จิตตภาวนา | น. การอบรมจิต. |
ภาวนา | (พาวะ-) น. การทำให้มีขึ้นให้เป็นขึ้นทางจิตใจ. |
ภาวนา | (พาวะ-) ก. สำรวมใจให้แน่วแน่เป็นสมาธิ เช่น สวดมนต์ภาวนา, สำรวมใจตั้งความปรารถนา เช่น นั่งภาวนาขอให้พระช่วย. |
ภาวนามัย | ว. สำเร็จด้วยภาวนา, แล้วไปด้วยภาวนา, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ. |
แม่นั่งภาวนา | น. ภรรยาที่บ่นว่าสามีตลอดทั้งวัน. (ดู แม่หญิงแม่หยัง ประกอบ). |
เข้าที่ | ก. นั่งภาวนากรรมฐาน (ทางพระศาสนา) |
ทำบุญเอาหน้า | ก. ทำบุญเพื่ออวดผู้อื่น ไม่ใช่ทำด้วยใจบริสุทธิ์, มักพูดเข้าคู่กับ ภาวนากันตาย. |
ทิฏฐุชุกรรม | น. การทำความเห็นให้ตรง คือ เห็นถูกทาง เช่น เห็นว่า ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว (เป็นข้อหนึ่งในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ คือ ทานมัย สีลมัย ภาวนามัย อปจายนมัย เวยยาวัจจมัย ปัตติทานมัย ปัตตานุโมทนามัย ธัมมัสสวนมัย ธัมมเทสนามัย ทิฏฐุชุกรรม). |
บ่น | กล่าวซํ้า ๆ กัน เช่น ท่องบ่นภาวนา. |
บริกรรม | (บอริกำ) ก. สำรวมใจสวดมนต์ภาวนา, สำรวมใจร่ายมนตร์หรือเสกคาถาซํ้า ๆ หลายคาบหลายหนเพื่อให้เกิดความขลังความศักดิ์สิทธิ์. |
บุญกิริยาวัตถุ | (บุนยะ-) น. ที่ตั้งแห่งการทำบุญ, เรื่องที่จัดเป็นการทำความดี, หลักการทำความดี, ทางทำความดี, มี ๑๐ ข้อ คือ ทานมัย สีลมัย ภาวนามัย อปจายนมัย เวยยาวัจจมัย ปัตติทานมัย ปัตตานุโมทนามัย ธัมมัสสวนมัย ธัมมเทสนามัย ทิฏฐุชุ-กรรม, โดยย่อมี ๓ ข้อ ได้แก่ ทานมัย สีลมัย ภาวนามัย. |
ปฏิบัติธรรม | เจริญภาวนา. |
ปรก ๒ | (ปฺรก) น. เรียกผู้นั่งภาวนาในพิธีปลุกเสก เช่น ในพิธีพุทธาภิเษก ว่า คณะปรก. |
ประคำ | น. ลูกกลม ๆ ที่ร้อยเป็นพวงสำหรับเป็นเครื่องหมายการนับในเวลาบริกรรมภาวนาหรือสำหรับใช้เป็นเครื่องราง, เรียกเครื่องประดับที่ทำด้วยทองคำเป็นต้นมีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น. |
ประธาน ๓ | น. ความเพียร มี ๔ อย่าง คือ ๑. สังวรประธาน เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นในสันดาน ๒. ปหานประธาน เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว ๓. ภาวนาประธาน เพียรให้กุศลเกิดขึ้นในสันดาน ๔. อนุรักขนาประธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อม. |
พุทธาภิเษก | น. ชื่อพิธีในการปลุกเสกพระพุทธรูปหรือวัตถุมงคล โดยมีพระเถระผู้เชี่ยวชาญในการทำสมาธิจำนวนหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า คณะปรก นั่งภาวนาส่งกระแสจิตเพ่งคุณพระรัตนตรัยเข้าไปสู่องค์พระหรือวัตถุมงคลนั้น ๆ. |
เมฆฉาย | (เมก-) น. เงาเมฆ, เมฆที่ปรากฏให้เห็นเป็นรูปต่าง ๆ เนื่องจากการยกเมฆ เป็นนิมิตให้สามารถพยากรณ์ได้ว่าร้ายหรือดี เช่น ภาวนาเขม้นเห็นเมฆฉาย นิมิตเป็นรูปนารายณ์เรืองศรี (ขุนช้างขุนแผน) |
แม่หญิงแม่หยัง | น. ผู้หญิงที่ไม่เป็นกุลสตรี มักพูดเป็นกลอนว่า แม่หญิงแม่หยัง แม่กระชังก้นรั่ว แม่ยกครัวลงล่าง แม่ย่างม้าเหาะ แม่เดาะคันช่าง แม่นั่งภาวนา. |
ลูกประคำ | น. ไม้หรือแก้วเป็นต้นที่ทำเป็นเม็ดกลมมีรูตรงกลางร้อยด้วยด้ายหรือไหม ส่วนมากมี ๑๐๘ ลูก สำหรับนักบวชมีฤษีเป็นต้นใช้สวมคอเพื่อกำหนดนับการบริกรรมภาวนา คือเมื่อบริกรรมภาวนาจบครั้งหนึ่ง ๆ ก็รูดไว้เม็ดหนึ่ง, เครื่องประดับที่ทำเช่นนั้น. |
laud | (ลอด) { lauded, lauding, lauds } vt. สรรเสริญ, ชมเชย, สดุดี, ยกย่อง. n., See also: lauds n. ชั่วโมงแห่งการร้องเพลงสรรเสริญภาวนาในตอนเช้า ศาสนาโรมันคาทอลิก lauder n. ดูlaud laudator n. ดูlaud, Syn. praise |
pray | (เพร) vt. สวดมนต์, อธิษฐาน, ขอร้อง, วิงวอน, ภาวนา, ขอได้โปรด., See also: prayingly adv. |
prayer | (แพร) n. การสวดมนต์, การอธิษฐาน, คำสวดมนต์, คำอธิษฐาน, การขอร้อง, การภาวนา, สิ่งที่อ้อนวอน, สิ่งที่ขอ, ผู้สวดมนต์, ผู้อธิษฐาน, ผู้วิงวอน |
invocation | (n) การภาวนา, การขอร้อง, การอุทธรณ์, การเรียกผี |
invoke | (vt) ภาวนา, ขอร้อง, อุทธรณ์, วิงวอน |
pray | (vt) สวดมนตร์, อ้อนวอน, โปรด, ภาวนา, ขอร้อง, อธิษฐาน |
prayer | (n) การสวดมนตร์, คำอ้อนวอน, การภาวนา, การอธิษฐาน |
rosary | (n) สายลูกประคำ, การภาวนา, การอธิษฐาน, การสวดมนตร์ |