Video | วีดิทัศน์, คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Video | วีดิทัศน์, <p>คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) <p>คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” [คำทับศัพท์ที่มักใช้ผิด] |
Picture Vocabulary Program | โปรแกรมภาพคำศัพท์, ซอฟต์แวร์ช่วยในการเรียนรู้ของเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ ประกอบด้วยคำศัพท์ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ พร้อมรูปภาพ [Assistive Technology] |
Thai Sign Language Program: computer vocabulary | ภาษามือไทยชุดคำศัพท์คอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูลภาษามือไทย ที่บรรจุคำศัพท์คอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลประกอบไปด้วย คำศัพท์ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย ภาพ วีดิทัศน์ภาษามือไทย [Assistive Technology] |
Abbreviations, English | อักษรย่อภาษาอังกฤษ [TU Subject Heading] |
English language | ภาษาอังกฤษ [TU Subject Heading] |
English teachers | ครูภาษาอังกฤษ [TU Subject Heading] |
Picture dictionaries, English | พจนานุกรมภาพภาษาอังกฤษ [TU Subject Heading] |
Pidgin English | ภาษาอังกฤษแก้ขัด [TU Subject Heading] |
Short stories, African (English) | เรื่องสั้นแอฟริกัน (ภาษาอังกฤษ) [TU Subject Heading] |
Diplomatic Language | ภาษาการทูต ในสมัยโบราณจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 รัฐทั้งหลายในสมัยนั้นได้นิยมใช้ภาษาละตินเป็นภาษาการทูตและก็เป็นภาษาเดียว ที่ใช้กันในยุโรปภาคกลางและภาคตะวันตก ต่อมาในราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ได้ใช้ภาษาฝรั่งเศสแทนภาษาละตินเป็นภาษาการทูต และใช้กันตลอดมาจนถึงสมัยสงครามโลกครั้งแรก หลังจากเสร็จสงครามโลกครั้งแรกจนถึงสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐต่างๆ เริ่มนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น และใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ แต่ก็ยังไม่มีการรับรองเป็นทางการกันว่าให้ใช้ภาษาใดเป็นภาษาทางการทูตใน องค์กรทั้งหมดของสหประชาชาติยกเว้นศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ใช้ 5 ภาษาเป็นภาษาราชการ คือ ภาษาจีน รัสเซีย สเปน อังกฤษ และฝรั่งเศส ดังนั้น ในการประชุมใด ๆ ณ องค์การสหประชาชาติ หากมีการแถลงเป็นภาษาหนึ่ง ก็จะมีการแปลเป็นอีก 4 ภาษาเกือบพร้อมกันในทันที (Simultaneous Translation) สำหรับศาลยุติธรรมระหว่างประเทศนั้น ภาษาที่ใช้เป็นภาษาราชการคือ ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส เพียงสองภาษา [การทูต] |
Exequatur | คำนี้แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า ?let him perform? เป็นหนังสือหรืออนุมัติบัตรแสดงการรับรองผู้ที่ดำรงตำแหน่งกงสุลโดยประมุข หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของรัฐซึ่งกงสุลผู้นั้นได้ถูกส่งไป ประจำ Exequatur เป็นอนุมัติบัตรที่มอบให้กงสุล แสดงว่ามีอำนาจที่จะปฏิบัติตามหน้าที่ของกงสุลทั้งหมด สามารถเป็นหลักฐานที่ใช้แสดงต่อเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นภายในเขตอาณัติของกงสุล ด้วย รัฐที่ปฏิเสธไม่ออก Exequatur ให้นั้น ไม่จำเป็นต้องบอกเหตุผลแก่รัฐผู้ส่งว่าเพราะเหตุผลใดจึงปฏิเสธ ในเรื่องนี้ข้อ 12 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ว่า?1. หัวหน้า สถานที่ทำการทางกงสุล จะเข้าปฏิบัติการหน้าที่ของตนได้ โดยอนุมัติจากรัฐผู้รับเรียกว่า อนุมัติบัตรไม่ว่าการให้อนุมัติจะเป็นไปในรูปใดก็ตาม 2. รัฐซึ่งปฏิเสธไม่ให้อนุมัติบัตรไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการปฏิเสธ เช่นว่านั้นแก่รัฐผู้ส่ง 3. ภายในข้อบังคับแห่งบทของข้อ 13 และ 15 หัวหน้าสถานที่ทำการทางกงสุลจะไม่เข้ารับหน้าที่ของตนจนกว่าจะได้รับอนุมัติ บัตรแล้ว? [การทูต] |
