โดยพยัญชนะ | ว. ตามตัวหนังสือ, ตามศัพท์, เช่น แปลภาษาบาลีโดยพยัญชนะ. |
แปลตามพยัญชนะ | ก. แปลตามตัวอักษร, แปลความหมายของคำอย่างตรงไปตรงมาคำต่อคำ. |
พยัญชนะ | (พะยันชะนะ) น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ในปากและคอ เช่น เสียง ป โดยทั่วไปจะออกเสียงพยัญชนะร่วมกับเสียงสระ, เสียงพยัญชนะ ก็เรียก |
พยัญชนะ | ตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะ เช่น ก ข, รูปพยัญชนะ ก็เรียก, ตัวหนังสือ เช่น แปลโดยพยัญชนะ |
พยัญชนะ | กับข้าวที่ไม่ใช่แกง, คู่กับ สูปะ ซึ่งหมายถึง แกง. (ป. พฺยญฺชน, วฺยญฺชน; ส. วฺยญฺชน) |
พยัญชนะ | ลักษณะของร่างกาย. |
รูปพยัญชนะ | น. ตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะ เช่น ก ข, พยัญชนะ ก็เรียก. |
เสียงพยัญชนะ | น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ในปากและคอ เช่น เสียง ป โดยทั่วไปจะออกเสียงพยัญชนะร่วมกับเสียงสระ, พยัญชนะ ก็เรียก. |
อสีตยานุพยัญชนะ | (อะสีตะยานุพะยันชะนะ) น. ลักษณะน้อย ๆ ในร่างกายของผู้ที่เป็นพระมหาบุรุษมี ๘๐ อย่าง คือ ผู้ที่จะเป็นพระมหาบุรุษต้องสมบูรณ์ด้วยลักษณะสำคัญ ๓๒ อย่าง ซึ่งเรียกว่า มหาปุริสลักษณะ มีรอยพระบาทเป็นลายรูปจักรและอื่น ๆ ตามแบบเป็นต้น และสมบูรณ์ด้วยอสีตยานุพยัญชนะ. |
ก | (กอ) พยัญชนะตัวที่ ๑ เรียกว่า กอ ไก่ เป็นอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากกหรือแม่กก เช่น กก ปาก สัก. |
ก กา | น. เรียกแม่บทแจกลูกพยัญชนะต้นกับสระโดยไม่มีตัวสะกด ว่า มาตรา ก กา หรือแม่ ก กา. |
ก ข | (กอข้อ) น. พยัญชนะแต่ ก ถึง ฮ. |
กัณฐชะ | น. อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดที่เพดานอ่อน ได้แก่ พยัญชนะวรรค ก คือ ก ข ค ฆ ง และอักษรที่มีเสียงเกิดที่เส้นเสียงในลำคอ ได้แก่ ห และ สระ อะ อา. |
ข | (ขอ) พยัญชนะตัวที่ ๒ เรียกว่า ขอ ไข่ เป็นอักษรสูง ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากกหรือแม่กก เช่น มุข เลข. |
ฃ | (ขอ) พยัญชนะตัวที่ ๓ เรียกว่า ฃอ ขวด เป็นอักษรสูง ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว. |
ค | (คอ) พยัญชนะตัวที่ ๔ เรียกว่า คอ ควาย เป็นอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากกหรือแม่กก เช่น โรค มรรค มารค เทคนิค. |
คระ ๑ | (คฺระ) คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี คร- เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำคำหรือเป็นพหูพจน์ เช่น คระคราง (หมายความว่า ครางคราง) คระครึ้ม (หมายความว่า ครึ้มครึ้ม) คระโครม (หมายความว่า โครมโครม). |
คะ ๑ | คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ค เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ครื้นครื้น กร่อนเป็น คะครื้น โครมโครม กร่อนเป็น คะโครม มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำเน้นคำ. |
