ยึดเหนี่ยว | ก. อาศัยเป็นที่พึ่ง. |
แขวน ๒ | (แขฺวน) น. ตัวไม้โครงหลังคา เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวระหว่างเต้ากับจันทันระเบียง, ค้างคาว หรือ โตงเตง ก็เรียก. |
คว้าง | (คฺว้าง) ว. อาการที่หมุนหรือลอยไปตามกระแสลมและนํ้าเป็นต้นอย่างไม่มีจุดหมายหรือไม่มีที่ยึดเหนี่ยว เช่น ลอยคว้าง หมุนคว้าง |
คว้างเคว้ง | ว. อาการที่หมุนหรือลอยไปตามกระแสลมกระแสนํ้าเป็นต้น อย่างไม่มีจุดหมายหรือไม่มีที่ยึดเหนี่ยว, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เขาเดินคว้างเคว้งไม่รู้จะไปไหนดี, เคว้งคว้าง ก็ว่า. |
ค้างคาว ๔ | น. ตัวไม้โครงหลังคา เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวระหว่างเต้ากับจันทันระเบียง, แขวน หรือ โตงเตง ก็เรียก. |
เคว้งคว้าง | ว. อาการที่หมุนหรือลอยไปตามกระแสลมกระแสนํ้าเป็นต้น อย่างไม่มีจุดหมายหรือไม่มีที่ยึดเหนี่ยว, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เขาเดินเคว้งคว้างไม่รู้จะไปไหนดี, คว้างเคว้ง ก็ว่า. |
โตงเตง ๒ | น. ตัวไม้โครงหลังคา เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวระหว่างเต้ากับจันทันระเบียง, แขวน หรือ ค้างคาว ก็เรียก. |
ที่พึ่ง | น. ผู้คุ้มครองช่วยเหลือ เช่น พ่อแม่เป็นที่พึ่งของลูก, สิ่งที่อาศัยยึดเป็นหลัก เช่น ได้ตำราเป็นที่พึ่ง, เครื่องยึดเหนี่ยวทางใจ เช่น ยึดพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง. |
ราว ๑ | เครื่องยึดเหนี่ยวสำหรับเกาะหรือขึ้นลงเป็นต้น เช่น ราวบันได ราวสะพาน, เรียกไม้ โลหะ และเชือกหรือลวดเป็นต้นที่ขึงสำหรับพาดหรือตากผ้า ว่า ราว ราวผ้า หรือราวตากผ้า, ถ้าใช้ขึงสิ่งอื่น ๆ เช่น ขึงมุ้ง เรียกว่า ราวมุ้ง ขึงม่าน เรียกว่า ราวม่าน, ไม้หรือโลหะเป็นต้นสำหรับพาดปักวางสิ่งต่าง ๆ เช่น ราวพระแสง ราวเทียน. |
สังคหวัตถุ | น. ธรรมที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจบุคคลและประสานหมู่ชนไว้ในความสามัคคี ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา. |
หลัก ๑ | เครื่องยึดเหนี่ยว เช่น มีธรรมะเป็นหลักในการดำรงชีวิต, เครื่องจับยึด เช่น หลักแจว |
หลักชัย ๑ | น. หลักที่กำหนดไว้ว่าผู้เข้าแข่งขันที่ไปถึงก่อนเป็นผู้ชนะ, โดยปริยายหมายถึงบุคคลที่เป็นหลักยึดเหนี่ยวเพื่อชัยชนะ เช่น พระมหากษัตริย์ทรงเป็นหลักชัยของชาติ |
Binding energy | พลังงานยึดเหนี่ยว, พลังงานยึดเหนี่ยวของโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียส มีค่าเท่ากับพลังงานที่น้อยที่สุดสำหรับการแยกนิวเคลียสออกเป็นโปรตอนและนิวตรอน นอกจากนี้ยังหมายถึง พลังงานยึดเหนี่ยวของอิเล็กตรอนด้วย ซึ่งมีค่าเท่ากับพลังงานที่ต้องใช้เพื่อแยกอิเล็กตรอนออกมาจากอะตอมหรือโมเลกุล [นิวเคลียร์] |
Coupling agent | สารเติมแต่งที่ทำหน้าที่เพิ่มอันตรกิริยา (เกิดการเชื่อมโยง) ระหว่างยางกับสารเสริมแรงประเภทซิลิกาให้มีแรงยึดเหนี่ยวเพิ่มสูงขึ้น โดยหมู่อัลคอกซีบนสารคู่ควบจะทำปฏิกิริยาเคมีกับหมู่ไซลานอลที่อยู่บนพื้น ผิวของซิลิกาเกิดเป็นพันธะไซลอกเซนที่เสถียร ทำให้หมู่ไซลานอลลดลง อันตรกิริยาระหว่างอนุภาคของซิลิกาจึงลดลงด้วย ตัวอย่างของสารคู่ควบ ได้แก่ ไทรเอทอกซีไซลีลโพรพีลเททระซัลไฟด์ (Si-69) เมอร์แคปโตโพรพีลไทรเมทอกซีไซเลน (A-189) ไทโอไซยาเนโตโพรพีลไทเอทอกซีไซเลน (Si-264) เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Hydrogen bond | แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมีขั้วที่ประกอบด้วยอะตอมไฮโดรเจนกับ โมเลกุลอื่นที่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว [เทคโนโลยียาง] |
Atoms, Bonded | อะตอมที่มายึดเหนี่ยว, สองอะตอมที่มาทำปฏิกิริยากัน [การแพทย์] |
Atoms, Bonding | อะตอมที่มายึดเหนี่ยวกัน [การแพทย์] |
Binders | สารยึดเกาะ, สารยึดเหนี่ยว [การแพทย์] |
Binding Agents | สารที่ใช้ยึดเหนี่ยว [การแพทย์] |
