มาตรฐาน | (n) standard, See also: criterion, Example: ในฤดูฝน โมเด็มบางรุ่นที่มีคุณภาพไม่ตรงตามมาตรฐานอาจจะหยุดทำงานไปเฉยๆ, Thai Definition: สิ่งที่ถือเอาเป็นหลักสำหรับเทียบกำหนด |
ค่ามาตรฐาน | (n) standard score, See also: default value, Example: ในการใช้โปรแกรมนี้ ผู้ใช้เพียงแต่ตอบคำถามง่ายๆ เพียงไม่กี่คำถาม นอกนั้นวินโดวส์จะกำหนดค่ามาตรฐานให้หมดอย่างอัตโนมัติ |
วางมาตรฐาน | (v) standardize, Example: ไอบีเอ็มได้วางมาตรฐานของการแสดงผลแบบใหม่ของจอคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถแสดงผลได้ความละเอียดสูงขึ้น, Thai Definition: หนดมาตรฐานเพื่อบอกถึงรูปแบบ คุณลักษณะ หรือคุณสมบัติ ทีควรจะมีเหมือนกัน |
ได้มาตรฐาน | (v) standardized, See also: be up to standard, Syn. ตามมาตรฐาน, Ant. ต่ำกว่ามาตรฐาน, Example: ผมรับรองได้ว่าคอมพิวเตอร์เหล่านี้ได้มาตรฐานตามที่กระทรวงกำหนด, Thai Definition: ไม่ถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้ |
ตั้งมาตรฐาน | (v) set a standard, See also: establish a standard, Example: ศูนย์อำนวยการฝึกอบรมพนักงานใหม่ตั้งมาตรฐานและคุณภาพไว้สูงจนปฏิบัติตามได้ยาก, Thai Definition: กำหนดมาตรฐาน |
ภาษามาตรฐาน | (n) standard language, Example: ภาษาของชาวกรุงชาวเมืองซึ่งถือว่าเป็นภาษามาตรฐานของส่วนรวม ถือว่า อ้าย อี เป็นคำไม่สุภาพ |
มาตรฐานสากล | (n) universal standard, See also: international standard, Example: ตุ๊กตาผ้าของคุณหญิงทองก้อน เป็นตุ๊กตาที่ทำขึ้นอย่างประณีต ได้มาตรฐานสากล, Thai Definition: สิ่งที่ถือเป็นหลักของทั้งหมด, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
เวลามาตรฐาน | (n) standard time, Example: พระอาทิตย์จะตกประมาณ 18.30 นาที ตามเวลามาตรฐานของประเทศไทย |
มาตรฐานแรงงาน | (n) labour standards, Example: เจ้าของสถานประกอบการต้องการให้มีการกำหนดมาตรฐานแรงงานของชาติในทุกระดับ |
มาตรฐานแรงงาน | (n) labour standards, Example: เจ้าของสถานประกอบการต้องการให้มีการกำหนดมาตรฐานแรงงานของชาติในทุกระดับ |
รูปแบบมาตรฐาน | (n) standard form, See also: standard pattern |
มาตรฐานการครองชีพ | (n) standard of living, Example: ชาวจีนมีมาตรฐานการครองชีพที่สูงขึ้น ส่งผลให้ความต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารเพิ่มสูงขึ้น, Thai Definition: ระดับที่เป็นอุดมคติ หรือที่เป็นบรรทัดฐานของการบริโภค |
มาตรฐานการครองชีพ | (n) standard of living, Example: รัฐบาลควรยกระดับทางเศรษฐกิจและสังคม ปรับปรุงมาตรฐานการครองชีพของประชาชนให้สูงขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีรายได้และฐานะดีขึ้น |
มาตรฐานอุตสาหกรรม | (n) industrial standard, Example: ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกคนจะต้องให้ความสนใจกับมาตรฐานอุตสาหกรรมสากล |
มาตรฐานอุตสาหกรรม | (n) industrial standard, Example: ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกคนจะต้องให้ความสนใจกับมาตรฐานอุตสาหกรรมสากล |
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม | (n) Thai Industrial Standards Institute, Syn. มอก. |
มาตรฐาน | (มาดตฺระ-) น. สิ่งที่ถือเอาเป็นเกณฑ์ที่รับรองกันทั่วไป เช่น เวลามาตรฐานกรีนิช, สิ่งที่ถือเอาเป็นเกณฑ์สำหรับเทียบกำหนด ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เช่น มาตรฐานอุตสาหกรรม หนังสือนี้ยังไม่เข้ามาตรฐาน. |
ความถ่วงจำเพาะ | น. อัตราส่วนของนํ้าหนักของเทหวัตถุกับนํ้าหนักของสารมาตรฐานที่มีปริมาตรเท่ากับเทหวัตถุนั้น โดยทั่วไปใช้นํ้าบริสุทธิ์ที่อุณหภูมิ ๔ ํซ. เป็นสารมาตรฐาน. |
จุดเยือกแข็ง | น. อุณหภูมิที่เกิดภาวะสมดุลระหว่างของแข็งกับของเหลว ณ ความกดมาตรฐาน ๑ บรรยากาศ, อุณหภูมิที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง ณ ความกดมาตรฐาน ๑ บรรยากาศ, (อุณหภูมินี้เป็นอุณหภูมิเดียวกับจุดหลอมเหลวของสารเดียวกัน). |
จุดหลอมเหลว | น. อุณหภูมิที่เกิดภาวะสมดุลระหว่างของแข็งกับของเหลว ณ ความกดมาตรฐาน ๑ บรรยากาศ, อุณหภูมิที่ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว ณ ความกดมาตรฐาน ๑ บรรยากาศ, (อุณหภูมินี้เป็นอุณหภูมิเดียวกับจุดเยือกแข็งของสารเดียวกัน). |
ช่อง | ย่านความถี่ที่ใช้สัญญาณภาพและเสียงที่กำหนดไว้ต่าง ๆ กัน ตามมาตรฐานการส่งกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์, (ปาก) คำเรียกสถานีโทรทัศน์แต่ละสถานี เช่น ดูละครช่อง ๗ |
เซลเซียส | น. ชื่อองศาที่ใช้วัดอุณหภูมิ แบ่งออกเป็น ๑๐๐ องศา เรียกว่า องศาเซลเซียส เดิมเรียกว่า องศาเซนติเกรด กำหนดเป็นมาตรฐานว่า จุดเยือกแข็งของนํ้าบริสุทธิ์เป็น ๐ องศา (เขียนย่อว่า ๐ ºซ.) และจุดเดือดของนํ้าบริสุทธิ์เป็น ๑๐๐ องศา (เขียนย่อว่า ๑๐๐ ºซ.), อักษรย่อว่า ซ. |
ตราชู | (ตฺรา-) น. เครื่องชั่งชนิดที่มีถาดชั่งห้อยอยู่ ๒ ข้างคันชั่งหรืออยู่ที่ปลายคาน ๒ ข้างของคันชั่ง ถาดหนึ่งสำหรับใส่ของที่จะชั่ง อีกถาดหนึ่งใส่ตุ้มน้ำหนักมาตรฐาน จนตุ้มน้ำหนักสมดุลกับของที่ชั่ง และคานอยู่ในระนาบ. |
ทองแดง ๓ | น. สำเนียงของคนภาคใต้ที่พูดภาษากลางเพี้ยนไปจากสำเนียงมาตรฐาน. |
เภสัชเคมี | (เพสัด-) น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยการเตรียม การสังเคราะห์ การวิเคราะห์ และการทำสารเคมีที่ใช้เป็นยาให้ได้มาตรฐาน. |
เมริเดียนแรก | น. เมริเดียนที่ลากผ่านหอตรวจดาว เมืองกรีนิช เป็นเมริเดียนที่ใช้กำหนดเวลามาตรฐานกรีนิช และใช้เป็นเมริเดียนแรกหรือเมริเดียน ๐ องศาเพื่อกำหนดเมริเดียนอื่น ๆ โดยใช้วัดจากเมริเดียนกรีนิชเป็นหลัก. |
ระดับ | น. ลักษณะของพื้นผิวตามแนวนอนระหว่างจุด ๒ จุดที่มีความสูงเสมอกัน โดยปรกติใช้ระดับนํ้าทะเลเป็นมาตรฐานในการวัด, เรียกเครื่องวัดความเสมอของพื้นผิวว่า เครื่องวัดระดับ. |
โรเมอร์ | น. ชื่อองศาที่ใช้วัดอุณหภูมิ เรียกว่า องศาโรเมอร์ กำหนดเป็นมาตรฐานว่า จุดเยือกแข็งของนํ้าบริสุทธิ์เป็น ๐ องศา และจุดเดือดของนํ้าบริสุทธิ์เป็น ๘๐ องศา. |
เลว | ว. มีค่าตํ่ากว่ามาตรฐาน เช่น กระดาษเลวเขียนหมึกแล้วซึม |
วิ่งทน | ก. วิ่งแข่งระยะทางไกล กำหนดระยะทางตามมาตรฐานการแข่งขันโอลิมปิก คือ ๒๖ ไมล์ ๓๘๕ หลา หรือ ๔๑.๘ กิโลเมตร, วิ่งมาราธอน ก็ว่า. |
วิ่งมาราธอน | ก. วิ่งแข่งระยะทางไกล กำหนดระยะทางตามมาตรฐานการแข่งขันโอลิมปิก คือ ๒๖ ไมล์ ๓๘๕ หลา หรือ ๔๑.๘ กิโลเมตร, วิ่งทน ก็ว่า. |
สอบ ๑ | ก. ตรวจ ทดลอง เปรียบเทียบ หรือไล่เลียง เพื่อหาข้อเท็จจริง หรือวัดให้รู้ว่ามีความรู้หรือความสามารถแค่ไหน เช่น สอบตาชั่งให้ได้มาตรฐาน สอบราคาสินค้า สอบปากคำผู้ต้องหา สอบพิมพ์ดีด. |
สอบเทียบ, สอบเทียบความรู้ | ก. สอบเพื่อเทียบว่ามีความรู้เข้าเกณฑ์มาตรฐานที่ทางราชการกำหนดหรือไม่. |
สอบไล่ | ก. สอบความรู้ที่เล่าเรียนมาว่าได้ตามมาตรฐานของหลักสูตรแต่ละขั้นหรือทั้งหมด. |
สะเก็ด | โดยปริยายหมายความว่า เศษเล็กเศษน้อยซึ่งมีค่าตํ่ากว่ามาตรฐาน, เลว, เช่น คนสะเก็ดอย่างนั้น ใครจะคบด้วย. |