คำกร่อน | น. คำที่ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง อะ โดยยังคงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดี่ยวหรือเสียงพยัญชนะต้นที่เป็นอักษรควบอักษรกล้ำไว้ มักจะเกิดในคำสองพยางค์ที่พยางค์แรกออกเสียงเบา เช่น หมากม่วง เป็น มะม่วง ต้นเคียน เป็น ตะเคียน อันหนึ่ง เป็น อนึ่ง แจ้นแจ้น เป็น จะแจ้น ขวักไขว่ เป็น ขวะไขว่ โครมโครม เป็น คระโครม, และมีปรากฏในคำพยางค์เดียวด้วย เช่น เสีย เป็น ซะ แล้ว เป็น ละ, แต่บางกรณีก็ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง เออะ หรือ อึ เช่น เถิด เป็น เถอะ หรือ เป็น รึ. |
ฅ | (คอ) พยัญชนะตัวที่ ๕ เรียกว่า ฅอ คน เป็นอักษรต่ำ ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว. |
ฆ | (คอ) พยัญชนะตัวที่ ๖ เรียกว่า ฆอ ระฆัง เป็นอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากกหรือแม่กก เช่น เมฆ. |
โฆษะ | ว. ก้อง, เสียงสระหรือพยัญชนะซึ่งขณะที่เปล่งออกมาเส้นเสียงสั่นในภาษาไทยได้แก่เสียง บ ด เมื่อเป็นพยัญชนะต้น เสียง ง น ม ย ร ล ว และเสียงสระทุกเสียง, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงก้องว่า พยัญชนะโฆษะ ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๓, ๔, ๕ ของวรรค และ ย ร ล ว ห ฬ. |
ง | (งอ) พยัญชนะตัวที่ ๗ เรียกว่า งอ งู เป็นอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากงหรือแม่กง เช่น บาง ทอง. |
งะ | คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ง เป็นพยัญชนะต้น มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น เช่น งะงก งะงัน งะโง้ง. |
จ | (จอ) พยัญชนะตัวที่ ๘ เรียกว่า จอ จาน เป็นอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น กิจ วินิจฉัย ตำรวจ. |
จตุรงคนายก | (จะตุรงคะ-) น. ชื่อกลอนกลบทโบราณ มีบังคับพิเศษคือ กลอนแต่ละวรรคแบ่งออกเป็น ๔ จังหวะ จังหวะละ ๒ คำ คำเริ่มต้นของทุกจังหวะใช้คำเดียวกันซ้ำตลอด คำที่ ๒ กับคำที่ ๔ ใช้เสียงพยัญชนะเดียวกัน และคำที่ ๖ กับคำที่ ๘ ใช้เสียงพยัญชนะเดียวกัน ตัวอย่างว่า จักกรีดจักกรายจักย้ายจักย่อง ไม่เมินไม่มองไม่หมองไม่หมาง งามเนื้องามนิ่มงามยิ้มงามย่าง ดูคิ้วดูคางดูปรางดูปรุง (ชุมนุมตำรากลอน). |
จะ ๑ | คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี จ เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น แจ้งแจ้ง กร่อนเป็น จะแจ้ง แจ่มแจ่ม กร่อนเป็น จะแจ่ม มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้น. |
ฉ ๑ | (ฉอ) พยัญชนะตัวที่ ๙ เรียกว่า ฉอ ฉิ่ง เป็นอักษรสูง ใช้เป็นพยัญชนะต้น. |
ฉะ ๒ | คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี ฉ เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น ฉาดฉาด กร่อนเป็น ฉะฉาด ฉ่ำฉ่ำ กร่อนเป็น ฉะฉ่ำ มีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้นคำ. |
ช ๑ | พยัญชนะตัวที่ ๑๐ เรียกว่า ชอ ช้าง เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น ราช คช กริช แซนด์วิช. |
ซ | (ซอ) พยัญชนะตัวที่ ๑๑ เรียกว่า ซอ โซ่ เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้นและเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น ก๊าซ. |
ฌ | พยัญชนะตัวที่ ๑๒ เรียกว่า ฌอ เฌอ เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น. |
