กลยุทธ์ | (n) strategy, See also: stratagem, maneuver, tactics, Syn. ยุทธวิธี, อุบาย, กุศโลบาย, แผนการ, กลอุบาย, วิธีการ, Example: นายพลทั้งสี่นายวางกลยุทธ์เผด็จศึกศัตรูให้ราบคาบ, Thai Definition: การต่อสู้หรือการแข่งขันที่ต้องใช้กลอุบายต่างๆ |
ยงยุทธ์ | (v) fight courageously, See also: fight bravely, Syn. ต่อสู้, Example: จอมกษัตริย์เข้ายงยุทธ์กับฝ่ายศัตรู |
ยุทธการ | (n) battle, See also: military operations, naval operations, fighting, warfare, Syn. การรบ, การทำสงคราม, Example: ยุทธการใบไม้ร่วงนั้นเป็นยุทธการที่เกิดขึ้นจริงในยุคที่ยังมีการเคลื่อนไหวของผู้ก่อการร้ายที่เขตพื้นที่ใกล้ชายแดน |
ปฏิยุทธ์ | (v) counter-attack, See also: battle, fight, fight back, Syn. สู้รบ, รบตอบ, ตอบโต้, ตีกลับ, Example: นายทัพปฏิยุทธ์กับศัตรู |
ยุทธวิธี | (n) artifice, See also: tactics, means, stratagem, trick, strategy, trickery, Syn. ชั้นเชิง, อุบาย, Example: พงศาวดารฉบับคองบองของพม่ากล่าวว่า ที่จริงพระเจ้าเอกทัศน์ตอนนั้นไม่ได้อ่อนแอ ทหารกรุงศรีฯ ทำการรบอย่างเข้มแข็ง แต่สู้ยุทธวิธีของพม่าไม่ได้, Count Unit: วิธี, Thai Definition: วิธีและอุบายในการรบ |
ธรรมยุทธ์ | (n) honest flight, See also: competition in religious matters or virtues, Thai Definition: การแข่งขันกันในความดี, การรบกันในทางธรรม, Notes: (บาลี, สันสกฤต) |
ยุทธศาสตร์ | (adj) strategic, Syn. ที่มีความสำคัญในการรบ, Example: กองทัพสหรัฐบินโจมตีและทิ้งระเบิดที่มั่นยุทธศาสตร์ทางทหารในอิรัก |
ยุทธศาสตร์ | (n) strategy, Syn. วิชาการรบ, Example: การทำยุทธศาสตร์ของสหรัฐคือการใช้แสนยานุภาพทางอากาศสร้างแรงกดดันต่ออิรักทางด้านกำลัง |
กฎยุทธวินัย | (n) code of military ethics, See also: military regulations, Example: กฎยุทธวินัยของทหารมีความเข้มงวดมาก, Count Unit: ข้อ, Thai Definition: ชื่อย่อของกฎว่าด้วยยุทธวินัยและการลงอาญาทหารบกฐานละเมิดยุทธวินัย |
ประลองยุทธ์ | (v) maneuver, See also: hold maneuvers, Syn. ต่อสู้, ประลองกำลัง, ซ้อมรบ, ฝึกซ้อม, ฝึกรบ, Example: ในสมัยก่อนอัศวินที่ถูกหมิ่นเกียรติจะประลองยุทธ์กับผู้ที่ดูถูกตนเพื่อกู้หน้า |
จุดยุทธศาสตร์ | (n) stronghold, See also: defensible place, Example: การทำลายจุดยุทธศาสตร์ของฝ่ายตรงข้ามไม่ใช่เรื่องง่ายๆ, Count Unit: จุด, Thai Definition: จุดที่มีความสำคัญในการรบ |
กลยุทธ์เชิงรุก | (n) approach strategy, See also: dissemination strategy, Ant. กลยุทธ์เชิงรับ, Example: คาราบาวแดงเดินกลยุทธ์เชิงรุก ใช้ช่อง 7 ช่วงหลังข่าว 2 ทุ่ม เปิดตัวเป็นทางการกับกลุ่มเป้าหมายทั่วประเทศ, Thai Definition: วิธีการในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์หรือการรณรงค์ |