เสียงเหน่อ | น. เสียงพูดที่เพี้ยนไปจากสำเนียงมาตรฐาน. |
เหน่อ | (เหฺน่อ) ว. มีเสียงพูดที่เพี้ยนไปจากสำเนียงมาตรฐาน. |
อุดมคติ | (อุดมมะ-, อุดม-) น. จินตนาการที่ถือว่าเป็นมาตรฐานแห่งความดี ความงาม และความจริง ทางใดทางหนึ่งที่มนุษย์ถือว่าเป็นเป้าหมายแห่งชีวิตของตน. |
อุตสาหกรรม | ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการอุตสาหกรรม การมาตรฐานเกี่ยวกับกิจการอุตสาหกรรม และทรัพยากรธรณี. |
primary cardinal vowels | สระมาตรฐานชุดหลัก [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
labour standard | มาตรฐานแรงงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
longitudinal bend specimen | ชิ้นทดสอบมาตรฐานดัดโค้งตามยาว [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
living, standard of; living standard | มาตรฐานการครองชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
R/I treaty standard slip | ใบคำขอมาตรฐานสัญญาประกันภัยต่อ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
standard | มาตรฐาน, มาตรา, ขนาด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
standard air | อากาศมาตรฐาน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
standard conditions | ภาวะมาตรฐาน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
standard construction | สิ่งปลูกสร้างมาตรฐาน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
standard deviation | ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
standard deviation | ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
standard deviation | ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
standard error | ความเคลื่อนคลาดมาตรฐาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
standard fire policy | กรมธรรม์อัคคีภัยมาตรฐาน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
standard score | คะแนนมาตรฐาน [ มีความหมายเหมือนกับ z score ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
standard treatment; treatment, conventional | การรักษาแบบมาตรฐาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
standard turnover | ยอดขายมาตรฐาน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
standard version | แบบมาตรฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
standard, labour | มาตรฐานแรงงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
standard, living; standard of living | มาตรฐานการครองชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
standardisation; standardization | การจัดเข้ามาตรฐาน, การเทียบมาตรฐาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
standardise; standardize | ๑. ทำให้เป็นมาตรฐาน๒. สร้างมาตรฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
substandard life | ชีวิตต่ำกว่ามาตรฐาน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
shear test specimen | ชิ้นทดสอบมาตรฐานแรงเฉือน [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
seminormal | ๑. กึ่งนอร์แมล๒. กึ่งปรกติ๓. กึ่งมาตรฐาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
secondary cardinal vowels | สระมาตรฐานชุดรอง [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
standard | มาตรฐาน, มาตรา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
standardized birth rate | อัตราเกิดปรับตามมาตรฐาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
standardized mortality rate | อัตราภาวะการตายปรับเข้ามาตรฐาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
standardized mortality ratio | อัตราส่วนภาวะการตายปรับเข้ามาตรฐาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
standardized random variable | ตัวแปรสุ่มมาตรฐาน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
standardized rate | อัตราปรับเข้ามาตรฐาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
standard of living; standard, living | มาตรฐานการครองชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
standard of living | มาตรฐานการครองชีพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
standard population | ประชากรมาตรฐาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
standard rating | ค่าประเมินมาตรฐาน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
standard rating conditions | ภาวะค่าประเมินมาตรฐาน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕] |
standard form | แบบมาตรฐาน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
standard form | รูปแบบมาตรฐาน [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
standard form contract | สัญญาตามแบบมาตรฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
standard marine clause | ข้อกำหนดการประกันภัยทางทะเลมาตรฐาน มีความหมายเหมือนกับ Institute Clauses [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
standard medication; medication, conventional | โอสถบำบัดแบบมาตรฐาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
standard metropolitan statistical area | พื้นที่ทางสถิติของเมืองมาตรฐาน (สหรัฐอเมริกา) [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
standard mortality rate | อัตราภาวะการตายมาตรฐาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
standard of construction | มาตรฐานสิ่งปลูกสร้าง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
standardise; standardize | จัดเข้ามาตรฐาน, เทียบมาตรฐาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
standardise; standardize | ๑. ทำให้เป็นมาตรฐาน๒. สร้างมาตรฐาน [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
standardization; standardisation | การจัดเข้ามาตรฐาน, การเทียบมาตรฐาน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
standardization | การวางมาตรฐาน, การปรับเข้ามาตรฐาน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
standardization | การวางมาตรฐาน, การปรับเข้ามาตรฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
International Standard Book Number | เลขมาตรฐานหนังสือสากล, Example: <p><img src="http://stks.or.th/thaiglossary/sites/default/files/isbn_0.jpg" alt="ISBN"> [เทคโนโลยีการศึกษา] |
National Information Standards Organization - NISO | องค์การแห่งชาติสหรัฐอเมริกาว่าด้วยการมาตรฐานสารสนเทศ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
American National Standards Institute | สถาบันแห่งชาติสหรัฐอเมริกา ว่าด้วยการมาตรฐาน (ANSI) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