International Conferences | คือการประชุมระหว่างประเทศอย่างเป็นทางการระหว่าง ผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากหลาย ๆ ประเทศ เพื่อพิจารณาหาทางระงับปัญหาระหว่างประเทศ การประชุมเช่นนี้บางทีเรียกว่า คองเกรสระหว่างประเทศ แม้จะเรียกต่างกัน แต่ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันที่สำคัญระหว่างสองคำนี้ บ้างมีความเห็นว่า ใช้คำคองเกรส ดูจะมีความสำคัญและมีลักษณะเป็นทางการมากกว่าใช้คำ คอนเฟอเรนซ์ผู้แทนจากประเทศที่ร่วมการประชุมในบางโอกาส ได้แก่บุคคลในระดับนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือเอกอัครราชทูต แล้วแต่ว่าการประชุมนั้น ๆ มีความสำคัญระดับใดในการประชุมระหว่างประเทศ แต่เดิมใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสกันมากทั้งสองภาษา มาในภายหลังมักนิยมใช้ภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด ส่วนการประชุมระหว่างประเทศที่องค์การสหประชาชาติเป็นผู้จัด จะใช้ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน รัสเซีย และจีน รวม 5 ภาษาตามปกติ มักจะเลือกหัวหน้าคณะผู้แทนของประเทศเจ้าภาพให้ทำหน้าที่ประธานการประชุม ส่วนเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของการประชุม ได้แก่ รองประธาน เลขานุการของการประชุม ประธานกรรมการ และผู้บันทึกรายงานสำหรับรายงานการประชุม ข้อมติของที่ประชุมและข้อเสนอแนะนั้น จะรวมเข้าไว้ในเอกสารที่เรียกว่า กรรมสารสุดท้าย (Final Act) ซึ่งผู้แทนประเทศผู้มีอำนาจเต็มจะเป็นผู้ลงนามในเอกสารนั้นในการประชุมครั้ง สุดท้าย [การทูต] |
fourth-generation languages( 4GLs ) | โฟร์ทจีแอล, กลุ่มของภาษาที่แตกต่างจากภาษาเชิงกระบวนความ ที่เน้นให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลได้โดยง่าย ภาษาจะมีความคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษที่ใช้กันอยู่ ตัวอย่างของภาษา 4GL เช่น ภาษาเอสคิวแอล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
domain name system (DNS) | ระบบชื่อโดเมน, ระบบแปลงเลขที่อยู่ไอพีให้เป็นชื่อโดเมนที่อยู่ในรูปของชื่อย่อภาษาอังกฤษหลายส่วนคั่นด้วยเครื่องหมายจุด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
a | (n) อักษรตัวแรกในภาษาอังกฤษ |
anapaest | (n) การออกเสียงในภาษาอังกฤษที่สองพยางค์แรกเน้นเสียงเบาตามด้วยหนึ่งพยางค์ที่เน้นเสียงหนัก |
Anglo-Saxon | (n) คนที่มีภาษาแม่เป็นภาษาอังกฤษ |
article | (n) คำนำหน้านามในภาษาอังกฤษ |
B | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 2 |
b | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 2 |
baboo | (n) นาย (คำนำหน้าชื่อชายฮินดูเท่ากับ Mr.ในภาษาอังกฤษ), Syn. babu |
babu | (n) นาย (คำนำหน้าชื่อชายฮินดูเท่ากับ Mr ในภาษาอังกฤษ), Syn. baboo |
burr | (n) การลงเสียงหนักบนเสียง r ในภาษาอังกฤษ |
C | (n) อักษรตัวที่ 3 ในภาษาอังกฤษ |
c | (n) อักษรตัวที่ 3 ในภาษาอังกฤษ |
capital letter | (n) ตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ในภาษาอังกฤษ |
