขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวบ้าน. -folkloric adj., See also: folklorist n. folkloristic adj. |
habitual | (ฮะบิช'ชวล) adj. เป็นนิสัย, เป็นประเพณี., See also: habitually adv. habitualness n., Syn. ordinary |
habitude | n. ความเคยชิน, ประเพณีนิยม, นิสัย., See also: habitudinal adj. |
halakah | (ฮาลอ'คะ) n. กฎหมายและประเพณีทั้งหมดของยิว -Halakic adj., Syn. Halachah |
heritage | (เฮอ'ริทิจฺ) n. มรดก, สิ่งที่สืบช่วง, ประเพณีตกทอด, See also: heritable adj. |
japanism | n. ความนิยมญี่ปุ่นขนบธรรมเนียมประเพณีของญี่ปุ่น |
legitimacy | (ลิจิท'ทะมะซี) n. ความถูกต้องตามกฎหมาย, ความชอบด้วยกฎหมาย, ความถูกต้องสมควร, ความมีสิทธิตามกฎหมาย, ความถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, ความถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณี |
legitimate | (ลิจิท'ทะเมท) adj. ถูกต้องตามกฎหมาย, ถูกต้องสมควร, มีสิทธิตามกฎหมาย, ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม, ถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณี, โดยการสมรสที่ชอบด้วยกฎหมาย vt.ทำให้ถูกต้อง ตามกฎหมาย, ทำให้ชอบด้วยกฎหมาย, มอบอำนาจ., See also: legitimateness n. ดูlegitimate legitimation n. ดูlegimate, Syn. lawful, legal, licit |
lese majesty | (ลิซ แมจ'เจสทิ) n. ความผิดอาญาฐานหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ, ความผิดฐานหมิ่นประมุขของรัฐ, การหักหาญจารีตประเพณีหรือธรรมเนียมปฏิบัติ., Syn. lesemajeste |
licentious | (ไลเซน'เชิส) adj. มักมากในกาม, หมกมุ่นในโลกียวิสัย, ไม่มีศีลธรรม, ผิดกฎหมาย, แหกคอกประเพณี, ไม่คำนึงถึงกฎเกณฑ์., See also: licentiousness n. ดูlicentious, Syn. wanton, lustful |
manner | (แมน'เนอะ) n. กิริยา, ลักษณะท่าทาง, มารยาท, วิธีการกระทำ., See also: manners ขนบธรรมเนียมประเพณี, กิริยาท่าทาง, ชนิด, จำพวก, ประเภท, ลักษณะ, แฟชั่น, สมบัติผู้ดี |
mores | (โม'เรซ, มอ'เรซ) n., pl. ประเพณี, ธรรมเนียมปฏิบัติ, Syn. customs |
orthodox | (ออร์'ธะดอคซฺ) adj. ดั้งเดิม, ขนานแท้, ต้นตำรับ, ถูกต้อง, อย่างปกติชนทั้งหลาย, เป็นธรรมเนียมปฏิบัติ, ซึ่งตกทอดมาจากโบราณกาล, เป็นทางราชการ, เป็นประเพณี. |
propriety | (โพรไพร'อะที) n. ความเหมาะสม, ความถูกต้อง, ความสมควร, สิทธิ, กรรมสิทธิ์., See also: proprieties n., pl. มารยาทหรือขนบธรรมเนียมประเพณี, Syn. decorum, decency |
regatta | (รีกา'ทะ, รีแกท'ทะ) n. การแข่งเรือ, ประเพณีการแข่งเรือ, Syn. boat race |
rite | (ไรทฺ) n. พิธีศาสนา, พิธีบูชา, พิธีการ, พิธี, พิธีกรรม, ธรรมเนียมปฏิบัติ, ประเพณี |
static | (สแทท'ทิค) adj. อยู่กับที่, คงที่, สถิต, ไม่มีกระฉับกระเฉง, อยู่ภายใต้กรอบประเพณี, เกี่ยวกับไฟฟ้าสถิต n. ไฟฟ้าสถิต, See also: statically adv., Syn. still |
stuffy | (สทัฟ'ฟี) adj. อบอ้าว, อุดอู้, หายใจไม่ค่อยออก, บูดบึ้ง, น่าเบื่อหน่าย, โอ้อวด, โอหัง, ล้าสมัย, อยู่ในกรอบประเพณี. -stuffily adv., See also: stuffiness n., Syn. stifling, airless |
tradition | (ทระดิช'เชิน) n. ธรรมเนียม, จารีต, ประเพณี, จารีตนิยม, , See also: traditional adj., Syn. custom, usage |
ultramundane | (อัลทระมัน'เดน) adj. นอกโลก, เลยโลก, เลยวงโคจรของดาวนพเคราะห์, นอกระบบสุริยะ, เหนือประเพณี, ในโลกหน้า |
unwritten | (อันริท'เทิน) adj. ไม่ได้เขียนลง, ไม่ใช่ลายลักษณ์อักษร, เป็นวาจา, ว่างเปล่า, เป็นประเพณิ, Syn. traditional |
usage | (ยู'ซิจฺ, ยู'ซิจฺ) n. การใช้, ประโยชน์, ความเคยชิน, ประเพณี, ขนบธรรมเนียม |
usance | (ยู'ซันซ) n. การใช้, ความเคยชิน, ประเพณี, ธรรมเนียม, ระยะเวลากำหนดเป็นธรรมเนียมใน การชำระตัวเงินต่างประเทศ |
use | (v. ยูส, n. ยูซ) vt. ใช้, ใช้ประโยชน์, ใช้สอย, ประยุกต์, ใช้จ่าย, ปฎิบัติด้วยความเคยชิน, แสดงออก, เคี้ยวยาสูบ, สูบบุหรี่ vi. เคยชิน, คุ้นเคย n. การใช้, การใช้ประโยชน์, ประโยชน์, ความเคยชิน, การประยุกต์, วิธีการใช้, เคยชิน, ประเพณี, ธรรมเนียม, -Phr. (put to use ใช้ประโยชน์) |
westernise | (เวส'เทอไนซ) vt. ทำให้มีลักษณะความคิดเห็น ขนบธรรมเนียมประเพณีและอื่น ๆ ของประเทศด้านตะวันตก, See also: westernisation n. westernization n. |
westernize | (เวส'เทอไนซ) vt. ทำให้มีลักษณะความคิดเห็น ขนบธรรมเนียมประเพณีและอื่น ๆ ของประเทศด้านตะวันตก, See also: westernisation n. westernization n. |