American National Standards Institute | สถาบันแห่งชาติสหรัฐอเมริกาว่าด้วยการมาตรฐาน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
International Standard Bibliographic Descriptions | มาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรมทั่วไป, ข้อมูลทางบรรณานุกรมสากล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
International Standard Book Number | เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ, Example: <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/isbn.jpg" alt="International Standard Book Number"> <p>เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ หรือ International Standard Book Number หรือ ISBN <p>ประวัติความเป็นมา : บริษัท W.H. Smith (http://www.whsmith.co.uk) ซึ่งเป็นผู้จำหน่ายหนังสือรายใหญ่ของอังกฤษ ได้ร่วมกับสภาสมาคมสำนักพิมพ์ และ Prof. F.G. Foster แห่ง The London School of Economic จัดทำตัวเลขกำกับหนังสือเพื่อให้เป็นมาตรฐาน (Standard Book Number: SBN) ในปี ค.ศ. 1967 ต่อมา ISO (International Standard Organization: องค์การมาตรฐานระหว่างประเทศ) ร่วมกับสมาคมสำนักพิมพ์ และห้องสมุดต่างๆ ของยุโรป และอเมริกา เห็นความสำคัญของตัวเลขดังกล่าว จึงปรับปรุงให้เป็นระบบสากล ในปี ค.ศ. 1970 เรียกว่า ISBN (International Standard Book Number) <p>สำหรับประเทศไทยได้มีการนำ ISBN มาใช้โดยปี พ.ศ. 2519 หอสมุดแห่งชาติ ร่วมกับศูนย์ประมวลผลด้วยเครื่องจักรแห่งประเทศไทย สำนักงานสถิติแห่งชาติ สร้าง ISBN ภายในประเทศ และเผยแพร่ในปี พ.ศ. 2521 เป็นต้นมา <p>โครงสร้างของเลข ISBN : เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ มีตัวเลข 10 หรือ 13 หลัก โดยแบ่งเป็น 4-5 ส่วน ตัวเลขแต่ละส่วนถูกแบ่งให้ชัดเจนด้วยเครื่องหมาย (-) หรือเว้นวรรค ส่วนที่ 1 รหัสบาร์โค้ด แสดงสินค้า/ผลิตภัณฑ์ ส่วนที่ 2 รหัสกลุ่มประเทศ (Group identifier) แบ่งตามประเทศหรือกลุ่มประเทศตามภูมิศาสตร์หรือกลุ่มประเทศตามภาษา มี 1-5 หลัก เช่น 974 รหัสประเทศไทย ส่วนที่ 3 รหัสสำนักพิมพ์ (Publisher prefix) มี 2-7 หลัก ขึ้นกับว่าสำนักพิมพ์นั้นพิมพ์หนังสือมากน้อยเพียงใดถ้าพิมพ์มากจะได้รหัสน้อยหลัก สำหรับ สวทช. คือ 229 ส่วนที่ 4 รหัสลำดับชื่อเรื่อง (Title number) มีกี่หลักขึ้นกับจำนวนรหัสกลุ่มและรหัสสำนักพิมพ์ ส่วนที่ 5 เลขตรวจสอบ (Check digit) ใช้ตรวจสอบว่าเลขที่ถูกป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์นั้นถูกต้องหรือไม่ มี 1 หลัก (0-9) หรือ X <p>ISBN เป็นประโยชน์ต่อหลายวงการ เช่น ห้องสมุด นำ ISBN มาประยุกต์ใช้ในการยืมคืน การยืมระหว่างห้องสมุด การสืบค้น เข้าถึง และแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือ ร้านหนังสือ คลังสินค้าต่างๆ ISBN ช่วยในการบริหารสินค้าและคลังสินค้า ทำให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว <p>การขอรับเลข ISBN จากหอสมุดแห่งชาติ : สำนักพิมพ์ โรงพิมพ์ หรือหน่วยงานราชการ ต้องกรอกรายละเอียดของหนังสือในแบบฟอร์มการขอเลข ISBN ได้ 4 วิธี 1. ทางจดหมาย ถึง ผู้อำนวยการสำนักหอสมุดแห่งชาติ 2. ทางโทรสาร ที่หมายเลข 0-2281-5450, 0-2628-5175 3. ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ที่ E-mail : [email protected] 4. ติดต่อขอรับด้วยตนเอง ที่กลุ่มงานคัดเลือกและประเมินคุณภาพทรัพยากรห้องสมุด <p>สิ่งพิมพ์ที่ไม่สามารถขอ ISBN ได้ 1. สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น วารสาร หนังสือพิมพ์ 2. สิ่งพิมพ์อายุการใช้งานสั้น เช่น แผ่นพับ แผ่นโฆษณา 3. ปฏิทิน สมุดบันทึก เกมส์ต่าง ๆ 4. หลักสูตรการเรียนการสอนของสถานศึกษา 5. สมุดภาพระบายสี สมุดแบบฝึกหัด 6. บัตรอวยพร บัตรคำ 7. ผลงานทางวิชาการที่ขอปรับระดับในสถานศึกษาหรือหน่วยงานต่าง ๆ 8. รายงานการวิจัยของหน่วยงาน 9. สิ่งพิมพ์ฉบับสำเนาที่ไม่ได้จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์ สิ่งพิมพ์ที่มีลักษณะการพิมพ์แบบดิจิตอล (ถ่ายเอกสาร, อัดสำเนา, โรเนียว, copyprint) 10. สิ่งพิมพ์ขนาด A5 ที่มีเนื้อหาไม่เกิน 50 หน้า ซึ่งจัดเป็นจุลสาร 11.ISBN ไม่สามารถกำหนดย้อนหลังได้ <p>ตัวอย่างบาร์โค้ด ISBN ที่พิมพ์ลงบนปกหนังสือ : <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20090303-isbn-2.jpg" alt="International Standard Book Number"> <img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20090303-isbn-4.jpg" alt="International Standard Book Number"> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
International Standard Serial Number | เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร, Example: <p>เลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number : ISSN) เป็นเลขรหัสเฉพาะที่กำหนดให้แก่สิ่งพิมพ์ประเภทวารสารแต่ละชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการค้นข้อมูลวารสาร การแลกเปลี่ยน และการติดต่อต่าง ๆ เกี่ยวกับวารสารได้ถูกต้อง สะดวก และรวดเร็ว <p>การสร้างเลขมาตรฐานสากลประจำวารสาร (ISSN) ศูนย์ข้อมูลวารสารสากล ประเทศฝรั่งเศส (International Centre for the Registration of Serial Publications, Paris, France) เป็นหน่วยงานที่สร้างเลข ISSN ประกอบด้วยเลขอารบิค 8 หลัก ตั้งแต่ 0-9 ยกเว้น เลขตัวสุดท้ายซึ่งบางครั้งจะเป็นตัวอักษร X (ตัวพิมพ์ใหญ่ของอักษรภาษาอังกฤษ) การเขียนเลข 8 หลักนี้ จะแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ตัว และมีเครื่องหมาย (-) คั่นกลาง เลขแต่ละตัว ไม่มีความหมาย นอกจากจะใช้สำหรับกำกับวารสารแต่ละชื่อเรื่องเท่านั้น และได้มอบหมายให้ศูนย์ข้อมูลวารสารประเทศต่าง ๆ ที่เป็นสมาชิก รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN ให้กับสิ่งพิมพ์ประเภทวารสารที่พิมพ์ในประเทศ สำหรับประเทศไทย หน่วยงานที่รับผิดชอบในการกำหนดเลข ISSN คือ ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย ศูนย์สารนิเทศห้องสมุด สำนักหอสมุดแห่งชาติ <p>สิ่งพิมพ์ที่ให้เลข ISSN ได้แก่ สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องประเภทต่างๆ เช่น วารสาร วารสารอิเล็กทรอนิกส์ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร หนังสือรายปี นามานุกรม วารสารที่มีการพิมพ์ภาษาอื่นด้วย ต้องให้เลข ISSN สำหรับวารสารภาษาอื่นอีกเลขหนึ่ง ส่วนวารสารที่พิมพ์ด้วยสื่อประเภทอื่น นอกจากสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น ซีดีรอม ออนไลน์ ต้องให้เลข ISSN แยกต่างหากเช่นเดียวกัน <p>การขอเลข ISSN ต้องส่งหลักฐานเพื่อประกอบการขอเลข ดังนี้ <p>1. สำเนาแบบฟอร์มการขอเลข ISSN พร้อมลงรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลวารสารอย่างครบถ้วน <p>2. สำเนาหน้าปกวารสารและสารบัญ <p>3. สำเนาใบอนุญาตตีพิมพ์ จากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล (เฉพาะที่จัดพิมพ์โดยหน่วยงานเอกชน) <p>4. ติดต่อขอเลข ISSN โดยทางโทรศัพท์ โทรสาร จดหมาย จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และติดต่อด้วยตนเอง <p>สำหรับวารสารที่มีการเปลี่ยนชื่อ ผู้จัดพิมพ์ต้องติดต่อขอรับเลข ISSN สำหรับวารสารที่เปลี่ยนชื่อ จะใช้เลขเดิมไม่ได้ เนื่องจากระบบเลข ISSN จะไม่รับข้อมูลที่มีการให้เลขซ้ำ หรือชื่อวารสารซ้ำ <p>การพิมพ์เลข ISSN บนตัวเล่ม กำหนดให้พิมพ์ในตำแหน่งที่เห็นชัดเจน คือ หน้าปกมุมบนขวา เป็นตำแหน่งที่เหมาะสมที่สุด หรือหน้าปกใน หรือปกหลัง <p>ประโยชน์ของเลข ISSN ที่เด่นชัด คือ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง ในการสั่งซื้อ จำหน่าย การสืบค้น การแลกเปลี่ยนข้อมูลวารสาร และเพื่อทราบสถิติการผลิตวารสารภายในประเทศ ในแต่ละสาขาวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Library standard | มาตรฐานห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