ญ | (ยอ) พยัญชนะตัวที่ ๑๓ เรียกว่า ญอ หญิง เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากนหรือแม่กน เช่น ปัญญา สัญชาติ ผจญ โคโลญ. |
ฎ | (ดอ) พยัญชนะตัวที่ ๑๔ เรียกว่า ฎอ ชฎา เป็นอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น กฎ มงกุฎ. |
ฏ | (ตอ) พยัญชนะตัวที่ ๑๕ เรียกว่า ฏอ ปฏัก เป็นอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น ปรากฏ นาฏ. |
ฐ | (ถอ) พยัญชนะตัวที่ ๑๖ เรียกว่า ฐอ ฐาน เป็นอักษรสูง ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น รัฐ อัฐ. |
ฑ | (ทอ) พยัญชนะตัวที่ ๑๗ เรียกว่า ฑอ มณโฑ เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น ออกเสียงเป็น ด บ้าง เช่น บัณฑิต มณฑป หรือ ท บ้าง เช่น มณฑล มณฑา และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น ษัฑ. |
ฒ | (ทอ) พยัญชนะตัวที่ ๑๘ เรียกว่า ฒอ ผู้เฒ่า เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น วัฒน์ วุฒิ. |
ณ ๑ | (นอ) พยัญชนะตัวที่ ๑๙ เรียกว่า ณอ เณร เป็นอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากนหรือแม่กน เช่น คุณ บัณฑิต. |
ด | (ดอ) พยัญชนะตัวที่ ๒๐ เรียกว่า ดอ เด็ก เป็นอักษรกลางใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น มดกัด. |
ต | (ตอ) พยัญชนะตัวที่ ๒๑ เรียกว่า ตอ เต่า เป็นอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น จิต เมตตา ฟุต. |
ตรียมก | (ตฺรียะมก) น. ชื่อกลอนกลบทชนิดหนึ่ง กำหนดบังคับวรรคละ ๙ คำ วรรคหนึ่งแบ่งออกเป็น ๓ ช่วง ให้ใช้พยัญชนะที่มีเสียงพ้องกัน ๒ เสียงในแต่ละช่วง เช่น สิ้นอาสัญในอาศรมที่อาศรัย อนาถใจอนาโถโอ้อางขนาง พระองค์เดียวพระอับเปลี่ยวพระองค์นาง ม้วยชีพวางสิ้นชีวาตม์ขาดชีวัง (ศิริวิบุลกิตติ). |
ตัวสะกด | น. พยัญชนะท้ายคำหรือพยางค์ที่ทำหน้าที่บังคับเสียงให้เป็นไปตามมาตราต่าง ๆ เช่น น เป็นตัวสะกดในมาตรากน. |
ตาลุชะ | น. อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดที่เพดานแข็ง ได้แก่พยัญชนะวรรค จ คือ จ ฉ ช ฌ ญ และอักษร ย สระอิ อี รวมทั้ง ศ ในภาษาสันสกฤต. |
ถ | (ถอ) พยัญชนะตัวที่ ๒๒ เรียกว่า ถอ ถุง เป็นอักษรสูง ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น รถ นาถ. |
ท ๑ | (ทอ) พยัญชนะตัวที่ ๒๓ เรียกว่า ทอ ทหาร เป็นอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น ประมาท บท. |
ทันตชะ | (ทันตะ-) น. อักษรในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงเกิดที่ฟัน ได้แก่ พยัญชนะวรรค ต คือ ต ถ ท ธ น และอักษร ล ส รวมทั้ง ฦ ฦๅ ในภาษาสันสกฤต. |
ทุ่น | น. สิ่งที่ลอยนํ้าสำหรับให้สิ่งอื่นเกาะหรือเพื่อพยุงสิ่งอื่นให้ลอยนํ้า เช่น ทุ่นแพ ทุ่นทอดสะพาน หรือสำหรับเป็นที่ผูกจอดเรือ เช่น ทุ่นสมอ หรือสำหรับเป็นเครื่องหมายในการเดินเรือ เช่น ทุ่นนำร่อง, โดยปริยายหมายถึงสิ่งที่ให้สิ่งอื่นเกาะ เช่น พยัญชนะ อ เป็นทุ่นให้สระเกาะ อย่าง อา อี อู. |
ธ ๑ | (ทอ) พยัญชนะตัวที่ ๒๔ เรียกว่า ธอ ธง เป็นอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น สุเมธ มคธ. |
ธนิต | ว. หนัก, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงหนักว่า พยัญชนะธนิต ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๒ และ ๔ ของวรรค. |