Binding Force | แรงยึดเหนี่ยว [การแพทย์] |
Bonding | การยึดเหนี่ยว [การแพทย์] |
Cohesiveness, Group | แรงยึดเหนี่ยวทางจิตใจระหว่างสมาชิกในกลุ่ม [การแพทย์] |
Connective Tissue | เยื่อประสาน, เนื้อเยื่อยึดต่อ, เนื้อเยื่อพังผืด, เนื้อเยื่อประสาน, เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน, เนื้อยึดต่อ, เยื่อเกี่ยวกัน, เนื้อเยื่อพังผืด, เยื่อยึดต่อ, เนื้อเยื่อคอนเนคตีพ, เนื้อเยื่อประสาน, เนื้อเยื่อคอนเนคทีฟ, เยื่อพังผืด, เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน, เนื้อเยื่อพังผืดประสาน, เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน, เนื้อเยื่อ, เยื่อยึดเหนี่ยว, เนื้อประสาน [การแพทย์] |
bond formation | การเกิดพันธะ, การที่อะตอมตั้งแต่ 2 อะตอมมารวมกัน หรือยึดกันไว้ด้วยแรงยึดเหนี่ยว ในการสร้างพันธะจะคายพลังงานออกมา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
bond energy | พลังงานพันธะ, พลังงานที่ใช้สลายพันธะซึ่งยึดเหนี่ยวอะตอมคู่หนึ่งในโมเลกุลไว้ด้วยกัน เมื่อโมเลกุลนั้นอยู่ในสถานะแก๊ส [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ionic bond | พันธะไอออนิก, พันธะที่ยึดเหนี่ยวอะตอมของธาตุให้อยู่ร่วมกัน โดยที่อะตอมของธาตุหนึ่งให้อิเล็กตรอนและอะตอมของอีกธาตุหนึ่งรับอิเล็กตรอน แล้วเกิดเป็นสารประกอบไอออนิก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
covalent compound | สารประกอบโคเวเลนต์, สารประกอบที่อะตอมในโมเลกุลยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโคเวเลนต์ เช่น CO2 , N2 เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
binding energy | พลังงานยึดเหนี่ยว, การรวมตัวของโปรตอนและนิวตรอนเป็นนิวเคลียส จะปล่อยพลังงานออกมา เรียกพลังงานนี้ว่า พลังงานยึดเหนี่ยว พลังงานยึดเหนี่ยวนี้เทียบเท่ากับมวลพร่อง มวลพร่อง = มวลโปรตอน + มวลนิวตรอน - มวลนิวเคลียส ตัวอย่าง โปรตอน 1 ตัวรวมกับนิวตรอน 1 ตัว เป็นดิวเทอรอน จะปล่อยพลัง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
chemical bond [ bond ] | พันธะเคมี, แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมหรือไอออนเข้าไว้ด้วยกันเป็นโมเลกุลหรือเป็นกลุ่มอะตอม ตัวอย่างเช่น พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
covalent bond | พันธะโคเวเลนซ์, พันธะที่ยึดเหนี่ยวอะตอมของธาตุให้อยู่ร่วมกัน โดยที่อะตอมคู่สร้างพันธะให้และใช้อิเล็กตรอนร่วมกันแล้วเกิดเป็นสารประกอบโคเวเลนซ์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
hydrogen bond | พันธะไฮโดรเจน, แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลที่เกิดจากอะตอมไฮโดรเจนกับอะตอมของธาตุที่มีขนาดเล็กและมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูง เช่น F Cl N [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
plastic emulsion paint | สีพลาสติก, สีทาที่ใช้ยางธรรมชาติหรือสารสังเคราะห์เป็นตัวกลาง ทำให้อนุภาคของตัวสีมีแรงยึดเหนี่ยวกันและทำให้ตัวสีติดบนพื้นผิวของวัตถุที่ทาได้ทนทาน มักใช้น้ำเป็นตัวทำละลาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
anchor | (แอง' เคอะ) n., vt. สมอเรือ, สมอ, หลัก, ที่ยึดเหนี่ยว, ตำแหน่งสำคัญของแนวป้องกันในทางทหาร, ทอดสมอ, ปล่อยหลัก -anchorable adj., Syn. support, prop, security |
anchorage | (แอง' เคอะเรจฺ) n. ที่ทอดสมอ, ภาษีที่จอดเรือ, ภาวะที่ยึดเหนี่ยว, วิธีการยึดเหนี่ยว, ตัวค้ำ, Syn. anchor |
cement | (ซิเมนทฺ') { cemented, cementing, cements } n. ซีเมนต์, ปูนซีเมนต์, น้ำยายางสำหรับเชื่อมติดสิ่งของ, สิ่งยึดเหนี่ยว, พันธะ vt. ยึดเกาะ, พอกด้วยน้ำปูนซีเมนต์, ใช้น้ำปูนซีเมนต์ฉาบ, ผนึก. เป็นส่วนที่หุ้มเนื้อฟันที่รากฟัน, See also: cementer n., Syn. seal, Ant. separate |