National Information Standards Organizat | องค์การแห่งชาติสหรัฐอเมริกาว่าด้วยการมาตรฐานสารสนเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Flow cytometry | วิธีโฟลว์ ไซโตเมทรี คือ วิธีมาตรฐานที่ใช้ในการตรวจนับจำนวนเม็ดเลือดขาวชนิดซีดี 4 [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
American Society for Testing and Materials | สมาคมแห่งสหรัฐอเมริกาซึ่งทำการกำหนดมาตรฐานทางเทคนิคในการทดสอบคุณภาพของวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ในธุรกิจน้ำมัน [ปิโตรเลี่ยม] |
Seed certification | การรับรองมาตรฐานเมล็ดพืช [เศรษฐศาสตร์] |
American National Standards Institute | สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกัน, Example: สถาบันที่ทำหน้าที่กำหนดมาตรฐานต่างๆ เพื่อให้สะดวกแก่ผู้ใช้งาน ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นตามมาตรฐาน ANSI จะมีลักษณะการทำงานแบบเดียวกัน โปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยใช้ภาษาที่เป็นมาตรฐาน จะสามารถนำไปใช้กับคอมพิวเตอร์เครื่องใดก็ได้ที่ยอมรับภาษานั้น [คอมพิวเตอร์] |
Standard industrial classification | การจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรม [เศรษฐศาสตร์] |
Standard intemational trsde classification | การจัดประเภทมาตรฐานการค้าระหว่างประเทศ [เศรษฐศาสตร์] |
American Standard Code for Information Interchange | รหัสตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์ที่กำหนดมาตรฐานโดยสำนักงานมาตรฐานของสหรัฐเมริกาสำหรับใช้กับคอมพิวเตอร์ต่างๆ, Example: รหัสแอสกีพื้นฐานใช้เพียง 7 บิต 8 บิต เพื่อใช้แทนสัญลักษณ์ภาพกราฟิกต่างๆ ส่วนทางประเทศไทยก็ได้อาศัยส่วนขยายนี้กำหนดเป็นรหัสภาษาไทยไว้ใช้งานด้วย เรียกว่าเป็นรหัส สมอ. [คอมพิวเตอร์] |
Coincidence counting | การนับรังสีบรรจวบ, การนับรังสีที่เกิดจากเหตุการณ์การแผ่รังสีลักษณะเฉพาะตั้งแต่สองเหตุการณ์ขึ้นไป ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมกันหรือเกิดในช่วงเวลาที่สัมพันธ์กัน การนับรังสีนี้เป็นวิธีหนึ่งเพื่อตรวจหาหรือจำแนกวัสดุกัมมันตรังสี และใช้เทียบมาตรฐานอัตราการสลายของวัสดุกัมมันตรังสีนั้น ซึ่งมีประโยชน์ในด้านการวิเคราะห์เชิงก่อกัมมันตภาพรังสี การถ่ายภาพทางการแพทย์ การศึกษารังสีคอสมิก และการวัดรังสีระดับต่ำ (ดู counter ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Standard dosimetry laboratory | ห้องปฏิบัติการมาตรฐานการวัดรังสี, ห้องปฏิบัติการด้านการวัดรังสี ซึ่งมีต้นกำเนิดรังสี อุปกรณ์ เครื่องมือ วิธีการ และบุคลากร ในการวัดรังสี ที่สามารถอ้างอิงได้กับมาตรฐานสากล, Example: [นิวเคลียร์] |
Personal Computer Memory Card International Association | สมาคมที่บริษัทผู้ผลิตและผู้ขายคอมพิวเตอร์จัดขึ้นเพื่อกำหนดมาตรฐาน [คอมพิวเตอร์] |
Radiopharmaceutics | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] |
Radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] |
Radiochemical purity | ความบริสุทธิ์ทางเคมีรังสี, ความบริสุทธิ์ของสารประกอบกัมมันตรังสี ซึ่งมีสารกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีที่ต้องการ โดยคำนวณจากสัดส่วนกัมมันตภาพของสารกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีที่ต้องการต่อกัมมันตภาพของสารประกอบกัมมันตรังสีทั้งหมด <br>ความบริสุทธิ์ทางเคมีรังสี ใช้เป็นค่ากำหนดคุณภาพของสารเภสัชรังสีซึ่งมีสารประกอบกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีอื่นๆ เจือปนอยู่น้อยที่สุด ตามมาตรฐานเภสัชตำรับสหรัฐอเมริกา (United States Pharmacopoeia, USP) เภสัชตำรับอังกฤษ (British Pharmacopoeia, BP) และ เภสัชตำรับยุโรป (European Pharmacopoeia, EP) เช่น ในการผลิตสารไอโอดีน-131 (<sup>131I</sup>) ตามเภสัชตำรับสหรัฐอเมริกาต้องมีอัตราส่วนของสารประกอบกัมมันตรังสีในรูปโซเดียมไอโอไดด์ (Na<sup>131</sup>I) ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 และสารประกอบกัมมันตรังสีที่มีธาตุไอโอดีนอยู่ในรูปแบบทางเคมีอื่นๆ ไม่เกินร้อยละ 5</br> [นิวเคลียร์] |
Radioactive standard | สารมาตรฐานกัมมันตรังสี, สารกัมมันตรังสี ที่รู้จำนวนและชนิดของอะตอมกัมมันตรังสี ณ เวลาอ้างอิงใดๆ ใช้เป็นสารมาตรฐานสำหรับปรับเทียบอุปกรณ์วัดรังสี หรือใช้ในการวัดเปรียบเทียบระหว่างห้องปฏิบัติการ ปกติใช้สารกัมมันตรังสีที่มีครึ่งชีวิตยาวเป็นสารมาตรฐานกัมมันตรังสี, Example: [นิวเคลียร์] |
Radiation protection | การป้องกันรังสี, การดำเนินการตามกฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการ และวิธีปฏิบัติ ซึ่งกำหนดขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐานความปลอดภัย เพื่อควบคุมให้ผู้ปฏิบัติงานทางรังสีและประชาชนทั่วไปได้รับรังสีชนิดก่อไอออนน้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ (ALARA: as low as reasonably achievable) [นิวเคลียร์] |
TRIPs | ความตกลงเพื่อกำหนดมาตรฐานการคุ้มครองขั้นต่ำ สำหรับทรัพย์สินทางปัญญาของประเทศสมาชิก WTO [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Specific fund | กองทุนรวมที่มีการกระจายการลงทุนน้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน, Example: กองทุนรวมที่มีนโยบายในการกระจายการลงทุนน้อยกว่ามาตรฐานการกระจายการลงทุนที่สำนักงาน ก.ล.ต.กำหนดสำหรับกองทุนรวมทั่วไป [ตลาดทุน] |
Digital Accessible Information System Book | หนังสือเสียงอิเล็กทรอนิกส์ระบบเดซี, สื่อข้อมูลดิจิทัล เช่น แผ่นซีดี หรือ หน่วยความจำ ที่สามารถนำมาเล่นด้วยเครื่อเล่นหรือคอมพิวเตอร์แล้วได้เป็นเสียงอ่านที่เคยบันทึกเอาไว้ก่อน ทั้งนี้ โดยใช้วิธีการกำหนดตำแหน่ง (mark up) ระหว่างเสียง กับข้อความ (ป้ายกำกับข้อมูลเสียง) ตามมาตรฐานเปิด ของสมาคมเดซี (Daisy Consortium) [Assistive Technology] |