D | (n) พยัญชนะตัวภาษาอังกฤษที่ 4, See also: เลข 500 ตัวเลขโรมัน |
d | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 4, See also: เลข 500 ตัวเลขโรมัน |
E | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 5 |
e | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 5 |
English | (n) ภาษาอังกฤษ |
epsilon | (n) พยัญชนะตัวที่ 5 ในภาษากรีก (คล้ายพยัญชนะ e ในภาษาอังกฤษ) |
ex | (n) พยัญชนะในภาษาอังกฤษตัวที่ 24 |
F | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 6 |
f | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 6 |
hail up | (phrv) พักค้างคืนในโรงแรม (ใช้ในภาษาอังกฤษแบบออสเตรเลีย และเป็นคำไม่เป็นทางการ) |
high street | (n) ถนนใหญ่ (ที่มีร้านค้าสองข้างทาง) (ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ), See also: ถนนสายหลัก ที่มีร้านค้าสองข้างทาง |
highroad | (n) ถนนสายหลักในเมือง (ภาษาอังกฤษแบบอังกฤษ) |
I | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 9 |
I | (n) เสียงสระในภาษาอังกฤษ |
K | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 11 |
k | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 11 |
King's English | (idm) ภาษาอังกฤษมาตรฐาน, Syn. Queen's English, standard English |
L | (n) พยัญชนะตัวที่12 ในภาษาอังกฤษ |
l | (n) พยัญชนะตัวที่12 ในภาษาอังกฤษ |
M | (abbr) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 13 |
m | (abbr) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 13 |
Middle English | (n) ภาษาอังกฤษยุคกลาง (ช่วงปีค.ศ.1100-1500) |
Midland | (n) ภาษาอังกฤษซึ่งพูดในตอนกลางของประเทศ |
N | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 14 |
n | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 14 |
O | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 15 |
o | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 15 |
Old English | (n) ภาษาอังกฤษในยุคแรก, See also: ภาษาอังกฤษโบราณ, Syn. Anglo-Saxon |
Oxford accent | (n) สำเนียงภาษาอังกฤษแบบอ็อกซ์ฟอร์ดในประเทศอังกฤษ, See also: เป็นสำเนียงมาตรฐาน |
p | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 16 |
pidgin English | (n) ภาษาอังกฤษผสม |
Q | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 17 |
q | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 17 |
quantifier | (n) คำหรือวลีแสดงจำนวนซึ่งใช้ขยายคำนามในภาษาอังกฤษ |
r | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 18 |
R | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 18 |
received pronunciation | (n) การออกเสียงภาษาอังกฤษแบบมาตรฐาน (คำย่อคือ RP) |
rho | (n) อักษรกรีกตัวที่ 17 (อักษรแทนในภาษาอังกฤษคือ r ) |
a | (เอ) 1. พยัญชนะและสระตัวแรกในภาษาอังกฤษรูปตัว A, ชั้นหนึ่ง, อันดับหนึ่ง, สัญลักษณ์ธาตุ argon (the first letter) - อังสตรอมยูนิต abbr. assesssment, artery 2. อักษร A ในระบบเลขฐานสิบหก มีค่าเท่ากับ 10 ในเลขฐานสิบ |
american english | ภาษาอังกฤษที่ใชเในอเมริกา |
american language | ภาษาอังกฤษที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา (English) |
anglian | (แอง' กลิอัน, แอง' กลิค) adj., n. เกี่ยวกับ Angles, ชนเผ่า Anglies. ชื่อกลุ่มภาษาอังกฤษโบราณ |