alpha | (n) พยัญชนะตัวแรกของภาษากรีก |
anagram | (n) การสับเปลี่ยนพยัญชนะของคำหรือวลีเพื่อให้ได้คำหรือวลีใหม่ |
B | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 2 |
b | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 2 |
chi | (n) พยัญชนะตัวที่ 22 ของภาษากรีก |
consonantal | (adj) ที่ทำหน้าที่เป็นพยัญชนะ |
continuant | (n) เสียงพยัญชนะที่ออกเสียงยาวต่อเนื่องกัน |
D | (n) พยัญชนะตัวภาษาอังกฤษที่ 4, See also: เลข 500 ตัวเลขโรมัน |
d | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 4, See also: เลข 500 ตัวเลขโรมัน |
E | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 5 |
e | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 5 |
elision | (n) การละสระ พยัญชนะหรือพยางค์ในการออกเสียงหรือเขียน (ทางภาษาศาสตร์) |
epsilon | (n) พยัญชนะตัวที่ 5 ในภาษากรีก (คล้ายพยัญชนะ e ในภาษาอังกฤษ) |
ex | (n) พยัญชนะในภาษาอังกฤษตัวที่ 24 |
F | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 6 |
f | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 6 |
fricative | (n) พยัญชนะที่มีเสียงเสียดแทรกจากฐานกรณ์ (ในวิชาภาษาศาสตร์), Syn. spirant |
g | (n) พยัญชนะอังกฤษตัวที่ 7 |
G | (n) พยัญชนะอังกฤษตัวที่ 7 |
gamma | (n) พยัญชนะกรีกตัวที่ 3 |
h | (n) พยัญชนะอังกฤษตัวที่ 8 |
H | (n) พยัญชนะอังกฤษตัวที่ 8 |
I | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 9 |
K | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 11 |
k | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 11 |
kappa | (n) พยัญชนะภาษากรีกตัวที่ 10 |
L | (n) พยัญชนะตัวที่12 ในภาษาอังกฤษ |
l | (n) พยัญชนะตัวที่12 ในภาษาอังกฤษ |
M | (abbr) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 13 |
m | (abbr) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 13 |
N | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 14 |
n | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 14 |
nasal | (n) พยัญชนะเสียงนาสิก, See also: พยัญชนะเสียงขึ้นจมูก, เสียงนาสิก |
O | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 15 |
o | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 15 |
a | (prf) ไม่ (ย่อมาจาก an-), See also: ปราศจาก, ใช้นำหน้าเสียงพยัญชนะ |
p | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 16 |
phi | (n) พยัญชนะกรีกตัวที่ 21 |
pi | (n) พยัญชนะกรีกตัวที่ 16 |
Q | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 17 |
q | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 17 |
r | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 18 |
R | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 18 |
s | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 19 |
S | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 19 |
