กุมุท | เลขนับจำนวนสูงเท่ากับ ๑๐, ๐๐๐, ๐๐๐ ยกกำลัง ๑๕ หรือ ๑ มี ๐ ตามหลัง ๑๐๕ ตัว. |
ฐาน ๔ | น. เส้นหรือพื้นที่ซึ่งถือว่าเป็นส่วนรองรับรูปเรขาคณิต เช่น ฐานของสามเหลี่ยม ฐานของกรวย, จำนวนที่ใช้เป็นหลักในการสร้างจำนวนอื่น ๆ โดยการยกกำลังหรือหาค่าของลอการิทึม เช่น จำนวน ๓ ใน ๓๔ (= ๘๑) จำนวน ๗ ใน log7 49 (= ๒), จำนวนที่บอกปริมาณในแต่ละหลักของตัวเลข เช่น เมื่อ ๖๓๕ เป็นตัวเลขฐาน ๑๐ ใช้สัญลักษณ์ว่า ๖๓๕๑๐ ซึ่งแทน ๕ + (๓ x ๑๐) + (๖ x ๑๐๒) เมื่อ ๖๓๕ เป็นตัวเลขฐาน ๗ ใช้สัญลักษณ์ว่า ๖๓๕๗ ซึ่งแทน ๕ + (๓ x ๗) + (๖ x ๗๒). |
ดรรชนี ๒ | (ดัดชะนี) น. จำนวนที่เขียนไว้บนมุมขวาของอีกจำนวนหนึ่งซึ่งเรียกว่า ฐาน เพื่อแสดงการยกกำลังของฐานนั้น เช่น ๓๒ ๒ เป็นดรรชนีของ ๓ |
ดัชนี ๒ | (ดัดชะนี) น. จำนวนที่เขียนไว้บนมุมขวาของอีกจำนวนหนึ่งซึ่งเรียกว่า ฐาน เพื่อแสดงการยกกำลังของฐานนั้น เช่น ๓๒ โดย ๒ เป็นดัชนีของ ๓ |
พฤนท์ | สังขยาจำนวนสูงเท่ากับโกฏิยกกำลัง ๗ หรือ ๑ มีศูนย์ ๔๙ ตัว. |
ลอการิทึม | น. ลอการิทึมของจำนวนใดจำนวนหนึ่งบนฐานที่กำหนดให้ คือ จำนวนที่บ่งแสดงกำลังของฐาน ซึ่งเมื่อฐานยกกำลังด้วยจำนวนนี้แล้วย่อมมีค่าเท่ากับจำนวนที่กำหนดนั้น เช่น ลอการิทึมของ ๔๙ บนฐาน ๗ คือ ๒ (เขียนเป็นสัญลักษณ์ว่า log749 = 2) ซึ่งหมายความว่า ๗๒ = ๔๙. |
เลขชี้กำลัง | น. จำนวนเต็มหรือจำนวนตรรกยะที่ใช้ยกกำลังจำนวนจริง เช่น ๗๓ มี ๓ เป็นเลขชี้กำลัง. |
อพพะ | (อะพะพะ) น. ชื่อจำนวนนับอย่างสูง เท่ากับโกฏิยกกำลัง ๑๑. |
อสงไขย | (อะสงไข) น. ชื่อมาตรานับจำนวนใหญ่ที่สุด คือ โกฏิยกกำลัง ๒๐. |
อัพพุท | น. ชื่อสังขยาจำนวนหนึ่ง คือ ร้อยแสนพินทุ เป็น ๑ อัพพุท หรือโกฏิยกกำลัง ๘ หรือเลข ๑ มีศูนย์ตามหลัง ๕๖ ตัว. |
power | ๑. กำลัง ๒. เลขยกกำลัง, ๑. กำลัง ๒. เลขยกกำลัง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
power | เลขยกกำลัง, จำนวนจริงที่เขียนอยู่ในรูป xn โดยที่ x เป็นจำนวนจริงใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ n เป็นจำนวนนับใด ๆ ในบางครั้งใช้ในความหมายเดียวกับเลขชี้กำลัง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
variance | ความแปรปรวน, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานยกกำลังสอง ( ดู standard deviation ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
square root | รากที่สอง, รากที่สองของจำนวนจริง a เมื่อ a > 0 เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ หมายถึงจำนวนที่ยกกำลังสองแล้วได้ a เช่น 2 และ -2 เป็นรากที่สองของ 4 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
cube root (of a real number) | รากที่สาม (ของจำนวนจริง), รากที่สามของจำนวนจริง a เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ หมายถึงจำนวนที่ยกกำลังสามแล้วได้ a เช่น = 2, = -3 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
order of magnitude | ระดับขนาด, ค่าที่แสดงด้วยเลข 10 ยกกำลัง เป็นการบอกขนาดของปริมาณใด ๆ อย่างคร่าว ๆ เช่น ระยะทางระหว่างโลกถึงดวงจันทร์อยู่ในระดับขนาด 108 เมตร (ระยะจริง 382, 000 กิโลเมตรหรือ 3.82 x 108 เมตร) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
scientific notation | สัญกรณ์วิทยาศาสตร์, การเขียนตัวเลขอยู่ในรูปการคูณของเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นสิบและเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม มีรูปทั่วไปเป็น A x 10n เมื่อ 1 ≤ A <10 และ n เป็นจำนวนเต็ม เช่น 123 000 000 เขียนได้เป็น 1.23 x 108 0.000 753 เขียนได้เป็น 7.53 x 10-4 เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