anglicise | (แอง' กลิไซซ) vt., vi. ทำให้เป็นอังกฤษ (ขนบธรรมเนียม, ลักษณะ, มารยาท, ฯลฯ) ให้เป็นภาษาอังกฤษ. -Anglicis (z) ation n. -Anglicism n. |
anglicize | (แอง' กลิไซซ) vt., vi. ทำให้เป็นอังกฤษ (ขนบธรรมเนียม, ลักษณะ, มารยาท, ฯลฯ) ให้เป็นภาษาอังกฤษ. -Anglicis (z) ation n. -Anglicism n. |
anglo-saxon | (แอง' โกล' แซคเซิน) n. คนที่มีภาษาแม่เป็น อังกฤษ, คนอังกฤษสมัยก่อนที่ชาวนอร์มันเข้าครอบครอง, คนชาวอังกฤษ, คนที่มีบรรพบุรุษ เป็นอังกฤษ, ภาษาอังกฤษง่าย -adj. เปิดเผย, ตรงไปตรงมา, ทื่อ |
arsis | (อาร์'ซิส) n., (pl. -ses) จังหวะขึ้น, จังหวะเมา, พยางค์เสียงหนัก (ในโคลงกลอนภาษาอังกฤษ |
b | (บี) พยัญชนะตัวที่ 2 ของภาษาอังกฤษ |
briticism | (บริท'ทิซิสซึม) n. ภาษาอังกฤษที่เป็นลักษณะเฉพาะของอังกฤษ -S.Britishism |
british | (บริท'ทิช) adj., n. (เกี่ยวกับ) อังกฤษ, บริเทน, ชาวอังกฤษ, ภาษาอังกฤษ |
caps lock key | แป้นตรึงอักษรตัวใหญ่ <คำแปล>เป็นแป้น ๆ หนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีคำ Caps lock อยู่บนแป้น ปกติจะมีในเครื่องพิมพ์ดีดธรรมดาด้วย หากกดแป้นนี้ไว้ครั้งหนึ่งแล้ว ถ้าเป็นการพิมพ์ภาษาอังกฤษ จะมีผลทำให้การกดแป้นพิมพ์ตัวอักษรทุกตัวออกมาเป็นตัวใหญ่ (capital letter) ไปตลอด เหมือนกดแป้น Shift ไปพร้อมกัน แต่ถ้าพิมพ์ภาษาไทย การกดแป้นนี้ไว้ตั้งแต่แรก แล้วไปกดแป้นอื่น ก็จะเท่ากับเป็นการพิมพ์ตัวที่อยู่ข้างบนของแป้นพิมพ์ เช่น ฤ ฆ ฏ 1 2 หากต้องการยกเลิก ให้กดแป้นนี้ซ้ำอีกครั้งหนึ่ง |
case sensitivity | การบังคับใช้ตัวเล็ก/ตัวใหญ่หมายถึง ความแตกต่างระหว่างการใช้ตัวใหญ่และตัวเล็กของตัวอักษรในภาษาอังกฤษ โปรแกรมบางโปรแกรมหรือระบบบางระบบจะบังคับว่า ต้องใช้ตัวใหญ่ทั้งหมด หรือตัวเล็กทั้งหมด มิฉะนั้นเครื่องจะไม่เข้าใจ เช่น ชื่อโปรแกรมภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) หรือ ระบบยูนิกซ์ (UNIX) จะบังคับให้ใช้ตัวใหญ่เท่านั้น ส่วนระบบดอสและวินโดว์ไม่บังคับ กล่าวคือ ใช้ตัวเล็กก็ได้ตัวใหญ่ก็ได้ |
cobol | (โคบอล) ย่อมาจาก Common Business Oriented Language เป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง แรกเริ่มเดิมที นิยมใช้ในการเขียนโปรแกรมสำหรับงานด้านธุรกิจ ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (mainframe) แต่ปัจจุบัน ได้รับการดัดแปลงให้ใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ภาษาโคบอลนี้ออกจะละม้ายคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษธรรมดาอยู่ค่อนข้างมาก ภาษานี้เป็นภาษาสากล ที่ยังมีคนนิยมใช้กันแพร่หลายจนถึงปัจจุบัน |
english | (อิง'ลิช) adj. เกี่ยวกับอังกฤษ -n. ชาวอังกฤษ, ภาษาอังกฤษ |
helvetica | (เฮลเวติกา) เป็นชื่อแบบตัวอักษร (font) ภาษาอังกฤษแบบหนึ่ง มีลักษณะเป็นตัวตรง ๆ ไม่เล่นหาง ประเภทที่เรียกว่า sans serif แบบอักษรรูปนี้ได้รับความนิยมใช้กันอย่างกว้างขวางไม่แพ้แบบ Times มีใช้ทั้งในเครื่องแมคอินทอช และพีซี |
king's english | n..ภาษาอังกฤษที่ถูกต้อง., Syn. Queen's English |