มาตรฐาน | สิ่งที่ถือเอาเป็นเกณฑ์ที่รับรองกันทั่วไป เช่น เวลามาตรฐานกรีนิช สิ่งที่ถือเอาเป็นเกณฑ์สำหรับเทียบกำหนด ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ เช่น มาตรฐานอุตสาหกรรม หนังสือนี้ยังไม่เข้ามาตรฐาน, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ มาตราฐาน [คำที่มักเขียนผิด] |
Emission Standard | มาตรฐานการระบายสารมลพิษ, Example: มาตรฐานการปล่อยสารมลพิษทางอากาศจากแหล่งกำเนิดอุตสาหกรรม [สิ่งแวดล้อม] |
Environmental quality standards | มาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม, Example: ค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำ อากาศ เสียงและสภาวะอื่นๆของสิ่งแวดล้อมซึ่งกำหนดเป็นเกณฑ์ทั่วไปสำหรับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม [สิ่งแวดล้อม] |
ISO 14000 | มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม, Example: มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม ในฐานะที่เป็นบรรทัดฐานสำหรับแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมทั่วโลก โดยให้ ISO 14000 อยู่ในความดูแลรับผิดชอบขององค์การระหว่างประเทศ ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐาน (International Organization for Standardization : ISO) ซึ่งมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [สิ่งแวดล้อม] |
Basis (Futures trading) | ราคามาตรฐาน (การซื้อขายล่วงหน้า) [TU Subject Heading] |
Computer hardware description languages | ภาษามาตรฐานใช้บรรยายการทำงานของเครื่อง [TU Subject Heading] |
Cost and standard of living | ค่าครองชีพและมาตรฐานการครองชีพ [TU Subject Heading] |
Gold standard | มาตรฐานทอง [TU Subject Heading] |
IEEE 802.16 (Standard) | ไออีอีอี 802.16 (มาตรฐาน) [TU Subject Heading] |
International Stamdard Book Numbers | เลขมาตรฐานหนังสือสากล [TU Subject Heading] |
MIDI (Standard) | มิดิ (มาตรฐานการประสานเครื่องดนตรีแบบดิจิทัล) [TU Subject Heading] |
MP 3 (Audio coding standard) | เอ็มพี 3 (มาตรฐานรหัสเสียง) [TU Subject Heading] |
Unit of account | หน่วยมาตรฐานทางการเงิน [เศรษฐศาสตร์] |
Occupation Health and Safety Management System (Thailand) | มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย [TU Subject Heading] |
Performance standards | มาตรฐานการทำงาน [TU Subject Heading] |
Predetermined motion time systems | ระบบเวลามาตรฐานที่ได้จากการสังเคราะห์การเคลื่อนไหวพื้นฐานที่ทราบล่วงหน้า [TU Subject Heading] |
Production standards | มาตรฐานการผลิต [TU Subject Heading] |
Six sigma (Quality control standard) | ซิกซ์ ซิกม่า (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ) [TU Subject Heading] |
Standardization | การมาตรฐาน [TU Subject Heading] |
Standardized terms of contract | ข้อสัญญามาตรฐาน [TU Subject Heading] |
Standards | มาตรฐาน [TU Subject Heading] |
Standards, Engineering | มาตรฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ [TU Subject Heading] |
VHDL (Computer hardware description language | วีเอชดีแอล (ภาษามาตรฐานใช้บรรยายการทำงานของเครื่อง) [TU Subject Heading] |
ได้มาตรฐาน | [dāi māttrathān] (v, exp) EN: be standardized ; be up to standard |
การกำหนดมาตรฐาน | [kān kamnot māttrathān] (n, exp) EN: standardization |
การปรับเข้ามาตรฐาน | [kān prap khao māttrathān] (n, exp) EN: standardization |
การรับรองระบบมาตรฐาน | [kān raprøng rabop māttrathān] (n, exp) FR: certification standard [ f ] |
การทำให้เป็นมาตรฐาน | [kān thamhai pen māttrathān] (n, exp) EN: standardization |
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน | [khā bīengbēn māttrathān] (n, exp) EN: standard deviation |
เข้ามาตรฐาน | [khao māttrathān] (v, exp) EN: appropriate ; conform to the standard |
ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน | [khā suan bīengbēn māttrathān] (n, exp) EN: standard deviation |
กระบวนการปฏิบัติงานมาตรฐาน | [krabūankān patibat ngān māttrathān] (n, exp) EN: standard operating procedure (SOP) |
มาตรฐาน | [māttrathān] (n) EN: standard ; criterion ; grade ; reference ; datum ; basis ; norm ; level ; yardstick FR: standard [ m ] ; étalon [ m ] ; norme [ f ] ; niveau [ m ] ; échelon [ m ] ; référence [ f ] ; critère [ m ] ; normale [ f ] |
มาตรฐานการบริการ | [māttrathān kān børikān] (n, exp) FR: qualité de service [ f ] ; niveau de service [ m ] |
มาตรฐานที่คาดหวังไว้ | [māttrathān thī khāt wangwai] (n, exp) EN: expectation |
มาตรฐานวิธีปฏิบัติ | [māttrathān withī patibat] (n, exp) EN: standard practice ; standard operating procedure |
ภาษามาตรฐาน | [phāsā māttrathān] (n, exp) EN: standard language |
โรงแรมที่มีมาตรฐานการบริการระดับนานาชาติ | [rōngraēm thī mī māttrathān kān børikān radap nānāchāt] (n, exp) FR: hôtel de classe internationale [ f ] |
รูปแบบมาตรฐาน | [rūpbaēp māttrathān] (n, exp) EN: standard form ; standard pattern |
สระว่ายน้ำขนาดมาตรฐานโอลิมปิก | [sawāinām khanāt māttrathān ōlimpik] (n, exp) FR: piscine olympique [ f ] ; bassin olympique [ m ] |
สีมาตรฐาน | [sī māttrathān] (n, exp) FR: couleur de référence [ f ] |
ตามมาตรฐาน | [tām māttrathān] (adj) EN: standardized FR: standard |
แถบเครื่องมือมาตรฐาน | [thaēp khreūangmeū māttrathān] (n, exp) EN: standard toolbar |
ทำให้เป็นมาตรฐาน | [thamhai pen māttrathān] (v, exp) EN: normalize FR: normaliser |
ถึงระดับมาตรฐาน | [theung radap māttrathān] (v, exp) EN: be up to the standard ; reach the norm FR: répondre au standard ; atteindre la norme |
ต้นทุนมาตรฐาน | [tonthun māttrathān] (n, exp) EN: standard cost |
ตู้คอนเทนเนอร์มาตรฐาน | [tū khønthēnnoē māttrathān] (n, exp) EN: standard container |
เวลามาตรฐาน | [wēlā māttrathān] (n, exp) EN: standard time |
เวลามาตรฐานกรีนิช | [wēlā māttrathān Krīnit] (n, exp) EN: Greenwich Mean Time (GMT) FR: temps moyen de Greenwich [ m ] |
accepted | (adj) ได้มาตรฐาน |
airworthy | (adj) ได้มาตรฐานความปลอดภัยสำหรับการบิน |
bad | (adj) ต่ำกว่ามาตรฐาน, See also: ีไม่เป็นที่ยอมรับบ, Syn. inferior, poor, Ant. superior, good |
benchmark | (n) เกณฑ์มาตรฐาน |
better | (adv) มาตรฐานหรือคุณภาพที่ดีกว่า |
be above | (phrv) มีมาตรฐานสูงกว่า, See also: ประพฤติตัวดีกว่า |
be below | (phrv) ต่ำกว่ามาตรฐาน, Syn. fall below, get below |
be up to | (phrv) ทำให้ได้มาตรฐาน, See also: ทำให้เทียบเท่ามาตรฐาน, Syn. bring up to, come up to, get up to |
bring up to scratch | (idm) ทำให้ได้มาตรฐาน, See also: ทำให้ได้ดังใจต้องการ, Syn. be up to, come up to, get up to |