semivowel | (n) เสียงกึ่งสระ, See also: เสียงกึ่งสระและพยัญชนะ |
sibilant | (n) พยัญชนะเสียงเสียดแทรก |
surd | (n) พยัญชนะที่ไม่มีเสียงออกมา, See also: พยัญชนะไร้เสียง, Syn. voiceless sound, unvoiced consonant |
surd | (adj) เป็นพยัญชนะที่ไม่มีเสียง, Syn. unvoiced, voiceless |
t | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 20 |
a | (เอ) 1. พยัญชนะและสระตัวแรกในภาษาอังกฤษรูปตัว A, ชั้นหนึ่ง, อันดับหนึ่ง, สัญลักษณ์ธาตุ argon (the first letter) - อังสตรอมยูนิต abbr. assesssment, artery 2. อักษร A ในระบบเลขฐานสิบหก มีค่าเท่ากับ 10 ในเลขฐานสิบ |
abecedarian | (เอบีซิแด' เรียน) n. , adj. ผู้กำลังเรียนอักษรพยัญชนะ ผู้เริ่มศึกษา ตัวพยัญชนะ, เรียงตามลำดับพยัญชนะ, เบื้องต้น, ขั้นต้น, มูลฐาน |
acronym | (แอค' โรนิม) n. คำย่อจากพยัญชนะตัวแรกหลายคำ. -acronymic adj. คำย่อรัสพจน์หมายถึง คำย่อที่เกิดจากการนำอักษรตัวแรก หรือกลุ่มอักษรบางตัวมาสร้างขึ้นเป็นคำใหม่ประกอบด้วยอักขระตั้งแต่สองตัวขึ้นไป นิยมออกเสียงเหมือนคำปกติ เช่น DOS ซึ่งเอาอักษร D มาจากคำว่า Disk อักษร O มาจาก คำ Operating และ S มาจากคำว่า System คำนี้จะอ่านออกเสียงว่า "ดอส" แทนที่จะอ่านว่า ดีโอเอส คำย่อประเภทนี้ นิยมใช้กันมากใน วงการคอมพิวเตอร์ เช่น BASIC ซึ่งย่อมาจาก Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code ก็อ่านว่า "เบสิก" |
alif | (อา' ลิฟ) n. พยัญชนะอาหรับตัวแรก |
alpha | (แอล' ฟะ) n. พยัญชนะตัวแรกของภาษากรีก, จุดเริ่ม, สิ่งแรก, ดาวที่สว่างที่สุดในกลุ่มดาว, ตำแหน่งหนึ่งของอะตอมหรือกลุ่มของอะตอมในสารประกอบ, isomer แบบหนึ่งของสารประกอบ |
alphabet | (แอล' ฟาเบท) n. อักษรพยัญชนะ, อักษร, อักขระ, ระบบตัวอักษร, ความรู้พื้นฐาน, ขั้นมูลฐาน. |
anagram | (แอน' นะแกรม) n. การสับเปลี่ยนพยัญชนะของคำหรือวลีเพื่อให้ได้คำหรือวลีใหม่ -anagrammatic (al) adj. (transposition) |
b | (บี) พยัญชนะตัวที่ 2 ของภาษาอังกฤษ |
beta | (เบ'ทะ) n. อักษรตัวที่สองของพยัญชนะกรีก, ตำแหน่งหนึ่งของอะตอมหรือกลุ่มอะตอมในสารประกอบ, สารประกอบ isomer, อนุภาค beta |
c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม |
consonant | (คอน'ซะเนินทฺ) n. เสียงพยัญชนะ. adj. สอดคล้องกัน, เข้ากันได้, ประสานกัน (เสียง), See also: consonantal adj. -Conf. vowel, Syn. concordant |
continuant | (คันทิน'นิวเอินทฺ) n. พยัญชนะ |
delta | (เดล'ทะ) n. พยัญชนะกรีกตัวที่4, รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายพยัญชนะเดลต้าของกรีก, สันดอนสามเหลี่ยมของแม่น้ำ |
e | (อี) พยัญชนะอังกฤษตัวที่5 |
en | (เอน) พยัญชนะNหรือn. |
g | (จี) พยัญชนะอังกฤษตัวที่7, เสียงG |
gamma | (แกม'มะ) พยัญชนะกรีกตัวที่2 (r) , ลำดับที่ 3 ของอนุกรม, หน่วยน้ำหนัก ที่เท่ากับหนึ่งไมโครกรัม, หน่วยกำลังสนามแม่เหล็กที่เท่ากับ10-5 gauss |
grapheme | n. หน่วยที่เล็กที่สุดของระบบการเขียน, ตัวอักษร, ตัวพยัญชนะ. |
i | (ไอ) พยัญชนะอังกฤษตัวที่ 9เป็นสระด้วย |
i. | (ไอ) พยัญชนะอังกฤษตัวที่ 9เป็นสระด้วย |