natural language processi | การประมวลผลภาษาธรรมชาติหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำการประมวลผลได้โดยใช้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาธรรมชาติ พูดง่าย ๆ ก็คือ สามารถใช้ภาษาธรรมดา ๆ สั่งการให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามได้ ในปัจจุบัน คอมพิวเตอร์จะใช้ภาษาเฉพาะที่มีกฎเกณฑ์ ไวยากรณ์ และศัพท์ของตนเอง ที่เรียกว่า ภาษาเชิงมนุษย์ (human oriented language) เช่น ภาษา C ภาษา BASIC ภาษา COBOL ฯ ส่วนภาษาธรรมชาตินั้น หมายถึง ภาษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย แม้ว่าในปัจจุบัน จะมีการ พัฒนาด้านนี้กันไปไกลมาแล้ว แต่ก็สรุปได้ว่า ยังใช้การไม่ได้ดีเท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเป็นเพราะภาษานั้นมีความสลับซับซ้อนเป็นอย่างมาก ยากที่จะแปลหรือตีความให้ตาย ตัวได้ |
oa | (โอเอ) ย่อมาจาก office automation แปลว่า การอัตโนมัติสำนักงาน, สำนักงานอัตโนมัติ หมายถึง การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ภายในสำนักงาน เพื่อให้ดำเนินการไปโดยอัตโนมัติ หลีกเลี่ยงการปฏิบัติด้วยมือให้มากที่สุด เป็นต้นว่า การทำจดหมายเวียน (ข้อความในจดหมายเหมือน ๆ กัน แต่ส่งถึงชื่อคนหลายคน) ในกรณีนี้ หากใช้คอมพิวเตอร์ทำ ก็จะประหยัดเวลาได้มาก เพราะสามารถสั่งทีเดียวได้เลย ส่วนในความหมายของคำแปลที่ว่า "สำนักงานอัตโนมัติ" นั้น อธิบายง่าย ๆ ได้ว่า หมายถึง สำนักงานที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์นั่นเอง (ในภาษาอังกฤษ บางทีใช้ automated office) |
office automation | การอัตโนมัติสำนักงานใช้ตัวย่อว่า OA (อ่านว่า โอเอ) หมายถึง การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ภายในสำนักงาน เพื่อให้ดำเนินการไปโดยอัตโนมัติ หลีกเลี่ยงการปฏิบัติด้วยมือให้มากที่สุด เป็นต้นว่า การทำจดหมายเวียน (ข้อความในจดหมายเหมือน ๆ กัน แต่ส่งถึงชื่อคนหลายคน) ในกรณีนี้ หากใช้คอมพิวเตอร์ทำ ก็จะประหยัดเวลาได้มาก เพราะสามารถสั่งทีเดียวได้เลย ส่วนในความหมายของคำแปลที่ว่า "สำนักงานอัตโนมัติ" นั้น อธิบายง่าย ๆ ได้ว่า หมายถึง สำนักงานที่ใช้เครื่อวคอมพิวเตอร์นั่นเอง (ในภาษาอังกฤษ บางทีใช้ automated office) |
pidgin english | ภาษาอังกฤษผสม (เริ่มใช้ครั้งแรกในหมู่คนจีนตามท่าเรือ) , ภาษามั่ว, ภาษาผสม, Syn. Pidgin English |
programming language | ภาษาโปรแกรมหมายถึง ภาษาที่ออกแบบโครงสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการเขียนคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ทำนองเดียวกับตัวโน้ตของภาษาดนตรี ภาษาโปรแกรมมีตั้งแต่ระดับต่ำสุด คือใกล้เคียงกับภาษาเครื่อง (machine language) มากที่สุด ไปจนถึงภาษาระดับสูง คือใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ (ภาษาอังกฤษธรรมดา ๆ) มากที่สุดดู language ประกอบ |
pseudo code | รหัสเทียมรหัสลำลองหมายถึง การเขียนโปรแกรมโดยไม่ต้องคำนึงถึงไวยากรณ์ แต่เป็นภาษาที่นักเขียนโปรแกรมเข้าใจกันได้ มีลักษณะเป็นภาษาอังกฤษธรรมดาส่วนหนึ่ง เป็นภาษาทำโปรแกรม (programming language) อีกส่วนหนึ่งดู programming language ประกอบ |
q | (คิว) พยัญชนะตัวที่ 17 ของภาษาอังกฤษ, รูปตัว Qหรือq |
record | (เรค'เคิร์ด) n. บันทึก, การบันทึก, สำนวน, สิ่งที่บันทึกไว้, ประวัติ, เอกสาร, หลักฐานที่บันทึกหรือเก็บไว้, จานเสียง, แผ่นเสียง, เทปบันทึก vt., vi. (รีคอร์ด') บันทึก, ลงบันทึก adj. เป็นบันทึก, เกี่ยวกับบันทึก, ยอดเยี่ยม, ทำลายสถิติ, ตีกว่าคนอื่น ๆ ทั้งหมด, -Phr. (on record เป็นที่รู้กัน) ระเบียนบันทึก1. หมายถึงหน่วยหนึ่งของข้อมูลที่บันทึกไว้ในฐานหรือคลังข้อมูลโดยปกติ ระเบียนหนึ่งจะประกอบด้วยเขตข้อมูล (field) 1 เขตขึ้นไป เช่น ระเบียนของพนักงานของบริษัทแห่งหนึ่ง ประกอบด้วยเขตข้อมูล 10 เขต มี ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ วันเข้าทำงาน เงินเดือนที่ได้รับ ตำแหน่งปัจจุบัน ฯ เป็นต้น ดู field ประกอบ2. ในอีกความหมายหนึ่ง แปลว่า บันทึกเก็บในหน่วยความจำหรือในสื่อที่ใช้เก็บข้อมูลชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น จานบันทึก (ในภาษาอังกฤษ มักใช้คำว่า write แทนมากกว่า) |