กลยุทธ์เชิงรุก | (n) approach strategy, See also: dissemination strategy, Ant. กลยุทธ์เชิงรับ, Example: คาราบาวแดงเดินกลยุทธ์เชิงรุก ใช้ช่อง 7 ช่วงหลังข่าว 2 ทุ่ม เปิดตัวเป็นทางการกับกลุ่มเป้าหมายทั่วประเทศ, Thai Definition: วิธีการในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์หรือการรณรงค์ |
กลยุทธ์เชิงรุก | (n) approach strategy, See also: dissemination strategy, Ant. กลยุทธ์เชิงรับ, Example: คาราบาวแดงเดินกลยุทธ์เชิงรุก ใช้ช่อง 7 ช่วงหลังข่าว 2 ทุ่ม เปิดตัวเป็นทางการกับกลุ่มเป้าหมายทั่วประเทศ, Thai Definition: วิธีการในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์หรือการรณรงค์ |
อาวุธยุทธภัณฑ์ | (n) armament, See also: weapon, arms, Syn. อาวุธ, อาวุธยุทโธปกรณ์, Example: แรงผลักดันในการวิจัย และผลิตอาวุธยุทธภัณฑ์อันทรงอานุภาพไม่ได้เกิดจากทหาร แต่เป็นผลจากการกระตุ้นของนักวิทยาศาสตร์ |
กลยุทธ์ | (กนละ-) น. การรบที่มีเล่ห์เหลี่ยม, วิธีการที่ต้องใช้กลอุบายต่าง ๆ, เล่ห์เหลี่ยมในการต่อสู้. |
จุดยุทธศาสตร์ | น. พื้นที่และสถานที่ตั้งที่มีความสำคัญในทางการเมือง เศรษฐกิจ จิตวิทยา และกำลังรบทางทหารทั้งในยามสงบและยามสงคราม. |
ธงชัยราชกระบี่ยุทธ | ดู ธงชัยราชกระบี่ธุชน้อย. |
ธรรมยุทธ์ | น. การรบกันในทางธรรม คือ รบกันในทางแข่งขันสร้างสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ถ้าใครสร้างได้แล้วก่อนก็ชนะ. |
ปฏิยุทธ์ | ก. รบตอบ, สู้รบ. |
ประยุทธ์ | ก. รบ, ต่อสู้. |
ประลองยุทธ์ | ก. ซ้อมรบ. |
พาหุยุทธ์ | น. การต่อสู้ด้วยแขน, การชกมวย, การปลํ้า. |
ยุทธ-, ยุทธ์ | (ยุดทะ-) น. สงคราม, การรบพุ่ง. |
ยุทธการ | น. การรบ, การทำสงคราม. |
ยุทธนาวี | น. สงครามทางเรือ เช่น ยุทธนาวีที่เกาะช้าง. |
ยุทธปัจจัย | น. สิ่งของทั้งปวงที่มิใช่ยุทธภัณฑ์ แต่เป็นสิ่งเกื้อกูลต่อการรบ เช่น อาหาร ยา เคมีภัณฑ์ รวมถึงสัตว์พาหนะด้วย. |
ยุทธภัณฑ์ | น. อาวุธ เครื่องอุปกรณ์ของอาวุธ สารเคมี สารชีวะ สารรังสี หรือเครื่องมือเครื่องใช้ที่อาจนำไปใช้ในการรบหรือการสงครามได้. |
ยุทธภูมิ | น. สนามรบ. |
ยุทธโยธา | น. งานช่างที่เกี่ยวกับทหาร เช่น การขุดคูสนามเพลาะ. |
ยุทธวิธี | น. วิธีและอุบายของการรบ. |
ยุทธวินัย | น. กฎของการรบ. |
ยุทธศาสตร์ | น. วิชาว่าด้วยการพัฒนาและการใช้อำนาจทางการเมือง เศรษฐกิจ จิตวิทยา และกำลังรบทางทหารตามความจำเป็นทั้งในยามสงบและยามสงคราม. |
ยุทธศาสตร์ | ว. ที่มีความสำคัญทางการเมือง เศรษฐกิจ จิตวิทยา และกำลังรบทางทหาร ทั้งในยามสงบและยามสงคราม เช่น จุดยุทธศาสตร์. |
ยุทธหัตถี | น. การต่อสู้กันด้วยอาวุธบนหลังช้าง เป็นวิธีการรบอย่างกษัตริย์ในสมัยโบราณ เช่น พระนเรศวรทรงทำยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา, การชนช้าง ก็ว่า. |
ยุทธนา | น. สงคราม, การรบพุ่ง. |
ยุทธนาการ | น. อาการที่รบกัน, การรบกัน. |
ยุทธนาธิการ | น. หน้าที่แห่งการรบ, หน้าที่แผนกการรบ. |
สัประยุทธ์ | (สับปฺระยุด) ก. รบพุ่งชิงชัยกัน. |