bring up to standard | (idm) ทำให้ได้มาตรฐาน, See also: ทำให้ได้ดังใจต้องการ, Syn. be up to, come up to, get up to |
bring up to the mark | (idm) ทำให้ได้มาตรฐาน, See also: ทำให้ได้ดังใจต้องการ, Syn. be up to, come up to, get up to |
commensurable | (adj) ที่วัดจากมาตรฐานเดียวกัน |
control | (n) มาตรฐานเปรียบเทียบในการทดลอง |
drop below | (phrv) ต่ำกว่ามาตรฐาน, Syn. be below, fall below, get below |
fall behind | (phrv) อยู่ต่ำกว่ามาตรฐาน, Syn. drop away, drop off, fall away, fall off |
fall below | (phrv) ต่ำกว่ามาตรฐาน, Syn. be below, drop below, get below |
find wanting | (phrv) ไม่ได้ดังใจ, See also: ไม่เป็นอย่างที่คาด, น่าผิดหวัง, ล้มเหลว, ไม่ได้เกณฑ์มาตรฐาน |
demonetise | (vt) เลิกใช้ (เงินเหรียญหรือธนบัตร) เป็นมาตรฐาน, See also: เลิกใช้โลหะบางชนิดมาทำเป็นเงินเหรียญ, Syn. withdraw, devalue, inflate |
demonetize | (vt) เลิกใช้ (เงินเหรียญหรือธนบัตร) เป็นมาตรฐาน, See also: เลิกใช้โลหะบางชนิดมาทำเป็นเงินเหรียญ, Syn. withdraw, devalue, inflate |
Euclid | (n) นักคณิศาสตร์ชาวกรีก ผู้สร้างแบบเรียนมาตรฐานทางเรขาคณิตซึ่งใช้มาจนถึงศตวรรษที่ 19 |
expectation | (n) มาตรฐานที่คาดหวังไว้, See also: การคาดการณ์, การคาดหวัง, การคาดคิด, ความคาดหวัง, สิ่งที่คาดหมายไว้, ความมุ่งหวัง |
factor | (n) ระดับต่างๆ ในระบบที่ใช้วัดมาตรฐาน, Syn. agent |
get below | (phrv) ต่ำกว่ามาตรฐาน, Syn. be below, drop below |
get up to | (phrv) เพิ่มหรือปรับปรุงเพื่อไปถึง (มาตรฐาน), Syn. be up to, bring up to |
go down | (phrv) ตกต่ำลง (ระดับสังคม, มาตรฐานการดำรงชีวิต), Syn. come down: come up |
go up in the world | (idm) เพิ่มมาตรฐานชีวิต |
Greenwich mean time | (n) เวลามาตรฐานโลกตามนาฬิกาที่กรีนิช ในอังกฤษ (คำย่อคือ GMT) |
Greenwich time | (n) เวลามาตรฐานโลกตามนาฬิกาที่กรีนิช ประเทศอังกฤษ |
hallmark | (n) ตราแสดงว่ามีมาตรฐานสูง, See also: เครื่องหมายแสดงว่ามีคุณภาพสูง, Syn. mark, trademark |
High German | (n) ภาษาเยอรมันแบบมาตรฐาน (ซึ่งเริ่มใช้กันในภาคใต้และภาคกลางของเยอรมัน) |
pass muster | (idm) เข้าเกณฑ์มาตรฐาน, See also: ได้มาตรฐาน |
up to par | (idm) มีมาตรฐาน, See also: ได้มาตรฐาน, ดีได้มาตรฐาน |
industrial standard | (n) มาตรฐานอุตสาหกรรม |
inferior | (adj) ด้อยกว่า, See also: หย่อนกว่า, ต่ำกว่ามาตรฐาน, รองลงมา, Syn. subordinate, insufficient, lower, minor, Ant. superior |
keep someone up to scratch | (idm) ได้มาตรฐาน, See also: มีมาตรฐานสูง, Syn. keep someone up to the mark |
keep someone up to the mark | (idm) ได้มาตรฐาน, See also: มีมาตรฐานสูง, Syn. keep someone up to scratch |
let down | (phrv) ทำให้ต่ำลง (คุณภาพ, มาตรฐาน) |
live up to | (phrv) ดำรงชีวิตโดยยึดตาม (กฎเกณฑ์, หลักการ, มาตรฐานฯลฯ) |
King's English | (idm) ภาษาอังกฤษมาตรฐาน, Syn. Queen's English, standard English |
level | (n) ระดับ (มาตรฐาน, คุณภาพ), See also: ระดับชั้น, Syn. grade, tier |
mark | (n) ระดับ, See also: เกณฑ์, มาตรฐาน |
medium-sized | (adj) ซึ่งมีขนาดมาตรฐาน |
module | (n) เกณฑ์ในการวัด, See also: มาตรฐานในการวัด |
monism | (n) ความเชื่อในเรื่องของการมีมาตรฐานเดียว |
monist | (n) ผู้เชื่อในเรื่องของการมีมาตรฐานเดียว |
monistic | (adj) เกี่ยวกับการมีมาตรฐานเดียว |
monistical | (adj) เกี่ยวกับการมีมาตรฐานเดียว |
monistically | (adv) อย่างมีมาตรฐานเดียว |
motif | (n) บรรทัดฐาน, See also: มาตรฐาน, ลักษณะเด่น, Syn. subject, topic, theme |
nonstandard | (adj) ซึ่งไม่มาตรฐาน, See also: ซึ่งไม่ปกติ, Syn. unusual, uncommon, different, Ant. ordinary |
ada | (เอดา) เป็นชื่อของภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่ง ใช้เป็นภาษามาตรฐานสำหรับงานเขียนโปรแกรมของกิจการทหารของสหรัฐมาก่อน ผู้คิดภาษานี้ตั้งชื่อว่า Ada เพื่อเป็นเกียรติแก่ Lady Ada Augusta Lovelace ซึ่งเป็นชื่อสตรีผู้คิดทำโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นคนแรกในโลก ในช่วงคริสศตวรรษ 1800 |
airworthy | (แอร์' เวอธธี) adj. ได้มาตรฐานความปลอดภัยสำหรับการบิน -airworthiness n. |
ambsace | (แอม' เซส) n. โชคร้าย, ระยะทางที่สั้น ที่สุด . ปริมาณที่น้อยที่สุด, ระยะทางที่สิ้นที่สุด, ของที่มีมาตรฐานต่ำสุด, ของที่ไร้ค่าที่สุด |
american national standar | สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า ANSI (อ่านว่า แอนซี) เป็นชื่อของสถาบันเอกชนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ทำหน้าที่กำหนดและควบคุมมาตรฐานของอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ รวมทั้งอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ โดยไม่หวังผลกำไรใด ๆ ทั้งสิ้น |
american standard code fo | รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสนเทศ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า แอสกี (ASCII) เป็นรหัสมาตรฐานแบบหนึ่งที่ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ เรียกว่า "รหัส แอสกี " |
ansi | (แอนซี) ย่อมาจาก American National Standards Institute ซึ่งราชบัณฑิตสถานบัญญัติว่า "สถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา" เป็นสถาบันเอกชน ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ทำหน้าที่กำหนดและควบคุมมาตรฐานของอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ รวมทั้งอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ โดยไม่หวังผลกำไรใด ๆ ทั้งสิ้นดู ANSI C, ANSI character set, ANSI graphics |
ansi c | (แอนซี ซี) หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานสำหรับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี (C language) ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ บริษัทที่ผลิตตัวแปลภาษาซี (C compiler) ก็ พยายามที่จะทำทุกอย่างตามมาตรฐานนี้ แต่ก็ได้เพิ่มคุณสมบัติต่าง ๆ เข้าไป เพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นไปอีก จนบางครั้งเหมือนกับลืมจุดประสงค์ดั้งเดิมไปเลยดู ANSI ประกอบ |
api | (เอพีไอ) ย่อมาจาก application program interface หมายถึงวิธีการอย่างหนึ่งที่ทำให้ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์รู้สึกว่า การใช้คอมพิวเตอร์ง่ายขึ้นกว่าเดิม เช่น เอพีไอจะกำหนดขั้นตอนมาตรฐานให้โปรแกรมสำเร็จต่าง ๆ ทำงาน โดยวิธีให้ผู้ใช้เลือกจากรายการคำสั่ง (menu) หรือตอบคำถามในกรอบสนทนา (dialog box) แทนที่จะต้องจำคำสั่งอย่างแต่ก่อน การใช้ระบบวินโดว์บนเครื่องพีซีก็ดี OS/2 ก็ดี หรือระบบของแมคอินทอช ก็ดี ล้วนเป็นตัวอย่างที่เห็นได้ชัดของการนำเอพีไอมาใช้ |