s | (เอส) n. พยัญชนะตัวที่ 19 ของภาษาอังกฤษ |
sans serif | แซนเซอริฟ <คำอ่าน>เป็นแบบอักษร (font) ภาษาอังกฤษแบบหนึ่งที่ไม่มีส่วนงอนโค้งของส่วนปลายสุดของตัวอักขระ ส่วนงอนโค้งนี้ในภาษาอังกฤษ เรียกกันว่า serif ฉะนั้น sans serif ก็หมายความว่าปราศจากส่วนนี้ (sans เป็นภาษาฝรั่งเศส แปลว่า ปราศจาก) แบบอักษรชนิดนี้จะมีลักษณะเป็นตัวตรง ๆ เหมาะสำหรับใช้พิมพ์ชื่อเรื่อง พาดหัวตัวโต ๆ ว่ากันว่าให้อ่านง่าย ในระบบวินโดว์ของพีซี กรอบสนทนาทั้งหมดใช้แบบอักษรนี้ ฉะนั้น ต้องระวังอย่าลบแบบอักษรนี้ออกจากหน่วยความจำโดยเด็ดขาด ดู serif เปรียบเทียบ |
saxon | (แซค'เซิน) n., adj. ชาวอังกฤษ, ชาวแองโกล-แซกซอน, ภาษาอังกฤษโบราณ |
shift key | (แป้นพิมพ์) แป้นเปลี่ยน (ชุดอักษร) แป้นยกเป็นแป้นหนึ่งที่มีใช้ทั้งในแป้นพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ดีด และแป้นพิมพ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ (แป้นนี้ มักจะมีเครื่องหมายลูกศรบนแป้น) โดยปกติแผงแป้นอักขระจะมีไว้ให้ 2 แป้น ทั้งทางด้านซ้ายและขวา การกดแป้นนี้เพียงลำพังแป้นเดียว จะไม่ทำให้เกิดอะไรขึ้น แต่ถ้ากดพร้อมกับแป้นตัวอักษรใดในภาษาอังกฤษ จะทำให้พิมพ์ตัวอักษรนั้นออกมาเป็นตัวใหญ่ (capital letter) ถ้าเป็นภาษาไทย ก็จะเป็นตัวที่อยู่ข้างบน เช่น ฤ ฆ ฏ ฑ ฒ นอกจากนั้น ในบางโปรแกรม เช่น โปร แกรมวาดภาพ การกดแป้นนี้พร้อมกับ ลากเส้น จะทำให้ลากได้เป็นเส้นตรง ถ้ากดพร้อมกับลากรูปสี่เหลี่ยม ก็จะทำให้รูปที่วาด เป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัส เป็นต้น |
space character | ช่องว่าง (ตัวอักขระ) ในภาษาอังกฤษ หมายถึง ช่องว่างระหว่างคำที่เกิดจากการกดที่คานเคาะ ในภาษาไทย มีความหมายเหมือน "เว้นวรรค" ช่องว่างนี้ คอมพิวเตอร์จะถือว่าเป็นอักขระตัวหนึ่งเหมือนกัน (เหมือนตัวอักษร A B C D) |
spell checker | โปรแกรมตรวจตัวสะกดหมายถึง โปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อใช้ช่วยในการตรวจสอบตัวสะกดการันต์ของข้อความที่พิมพ์ โดยเทียบกับพจนานุกรม (โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ) มักใช้ร่วมกับโปรแกรมประมวลคำ (word processing) ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาไปมากนอกจากจะทักท้วงถ้าพบตัวที่สะกดผิดแล้ว ยังแสดงคำที่สะกดถูกให้ด้วย |
star-dot-star | ดอกจันจุดดอกจันหมายถึงเครื่องหมาย *.* (ในภาษาอังกฤษเรียกสัญลักษณ์ * นี้ว่า "star") ในระบบดอส หมายถึงแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้ม เช่น "Copy A:*.* C:" แปลว่าให้คัดลอกแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มใน A: ไปไว้ใน C: ดู wildcard ประกอบ |
t | (ที) พยัญชนะตัวที่ 20 ของภาษาอังกฤษ |
t. | (ที) พยัญชนะตัวที่ 20 ของภาษาอังกฤษ |
times new roman | ไทมส์นิวโรมัน <คำอ่าน>เป็นชื่อแบบอักษร (font) ภาษาอังกฤษแบบหนึ่ง เป็นที่นิยมใช้กันมาก เพราะสวย และอ่านง่าย เป็นแบบหนึ่งที่ให้มาพร้อมกับระบบวินโดว์ |