iota | (ไอโอ'ทะ) n. จำนวนเล็กน้อยมาก, พยัญชนะตัวที่ 9 ของภาษากรีก, Syn. particle, jot |
j | (เจ) พยัญชนะอังกฤษตัวที่10 |
j. | (เจ) พยัญชนะอังกฤษตัวที่10 |
k | (เค) พยัญชนะอังกฤษตัวที่ 11, เสียง K ย่อมาจาก kilobyte (กิโลไบต์) มีค่าเท่ากับ 1, 024 ไบต์ (210) บางทีก็ใช้ตัวย่อ ว่า KB ใช้เป็นหน่วยวัดความจุของอุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูล เช่น หน่วยความจำ จานบันทึก ฯ 1 ไบต์จะเก็บได้ 1 ตัวอักขระ (หรือช่องว่าง) ถ้าพูดว่าจานบันทึกนี้มีความจุ 720 เคไบต์ ก็แปลว่า เก็บข้อมูลได้ไม่เกิน (720x1024) 737, 280 ตัวอักขระ หรือถ้าบอกว่าหน่วยความจำขนาด 64 เคไบต์ ก็แปลว่า มีความจุ (64x1024) 65, 536 ตัวอักขระ |
l | (เอล) พยัญชนะอังกฤษตัวที่12 |
labial | (เล'เบียล) adj. เกี่ยวกับริมฝีปาก, เป็นเสียงริมฝีปาก (เช่นการเป่าขลุ่ย) (เช่นเสียงp, v, m, w) . n. เสียงริมฝีปาก, พยัญชนะที่ออกเสียงด้วยริมฝีปาก., See also: labiality n. ดูlabial |
latin alphabet | n. พยัญชนะภาษาลาติน |
letter | (เลท'เทอะ) n. จดหมาย, อักษร, ตัวหนังสือ, ตัวพยัญชนะ, แบบ, ตัวพิมพ์, ตัวเรียงพิมพ์, ศัพท์, สาส์น, หนังสือ, หนังอนุญาต, See also: letters n. วรรณคดี, อาชีพนักประพันธ์, ความรู้ เครื่องหมาย |
literal | (ลิท'เทอเริล) adj. ตามตัวอักษร, ตามตัวหนังสือ, ตามตัวพยัญชนะ, แท้จริง, ไม่เลยเถิด., See also: literalness n. ดูliteral, Syn. veritable, verbal |
m | (เอม) พยัญชนะอังกฤษตัวที่ 13 |
n | (เอน) พยัญชนะอังกฤษตัวที่14 |
o | (โอ) พยัญชนะอังกฤษตัวที่15 |
p | (พี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่16, phosphorus, |
palatal | (แพล'ละทัล) adj. เกี่ยวกับเพดานปาก, (การออกเสียงใช้ลิ้นแตะเพดานปาก) n. พยัญชนะที่มีการใช้ลิ้นแตะเพดานปาก, See also: palatalism n. palatality n. |
pi | (ไพ) n., (pl. pie) พยัญชนะตัวที่ 16ของภาษากรีก (II, ) , สัญลักษณ์อัตราส่วนเส้นรอบวงกับเส้นผ่าศูนย์กลาง, อัตราส่วนดังกล่าว (3.141592) |
q | (คิว) พยัญชนะตัวที่ 17 ของภาษาอังกฤษ, รูปตัว Qหรือq |
s | (เอส) n. พยัญชนะตัวที่ 19 ของภาษาอังกฤษ |
sibilant | (ซิบ'บะเลินทฺ) adj., n. (พยัญชนะ) (เกี่ยวกับ) เสียงที่ออกตามไรฟัน (เช่นเสียง "S") |
sigma | (ซิก'มะ) n. พยัญชนะตัวที่ 18 ของภาษากรีก |
sonant | (โซ'เนินทฺ) n., adj. (ออก) เสียงรัว, เสียงสั่น, เสียงพยางค์, พยัญชนะที่ออกเสียงได้โดยไม่มีสระ, See also: sonantal, sonantic adj. |
t | (ที) พยัญชนะตัวที่ 20 ของภาษาอังกฤษ |
t. | (ที) พยัญชนะตัวที่ 20 ของภาษาอังกฤษ |
theta | (ธี'ทะ) n. พยัญชนะตัวที่ 8 ของภาษากรีก |
transliterate | (แทรนซฺลิท'เทอเรท) vt. เปลี่ยนตามพยัญชนะหรือภาษาอื่น, แปล., See also: transliteration n. transliterator n. |
u | (ยู) n. พยัญชนะตัวที่ 21 ของภาษาอังกฤษ |
v | (วี) n. พยัญชนะตัวที่ 22 ของภาษาอังกฤษ |
w | (ดับ'เบิลยู) n. พยัญชนะตัวที่ 23 ของภาษาอังกฤษ |
x | (เอกซฺ) n.พยัญชนะตัวที่ 24 ของภาษาอังกฤษ |
xi | (ไซ, ไซ) n. พยัญชนะตัวที่ 14 ของภาษากรีก pl. xis |
y | (ไว) n. พยัญชนะตัวที่ 25 ของภาษาอังกฤษ pl., n. Y's, Ys, ys |