ascii | คำย่อ American Standard code For Information Interchange, รหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศนี้ เป็นรหัสมาตรฐานที่ใช้กับคอมพิวเตอร์รหัสหนึ่ง ที่ใช้เลขฐานสอง รหัสแอสกี, รหัสมาตรฐาน ใช้แทนอักขระด้วย 7 บิต (ถ้ารวม parity check ด้วยจะเป็น 8 บิต) |
basis | (เบ'ซิส) n. พื้นฐาน, รากฐาน, หลักสำคัญ, ส่วนสำคัญ, หลักเกณฑ์, มาตรฐาน, ฐานปฏิบัติการ, Syn. base -pl. bases |
bench-mark | n. จุดสูง, จุดมาตรฐาน, Syn. norm -Conf. benchmark |
benchmark | การวัดเปรียบเทียบสมรรถนะเกณฑ์มาตรฐานหมายถึง การทดสอบเพื่อวัดความสามารถในการประมวลผล หรือการทำงานของ โปรแกรมใดโปรแกรมหนึ่ง หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชนิดใดชนิดหนึ่ง โดยเทียบเคียงกับเกณฑ์มาตรฐาน |
calibrate | (แคล'ลีเบรท) { calibrated, calibrating, calibrates } vt. ตรวจตา, วัด, หาค่าแบ่งออกเป็นขีด ๆ , ทำให้เป็นมาตรฐาน, See also: calibrator, calibrater n. |
canonic | (คะนอน'นิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับวินัยศาสนา, เป็นที่ยอมรับ, แท้จริง, เกี่ยวกับแบบที่ง่ายที่สุดหรือได้มาตรฐาน, See also: cannonicals n. เสื้อคลุมพิธีศาสนา, canonicity n. ดู canonic |
canonical | (คะนอน'นิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับวินัยศาสนา, เป็นที่ยอมรับ, แท้จริง, เกี่ยวกับแบบที่ง่ายที่สุดหรือได้มาตรฐาน, See also: cannonicals n. เสื้อคลุมพิธีศาสนา, canonicity n. ดู canonic |
cga | (ซีจีเอ) ย่อมาจาก color gragphic adapter แปลว่า ตัวปรับสำหรับภาพกราฟิก ที่จะมองเห็นบนจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวปรับนี้เป็นมาตรฐานจอภาพของเครื่องไอบีเอ็ม แต่ภาพที่ปรากฏให้เห็นบนจอนั้นยังดูแข็ง ๆ ไม่ได้ผสมกลมกลืนสนิท ดูแล้วอาจจะปวดศรีษะได้ คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ จึงพัฒนาตัวปรับสีนี้ใหม่ มีชื่อ เรียกว่า EGA หรือ VGA ดู EGA และ VGA ประกอบ |
character reader | เครื่องอ่านอักขระหมายถึง เครื่องอ่านอักขระจากตัวพิมพ์ซึ่งจะต้องมีลักษณะพิเศษที่เป็นมาตรฐาน การอ่านใช้วิธีให้แสงผ่านช่องว่างของตัวอักขระนั้น ๆ แล้วแปลเป็นรหัสบันทึกลงไว้ในแถบบันทึก (tape) หรือจานบันทึก (disk) |
cheesy | (ชี'ซี) adj. เกี่ยวกับเนย, คุณภาพไม่ได้มาตรฐาน, ชี้นต่ำ, หยาบ |
color graphic adapter | ตัวปรับต่อภาพสีใช้ตัวย่อว่า CGA หมายถึง ตัวปรับสำหรับภาพกราฟิกที่จะมองเห็นบนจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวปรับนี้เป็นมาตรฐานจอภาพของเครื่องไอบีเอ็ม แต่ภาพที่ปรากฏให้เห็นบนจอนั้นยังดูแข็ง ไม่ได้ผสมกลมกลืนสนิท ดูแล้วพาลจะปวดศรีษะได้ง่าย ๆ คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ จึงพัฒนาตัวปรับสีนี้ใหม่ มีชื่อ เรียกว่า EGA หรือ VGA |
compatibility | ความเข้ากันได้ความใช้แทนกันได้การเทียบเคียงกันได้หมายถึง ความสามารถในการทำงานของอุปกรณ์หรือโปรแกรมที่สามารถเทียบแทนกันได้กับอุปกรณ์หรือโปรแกรมที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับอยู่แล้ว เช่น ถ้าใช้ว่า "IBM Compat" ก็แปลความได้ว่าคอมพิวเตอร์นั้นไม่ใช่ยี่ห้อไอบีเอ็ม แต่ผลิตขึ้นมาด้วยมาตรฐานเดียวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็ม และสามารถนำมาใช้แทนเครื่องไอบีเอ็มได้ (หมายถึง ใช้โปรแกรมหรือคำสั่งต่าง ๆ ของไอบีเอ็มได้นั่นเอง) |
conventional memory | หน่วยความจำปกติใช้เรียก 640 กิโลไบต์แรกของหน่วยความจำ (RAM) ใน เครื่องคอมพิวเตอร์ไอบีเอ็ม และเครื่องเลียนแบบไอบีเอ็ม (IBM compatibles) ที่กำหนดว่าต้องมีหน่วยความจำอย่างน้อย 640 เค (เป็นมาตรฐานที่กำหนดไว้นานแล้ว) |
crop marks | เครื่องหมายสำหรับเจียน <คำแปล>โปรแกรมบางโปรแกรม โดยเฉพาะโปรแกรมจัดพิมพ์เอกสาร (desktop publishing) จะทำเครื่องหมายไว้ให้สำหรับตัดหรือเจียนกระดาษให้ได้ขนาดที่ต้องการ การสั่งพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์เลเซอร์นั้น มักต้องใช้กระดาษตามขนาดที่เครื่องพิมพ์กำหนดไว้ เช่น A4 B5 ฯ ในขณะที่เราต้องการให้หน้ากระดาษของเรามีขนาดพิเศษ โปรแกรมก็จะช่วยให้เราสามารถพิมพ์งานของเราออกมาบนกระดาษขนาดมาตรฐานนั้น แต่มีเครื่องหมายบอกตำแหน่งที่จะต้องเจียนออกไว้ให้ด้วย เครื่องหมายนี้ออกจะเป็นสากลสำหรับบุคคลในวงการพิมพ์ |
data encryption standards | มาตรฐานการเข้ารหัสใช้ตัวย่อว่า DES หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานในการเข้าถึงข้อมูลที่รัฐบาลเป็นผู้กำหนดขึ้น โดยวิธีใช้รหัส ผ่าน (password) ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของข้อมูล |
des | 1. abbr. disequilibrium syndrome 2. (ดีอีเอส) ย่อมาจากคำ data encryption standards (แปลว่า มาตรฐานการเข้ารหัสลับข้อมูล) หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานในการเข้าถึงข้อมูลที่รัฐบาลเป็นผู้กำหนดขึ้น โดยวิธีใช้รหัสผ่าน (pass word) ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของข้อมูล |
ega | (อีจีเอ) ย่อมาจาก enhanced graphics adapter (แปลว่า ตัวปรับต่อภาพเพิ่มความคม) เป็นมาตรฐานการแสดงภาพกราฟิกบนจอภาพซึ่งบริษัทไอบีเอ็มพัฒนาใช้อยู่ก่อน ในปัจจุบัน จอภาพได้รับการพัฒนาให้ดีขึ้นเรื่อย ๆ ที่มีชื่อเป็นที่นิยม เรียกกันว่า วีจีเอ (VGA) และ ซุเปอร์วีจีเอ (SVGA) ซึ่งจะสามารถแสดงสีที่สวยกว่า กับทั้งมีความคมชัดมากกว่า ดู CGA, VGA และ SVGA ประกอบ |
eighty column card | บัตร 80 คอลัมน์บัตรทำด้วยกระดาษ มีไว้ใช้สำหรับบรรจุข้อมูล โดยปกติจะต้องมีรูปร่างและขนาดตามมาตรฐานที่กำหนด (71/8 นิ้ว +31/4 นิ้ว) จะต้องทำด้วยกระดาษชนิดพิเศษที่มีความต้านทานความชื้นสูง และมีความต้านทานสูงต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในอากาศ ในการบรรจุข้อมูลนั้น ใช้วิธีเจาะรูตามคอลัมน์ของบัตรซึ่งจะมี 80 คอลัมน์ (จึงเรียกกันว่า บัตร 80 คอลัมน์) แต่ละคอลัมน์มี 12 แถว ในการเจาะนั้นรูหนึ่งรูในแต่ละคอลัมน์เป็นรหัสใช้แทนตัวเลข (0-9) และรูสองรูหรือมากกว่าในแต่ละคอลัมน์เป็นรหัสใช้แทนตัวอักษร (A-Z) หรือ อักขรพิเศษอื่น ๆ เมื่อใส่บัตรเข้าเครื่อง รูเหล่านี้จะถูกแปรงไฟฟ้าปัดผ่าน ทำให้เครื่อง สามารถอ่านข้อมูลเข้าไปได้ บัตรคอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้กันมากคือ บัตรที่ ดร. เฮอร์แมน ฮอลเลอริท (Hermann Hollerith) แห่งบริษัทไอบีเอ็ม (IBM) เป็นผู้คิดขึ้น บางทีจึงนิยมเรียกกันว่า บัตรไอบีเอ็ม (IBM card) หรือ บัตรฮอลเลอริท (Hollerith card) ดู card ประกอบ |
eisa | (อีซา) ย่อมาจาก extended industry standard architecture (แปลว่า การออกแบบมาตรฐานแบบขยาย) คอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็มจะออกแบบและใช้บัส (bus) แบบ ISA (industry standard archi- tecture) เป็นมาตรฐาน แต่เครื่องที่เทียบเคียงกับเครื่องไอบีเอ็ม (IBM compatibles) นั้น แทนที่จะใช้ตามมาตรฐานนี้ กลับออกแบบบัสให้เพิ่มความเร็วขึ้น เรียกว่า อีซา เมื่อไอบีเอ็มผลิตคอมพิวเตอร์ PS/2 จึงได้กำหนดมาตรฐานของบัสใหม่ โดยพัฒนาให้เร็วยิ่งขึ้นไปอีก เรียกว่า MCA ซึ่งย่อมาจาก micro channel architecture ดู MCA ประกอบ |