turnkey system | ระบบพร้อมสรรพหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีบริภัณฑ์รอบข้าง (peripherals equipment) ครบบริบูรณ์หนึ่งชุด ที่พร้อมจะทำงานทันทีที่เปิดเครื่อง ศัพท์คำนี้มาจากระบบอุตสาหกรรมรถยนต์ กล่าวคือ พอไขกุญแจ (ภาษาอังกฤษใช้ว่า turn key) เมื่อใด ก็จะขับออกไปได้เลย สรุป ก็คือ ระบบนี้หมายถึงระบบคอมพิวเตอร์เบ็ดเสร็จทั้งระบบ ตั้งแต่ส่วนตัวเครื่อง (hardware) รวมทั้งซอฟต์แวร์ที่จะใช้ (มักใช้ในความหมายที่เป็นการส่งมอบให้ลูกค้า) |
u | (ยู) n. พยัญชนะตัวที่ 21 ของภาษาอังกฤษ |
upper case | ตัวใหญ่เมื่อใช้กับตัวอักษรภาษาอังกฤษ จะมีความหมายเหมือน capital letter เช่น A B C D ศัพท์นี้มาจากการใช้ตัวตัวเรียงพิมพ์ในสมัยก่อน ตัวใหญ่ จะอยู่ในถาดข้างบนจึงเรียกว่า upper case และตัวเล็ก (เช่น a b c d) จะอยู่ในถาดข้างล่าง จึงเรียกว่า lower case |
v | (วี) n. พยัญชนะตัวที่ 22 ของภาษาอังกฤษ |
w | (ดับ'เบิลยู) n. พยัญชนะตัวที่ 23 ของภาษาอังกฤษ |
x | (เอกซฺ) n.พยัญชนะตัวที่ 24 ของภาษาอังกฤษ |
y | (ไว) n. พยัญชนะตัวที่ 25 ของภาษาอังกฤษ pl., n. Y's, Ys, ys |
z | (American:ซี', British:เซด) n. พยัญชนะตัวที่ 26 ของภาษาอังกฤษ |
zapf chancery | แซพฟ แชนเซอรี <คำอ่าน>เป็นชื่อแบบอักษร (font) ที่ใช้ในภาษาอังกฤษแบบหนึ่ง (ภาษาไทยใช้ไม่ได้) ใช้กับเครื่องแมคอินทอช |
be grudge | กรุณาเอาคำนี้ออกจากเพจเพราะมันเขียนผิดครับ ในภาษาอังกฤษมี to bear/hold a grudge และ to begrudge ด้วย แต่ไม่มีคำว่า to be grudge หรอกครับ |
fully fashioned | [Fully fashioned (ฟุ้ล หลิ แฝด เฉิ่น ดฺ) / Full-fashioned (ฟุล แฟ้ด เฉิ่น ดฺ)] (adj) 1. Fully fashioned (ฟุ้ล หลิ แฝด เฉิ่น ดฺ) เป็นคำคุณศัพท์ที่มีใช้ในภาษาอังกฤษ (ฺBrE.) 2. Full-fashioned (ฟุล แฟ้ด เฉิ่น ดฺ) เป็นคำคุณศัพท์ที่มีใช้ในภาษาอเมริกัน (ฺAmE.) ทั้งสองคำมีความหมายว่า "เย็บเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มแบบเข้ารูปหรือรัดรูป" เช่น Fully fashioned clothes (เสื้อผ้ารัดรูป) / fully fashioned stockings (ถุงน่องรัดรูป) / fully fashioned tights (กางเกงถุงน่องรัดรูป) เป็นต้น |
lv | [เอลวี] ในภาษของเกมส์ online ---- LV จะย่อมาจาก level ซึ่งความหมายของ lavel ในภาษาอังกฤษคือ ระดับ, ขั้น, ชั้น เช่น Character LV.99 เท่ากับ ตัวละครเลเวล 99 นั้นเอง |
much obliged | (phrase) (ภาษาอังกฤษโบราณ แต่ก็ยังมีใช้กันอยู่) ขอบคุณ, เป็นคำแสดงความระลึกถึงบุญคุณของอีกฝ่าย |
nla | (abbrev, name, org) สนช. ย่อมาจากคำว่า สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เกิดขึ้นจากการแต่งตั้งของคณะรัฐประหาร(19 กันยายน 2548)โดยภาษาอังกฤษคำเต็มคือ National Legislative Assembly |
Pharmacopoeia | [ฟามาโคเปีย] (n, pharm) หนังสือตำรายาฉบับสากล ยอมรับและใช้กันทั่วโลก บอกข้อมูลเกี่ยวกับยาและวิธีการตรวจสอบยาในหัวข้อต่างๆ หัวข้อใน pharmacopoeia เช่น Description, Purity rubric, Identification, Assay เป็นต้น Pharmacopoeia ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น USP(pharmacopoeia ของUSA), BP(pharmacopoeia ของBritish) JP(pharmacopoeia ของ Japan) ปัจจุบันประเทศไทยมี pharmacopoeia เป็นของตัวเองแล้ว โดยใช้อักษรย่อว่า TP จัดพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ |
Potato Potato | [โพเทโท่ โพทาโท่] (slang) เหมือนๆกัน เป็นสำนวนของภาษาอังกฤษที่เล่นกับการออกเสียง Potato ทั้งสองคำจะอ่านต่างกัน (เสียง แอ กับเสียง อา) ซึ่งทั้งสองล้วนแปลว่า มันฝรั่ง เหมือนกัน, Syn. Same |