law of gravitation | กฎแรงดึงดูดระหว่างมวล, กฎเกี่ยวกับแรงดึงดูดระหว่างวัตถุคู่หนึ่ง ๆ ซึ่งกล่าวว่า วัตถุทั้งหลายจะดึงดูดซึ่งกันและกัน โดยขนาดของแรงดึงดูดระหว่างวัตถุคู่หนึ่ง ๆ เป็นสัดส่วนตรงกับมวลของวัตถุทั้งสอง และเป็นสัดส่วนกลับกับระยะทางระหว่างวัตถุทั้งสองนั้นยกกำลังสอง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
การยกกำลัง | [kān yok kamlang] (n) EN: exponentiation FR: élévation à la puissance[ f ] ; exponentiation [ f ] |
กฎของเลขยกกำลัง | [kot khøng lēk yok kamlang] (n, exp) EN: laws of indices |
เลขยกกำลัง | [lēk yok kamlang] (n, exp) EN: power ; logarithm FR: puisance [ f ] ; logarithme [ m ] |
สัญกรณ์เลขยกกำลัง | [sanyakōn lēk yok kamlang] (n, exp) EN: exponential notation |
สองยกกำลังสาม | [søng yok kamlang sām] (x) EN: 2³ FR: 2³ ; 2 exposant 3 ; 2 à la puissance 3 |
ยกกำลัง | [yok kamlang] (n) EN: power FR: puissance [ f ] |
ยกกำลัง | [yok kamlang] (v) EN: square ; multiply by itself ; raise a number to the power of another number FR: élever à la puissance |
สี่ยกกำลังสอง | [42] (num) FR: 4 exposant 2 |
^ | <คำแปล> hat หมายถึง สัญลักษณ์ที่มีลักษณะคล้ายหมวก (^) ในภาษาไทยเราก็เรียกเครื่องหมายนี้ว่า "หมวก" ใช้แทน แป้นควบคุม (Control Key) เช่น กดแป้นควบคุมและแป้น K จะใช้ย่อ ๆ ว่า กด ^K ในภาษาเบสิกใช้หมายถึงการยกกำลัง เช่น 5^3 มีความหมายว่า 5 ยกกำลัง 3 ดู caret ประกอบ^ (สัญลักษณ์) <เครื่องหมาย>caretหมายถึง สัญลักษณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อกดแป้น Shift+6 (^) สัญลักษณ์นี้ใช้ในการเขียนโปรแกรมของบางภาษา โดยจะแทนคำสั่งเฉพาะบางคำสั่ง มีความหมายแตกต่างกันไป เช่น ^ ในภาษาปาสกาล (Pascal) ใช้แทนตัวชี้ (pointer) , ^ ใน ภาษาซี (C) ใช้แทนตัวดำเนินการ exclusive OR, ^ ใน ภาษาเบสิก (BASIC) ใช้แทนการยกกำลัง เป็นต้น |
caret | ^ (สัญลักษณ์) <เครื่องหมาย>หมายถึง สัญลักษณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อกดแป้น Shift+6 (^) สัญลักษณ์นี้ใช้ในการเขียนโปรแกรมของบางภาษา โดยจะแทนคำสั่งเฉพาะบางคำสั่ง มีความหมายแตกต่างกันไป เช่น ^ ในภาษาปาสกาล (Pascal) ใช้แทนตัวชี้ (pointer) , ^ ใน ภาษาซี (C) ใช้แทนตัวดำเนินการ exclusive OR, ^ ใน ภาษาเบสิก (BASIC) ใช้แทนการยกกำลัง เป็นต้น |
cube | (คิวบฺ) n. ลูกบาศก์, ปริมาณที่ยกกำลัง3 (เช่น125=5x3) , ลูกเต๋า, หลอดแฟล็ตช์รูปสี่เหลี่ยม vt. ทำให้เป็นลูกบาศก์, ยกกำลัง 3 |
cube root | n. ฐานของค่ายกกำลัง3 (เช่น4เป็นcube-rootของ 64) |
gigahertz | (กิกะเฮิร์ทซ์) เป็นหน่วยวัดการทำงาน เท่ากับหนึ่งพันล้านรอบต่อวินาที (10 ยกกำลัง 9) |
square | (สแควร์) n. สี่เหลี่ยมจัตุรัส, พื้นที่รูปสี่เหลี่ยม, ลานกว้าง, สนามกว้าง, สี่แยก, ไม้ฉาก, ตารางหมากรุก, จำนวนยกกำลังสอง, ผู้ที่ไม่สนใจไยดี vt. ทำให้เป็นรูปสี่เหลี่ยม, ทำให้เป็นมุมฉาก, ยกกำลังสอง, คูณด้วยตัวเอง, ทำให้เสมอกัน, ปรับระดับ, ทำให้ตรง, ควบคุม, ให้สินบน, งบดุล, บัญชี, ทำตาราง |
to | (ทู) prep. ไปถึง, ถึง, ไปยัง, ไปสู่, ไปทาง, ไปถึง, มีความโน้มน้าว, จนถึง, จนกระทั่งถึง, บรรลุถึง, เข้ากับ, สนองตอบกัน, ตรงกัน, ให้, เพื่อ, เพื่อจะ, ในอันที่จะ, ตาม, ติดตาม, (คณิตศาสตร์) ยกกำลังถึง, ฟื้น, ฟื้นคืน, เฉพาะให้, เพราะ adv. ไปยัง, ไปถึง, ไปสู่, ฟื้น, ฟื้นคืน |