enhanced graphic adaptor | enhanced graphics adapterตัวปรับภาพเพิ่มความคมใช้ตัวย่อว่า EGA (อ่านว่า อีจีเอ) เป็นมาตรฐานของจอภาพได้รับการพัฒนามาขั้นหนึ่งแล้ว ปัจจุบัน จอภาพยังคงได้รับการพัฒนาให้คมชัด และมีสีสวยขึ้นเรื่อย ๆ จอที่ดีกว่า คือจอ VGA หรือ Super VGA หรือที่เรียกว่า SVGA ดู VGA และ SVGA ประกอบ |
enhanced graphics adapter | ตัวปรับภาพเพิ่มความคมEnhanced Graphic Adaptorใช้ตัวย่อว่า EGA (อ่านว่า อีจีเอ) เป็นมาตรฐานของจอภาพได้รับการพัฒนามาขั้นหนึ่งแล้ว ปัจจุบัน จอภาพยังคงได้รับการพัฒนาให้คมชัด และมีสีสวยขึ้นเรื่อย ๆ จอที่ดีกว่า คือจอ VGA หรือ Super VGA หรือที่เรียกว่า SVGA ดู VGA และ SVGA ประกอบ |
error rate | อัตราความผิดพลาดหมายถึง มาตรฐานการวัดคุณภาพของวงจร หรือระบบถ่ายโอนข้อมูล การคำนวณโดยใช้วิธีการ นำจำนวนข้อผิดพลาดของข้อมูล หารด้วยจำนวนข้อมูลทั้งหมด หรืออาจจะคิดเป็น อัตราต่อหน่วยเวลาก็ได้ |
esdi | (อีเอสดีไอ) ย่อมาจากคำว่า enhanced small device interface ใช้เป็นมาตรฐานในการเพิ่มประสิทธิภาพในการเป็นตัวประสานที่ใช้กับจานบันทึกแข็งหรือฮาร์ดดิสก์ (hard disk) |
extended industry standar | extended industry standard architecture การออกแบบมาตรฐานแบบขยายใช้ตัวย่อว่า EISA (อ่านว่า อีซา) คอมพิวเตอร์ของบริษัทไอบีเอ็มจะออกแบบและใช้บัส (bus) แบบ ISA (Industry Standard Architecture) เป็นมาตรฐาน แต่เครื่องที่เทียบเคียงกับเครื่องไอบีเอ็ม (IBM compatibles) นั้น แทนที่จะใช้ตามมาตรฐานนี้ กลับออกแบบบัสให้เพิ่มความเร็วขึ้น เรียกว่า อีซา เมื่อไอบีเอ็มผลิตคอมพิวเตอร์พีเอสทู (PS/2) จึงได้กำหนดมาตรฐานของบัสใหม่ โดยพัฒนาให้เร็วยิ่งขึ้นไปอีก เรียกว่า MCA ซึ่งย่อมาจาก micro channel architecture ดู MCA ประกอบ |
extended memory specifica | ข้อกำหนดหน่วยความจำแบบขยายใช้ตัวย่อว่า XMS (อ่านว่า เอกซ์เอ็มเอส) เป็นมาตรฐานการจัดการเกี่ยวกับหน่วยความจำแบบหนึ่งที่ยอมให้โปรแกรมระบบดอส เข้าถึงส่วนความจำขยายได้ โปรแกรมในดอสที่จัดการเรื่องนี้ มีชื่อว่า Himem.Sys |
formula | (ฟอร์'มิวละ) n. สูตร, กฎ, เกณฑ์, หลัก, มาตรฐาน, รูปแบบ, แผ่น, ตำรับ, ตำรา adj. ซึ่งเกี่ยวกับสูตร -pl. formulas, formulae, Syn. trusim, format |
gauge | (เกจ) vt. วัด, ประเมิน, ประมาณ, รังวัด n. เกณฑ์มาตรฐาน, วงเวียน, มิเตอร์วัด, อุปกรณ์วัดขนาด, วิธีการประเมินค่า, ขนาด, เกณฑ์ |
greenwich mean time | เวลามาตรฐานที่ Greenwich ในอังกฤษ, Syn. Greenwich Civil Time |
greenwich time | เวลามาตรฐานที่ Greenwich ในอังกฤษ, Syn. Greenwich Civil Time |
half-quire | n. กระดาษ 12 แผ่นมาตรฐาน |
hayes compatiblity | เทียบได้กับเฮย์สใช้อธิบายถึงสมรรถนะของโมเด็ม (Modem) หมายถึงว่า มีมาตรฐานเทียบเคียงได้กับโมเด็มยี่ห้อเฮย์ส |
hollerith card | บัตรฮอลเลอริทหมายถึงบัตรที่ฮอลเลอริท (Dr. John Hollerith) เป็นผู้ออกแบบ ทำด้วยกระดาษ ต้องมีขนาดมาตรฐาน (7 1/8 x 3 1/4 นิ้ว) ใช้สำหรับบรรจุข้อมูลโดยเจาะเป็นรูตามรหัสที่กำหนด คอมพิวเตอร์สามารถอ่านรูบนบัตรเหล่านี้แล้วนำไปเก็บในหน่วยความจำเพื่อใช้ประมวลผลได้ ปัจจุบันไม่นิยมใช้แล้ว เพราะใช้สื่อเก็บข้อมูลอย่างอื่น สะดวกกว่า ผิดพลาดน้อยกว่า เช่น จานบันทึก แถบบันทึก มีความหมายเหมือน computer card |
ieee | (ไอทริพเพิลอี) ย่อมาจาก Institute of Electrical and Electronic Engineers แปลว่า สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลdเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐานต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป |
institute of electrical a | สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า IEEE (อ่านว่า ไอทริพเพิลอี) เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐาน ต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป |
international organizatio | ISO <คำย่อ>องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐานใช้ตัวย่อว่า ISO (อ่านว่า ไอเอสโอ) มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานสำหรับอุตสาหกรรมทุกประเภท เป็นต้นว่า ภาษาปาสกาล, ภาษา Prolog |
iso | International Organization for Standardizationองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐานใช้ตัวย่อว่า ISO (อ่านว่า ไอเอสโอ) มีหน้าที่กำหนดมาตรฐานสำหรับอุตสาหกรรมทุกประเภท เป็นต้นว่า ภาษาปาสกาล, ภาษา Prolog |
k&r | (เคแอนด์อาร์) เป็นชื่อย่อของสองนักเขียนชื่อดัง คือ Brian Kernighan กับ Dennis Ritchie ที่เขียนหนังสือเรื่อง " การเขียนโปรแกรมภาษาซี " (The C Programming Language) หนังสือเล่มนี้ใช้เป็นมาตรฐานของภาษาซีตลอดมาจนกระทั่งแอนซี (ANSI) ได้กำหนดมาตราฐานของภาษาซีขึ้นใหม่ ดู ANSI และ C ประกอบ |
library | (ไล'บรารี) n. ห้องสมุด, หอเก็บหนังสือ, การเก็บรวมโปรแกรมมาตรฐานของคอมพิวเตอร์ |
living standard | มาตรฐานการครองชีพ |
manual feed | ป้อนด้วยมือหมายถึง การทำด้วยมือแทนการสั่งให้ทำงานอัตโนมัติ เป็นต้นว่า การส่งกระดาษเข้าไปในเครื่องพิมพ์เลเซอร์ (laser printer) ทีละแผ่นด้วยมือ แทนที่จะให้เครื่องพิมพ์ดึงกระดาษเองจากถาดใส่กระดาษ (tray) โดยปกติ จะใช้วิธีนี้ เมื่อต้องสั่งพิมพ์งานที่ไม่ใช้กระดาษขนาดมาตรฐาน เช่น ซองจดหมายฯ |
mark | (มาร์ค) n. คะแนน, เครื่องหมาย, หมาย, แกงได, รอย, จุด, แต้ม, เป้า, เป้าหมาย, สัญลักษณ์, มาตรฐาน, ความสำคัญ, ชื่อเสียง, เส้นเริ่มออกวิ่ง, พรมแดน, หน่วยเงินตราของเยอรมน vt. ทำเครื่องหมาย, ทำรอย, ทำให้เป็นแผลเป็น, เป็นมลทิน, ทำให้เป็นจุด, ชัด, กะ, แสดงให้ปรากฎชัด, เพ่งเล็ง, มุ่งหมาย, บันทึก, ระวัง, สังเกต |
midi | (มิด'ดิ) n. =midiskirt มิดอี <คำอ่าน>ย่อมาจาก musical instrument digital interface หมายถึง มาตรฐานสำหรับการใส่รหัสเสียงเพลงให้อยู่ในรูปของตัวเลข ความแตกต่างของเสียง (sound) และเสียง เพลง (musical voice) ก็สามารถวัดและนำไปเก็บได้โดยใช้มาตราฐานมิดอีนี้ |
criterion | (n) มาตรฐาน, บรรทัดฐาน, เกณฑ์, มาตรา |
formula | (n) สูตร, กฎ, หลักเกณฑ์, มาตรฐาน, ตำรา |
gauge | (n) เครื่องวัด, ช่วงกว้างรางรถไฟ, วงเวียน, เกณฑ์มาตรฐาน |
motif | (n) ใจความสำคัญ, ลักษณะสำคัญ, บรรทัดฐาน, มาตรฐาน |
norm | (n) มาตรฐาน, แบบฉบับ, แบบแผน, รูปแบบ, ค่าเฉลี่ย |
normal | (adj) โดยธรรมชาติ, ธรรมดา, ปกติ, เป็นมาตรฐาน, เป็นประจำ |
par | (n) ความเสมอกัน, เกณฑ์, รายเฉลี่ย, ราคาที่ปรากฏ, ระดับมาตรฐาน |
reputable | (adj) น่านับถือ, มีชื่อเสียง, น่าเคารพ, ได้มาตรฐาน |
standard | (adj) ตามกำหนด, ตามมาตรฐาน, ตามเกณฑ์, เป็นสากล |
standard | (n) ระดับ, มาตรฐาน, อัตรา, เกณฑ์, ฐาน, ชั้นนักเรียน, ข้อบังคับ |
standardization | (n) การทำให้ได้มาตรฐาน, การจัดมาตรฐาน |
standardize | (vt) เข้าเกณฑ์, จัดมาตรฐาน, ทำให้ได้มาตรฐาน |