Trypophobia | (n, name) โรคกลัวรู (ภาษาอังกฤษ : Trypophobia) คือ ภาวะความเกลียดกลัว ขยะแขยง เมื่อเห็นพื้นของวัตถุมีลักษณะเป็นรู เป็นหลุม หรือเป็นช่องกลมๆ ตะปุ่มตะป่ำ กระจุกรวมตัวกันเยอะๆ |
unaccompany | [อันอะคัม\'พะนีด์] (adj) ตามลำพัง, ไม่มีเพื่อน, (ดนตรีบรรเลง)เดี่ยว ที่มา: ฝ่ายวิชาการภาษาอังกฤษ บ.ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด(มหาชน), See also: lonely, alone |
yogh | ตัวอักษรภาษาอังกฤษสมัยกลาง ใช้แทนเสียง วาย (y) |
ภาษาพูด | [อังกฤษ] (colloq) ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ |
Frau | นาง (คล้าย Mrs. ในภาษาอังกฤษ) |
auch | ด้วย, คล้าย too ในภาษาอังกฤษ |
das | (artikel) คำนำหน้านามเพศกลางที่เฉพาะเจาะจง (เหมือน the ในภาษาอังกฤษ) |
daß | (konj) ที่ว่า (ใช้เป็นคำเชื่อมระหว่างวลี หรืออนุประโยค คล้าย that ในภาษาอังกฤษ) เช่น Ich rechne damit, daß er mich heute anruft. ฉันคาดว่า เขาจะโทรมาหาฉันวันนี้ |
dem | (artikel) คำนำหน้านามที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) ที่อยู่ในรูป Dativ สำหรับคำนามเพศชาย der, และเพศกลาง das |
den | (artikel) คำนำหน้านามที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) 1. ที่อยู่ในรูป Akkusativ สำหรับคำนามเพศชาย der เช่น für den Mann สำหรับผู้ชายคนนั้น 2. ที่อยู่ในรูป Dativ สำหรับคำนามพหูพจน์เพศใดๆ เช่น mit den Männern กับผู้ชายเหล่านั้น |
der | (artikel) คำนำหน้านามเพศชายที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) ที่อยู่ในรูปประธาน |
der | (artikel) คำนำหน้านามเพศหญิงที่เฉพาะเจาะจงที่อยู่ในรูป Dativ (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) เช่น an der Tür ตรงประตู (Tür เป็นเพศหญิง) |
die | (artikel) คำนำหน้านามที่เฉพาะเจาะจงสำหรับเพศหญิง หรือพหูพจน์ (เหมือน the ในภาษาอังกฤษ), See also: der, das |
ist | เป็น อยู่ คือ (คล้าย is ในภาษาอังกฤษ), See also: sein |
lassen | ยอมให้ (คล้าย let ในภาษาอังกฤษ) (กรณีกริยาช่วย) |
lassen | วางไว้ ปล่อยไว้ (คล้าย let ในภาษาอังกฤษ) (กรณีกริยาแท้) | ließ, gelassen | |
mehr | มากกว่า (คล้าย more ในภาษาอังกฤษ) |
mit | ด้วย (คล้าย with ในภาษาอังกฤษ) |
ob | ว่าจะ-หรือไม่ คล้าย if หรือ whether ในภาษาอังกฤษ |
sich | reflexive pronoun คล้าย himself ในภาษาอังกฤษ |
sind | เป็น อยู่ คือ (คล้าย are ในภาษาอังกฤษ), See also: sein |
war | เป็น อยู่ คือ (คล้าย was ในภาษาอังกฤษ), See also: sein |
wir | เรา (คล้าย we ในภาษาอังกฤษ) |
wurde | จะ (คล้าย would ของภาษาอังกฤษ), See also: wurden |
wurden | จะ (คล้าย would ในภาษาอังกฤษ) |
Scheisse! | (n, slang) เป็นคำด่า หรือ คำบ่น เวลาอะไรไม่ดี คล้ายกับ shit ในภาษาอังกฤษ ความหมายตรงตัวคือ อุจจาระ |
Kumpel | (n) |der, pl. Kumpel| เพื่อนสนิท, คู่ซี้ (ความหมายคล้ายกับคำ buddy ในภาษาอังกฤษ) |
Verdammt noch mal! | (phrase) เป็นคำด่า, สาบแช่ง (ค่อนข้างหยาบ) เทียบได้กับภาษาอังกฤษว่า Damn it! |
Ach! | (phrase) คำแสดงความตกใจ หรือประหลาดใจ คล้ายกับ เหรอ! ฮ้า! (เทียบได้ประมาณ Oh! ในภาษาอังกฤษ) |
weltweit | (adj, adv) ทั่วโลก, ที่มีอยู่ทั่วโลก เช่น Englisch wird weltweit gesprochen. ภาษาอังกฤษถูกใช้ไปทั่วโลก |
Englisch | (n) |das| ภาษาอังกฤษ |
englisch | (adj) ที่เกี่ยวกับอังกฤษ เช่น englischer Tee ชาอังกฤษ, englische Bücher หนังสือภาษาอังกฤษ |