อยุทธ์ | (อะ-) ว. ไม่พ่ายแพ้, ปราบไม่ได้. |
กฎอัยการศึก | น. กฎหมายที่ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารลิดรอนสิทธิเสรีภาพบางประการของประชาชนได้ตามความจำเป็น ทั้งให้มีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน การใช้กฎอัยการศึกจะกระทำได้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล โดยจะให้มีผลบังคับทุกท้องที่หรือบางท้องที่ก็ได้ตามความจำเป็น. |
กรีฑา ๑ | การประลองยุทธ์. |
กลอน ๓ | (กฺลอน) น. ลูกตุ้ม, ขลุบ, เช่น แกว่งกลอนยรรยงยุทธ์ (อนิรุทธ์). |
เกี่ยงตาย | ก. เลี่ยงไปทางตาย, ยอมตาย, เช่น หวั่นฤทธิ์คิดครั่นสงคราม จักยุทธพยายาม คือขวัญสกนธ์เกี่ยงตาย (สรรพสิทธิ์). |
คอมมานโด | น. ทหารหรือตำรวจในกลุ่มที่ได้คัดเลือกเป็นพิเศษ เพื่อฝึกการต่อสู้ประชิดตัว การโจมตีโฉบฉวย จู่โจม และยุทธวิธีข่มขวัญอื่น ๆ, หน่วยรบเฉพาะกิจ. |
เคล่าคล่อง | (เคฺล่าคฺล่อง) ก. แคล่วคล่อง เช่น หลบหลีกเคล่าคล่องทำนองยุทธ (รามเกียรติ์ ร. ๒). |
ดิพร | (ดิบ) ว. กล้า, แข็ง, มาก, เช่น พระเสด็จแสดงดิพรแกล้ว การยุทธ ยิ่งแฮ (ยวนพ่าย). |
ต่อแย้ง | ก. ต่อสู้กัน, สู้รบกันไปมา, เช่น รุมกันพุ่งกันแทง เข้าต่อแย้งต่อยุทธ์ โห่อึงอุจเอาไชย (ลอ). |
ทาง ๑ | วิธี, กลยุทธ์, เช่น แก้ทาง รู้ทาง แพ้ทาง |
เทครัว | ก. อพยพครอบครัว, กวาดต้อนผู้คนพลเมืองจากถิ่นฐานเดิมไปไว้ที่อื่น, เช่น ในปีเดียวนั้นให้เทครัวเมืองเหนือทั้งปวงลงมายังกรุงพระนครศรีอยุทธยา (พงศ. ประเสริฐ) |
ธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อย | น. ชื่อธงมีลักษณะเป็นผ้าสีเหลืองรูปสี่เหลี่ยม มีภาพครุฑที่กลางผืนธง คันธงท่อนบนทำด้วยเหล็ก ยอดเรียวแหลมคร่ำทอง ท่อนล่างทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์ติดกาบโลหะจำหลักเป็นภาพครุฑจับนาคจำนวน ๔ กาบ มีหางนกยูงผูกเป็นแพนเสียบที่กาบ ใช้เชิญนำกระบวนพยุหยาตรา และเชิญประดิษฐานในพิธีมณฑลในการพระราชพิธีต่าง ๆ เป็นต้น เข้าคู่กับ ธงชัยราชกระบี่ธุชน้อย หรือ ธงชัยราชกระบี่ยุทธ โดยธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อยอยู่ทางด้านขวาของประธานในงาน และธงชัยราชกระบี่ธุชน้อยหรือธงชัยราชกระบี่ยุทธอยู่ทางด้านซ้าย. |
ธงชัยราชกระบี่ธุชน้อย | น. ชื่อธงมีลักษณะเป็นผ้าสีแดงรูปสี่เหลี่ยม มีภาพพระกระบี่คือหนุมานที่กลางผืนธง คันธงท่อนบนทำด้วยเหล็ก ยอดเรียวแหลมคร่ำทอง ท่อนล่างทำด้วยไม้ชัยพฤกษ์ติดกาบโลหะจำหลักเป็นภาพหนุมานจำนวน ๔ กาบ มีหางนกยูงเป็นแพนเสียบที่แผ่นกาบ มีอีกชื่อหนึ่งว่า ธงชัยราชกระบี่ยุทธ ใช้เชิญนำกระบวนพยุหยาตรา และเชิญประดิษฐานในพิธีมณฑลในการพระราชพิธีต่าง ๆ เป็นต้น เข้าคู่กับ ธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อย โดยธงชัยราชกระบี่ธุชน้อยอยู่ทางด้านซ้ายของประธานในงาน และธงชัยพระครุฑพ่าห์น้อยอยู่ทางด้านขวา. |
นกคุ่ม | น. ชื่อปืนชนิดหนึ่ง เช่น เครื่องพิธยุทธยรรยง รายจ่ารงมณฑก นกคุ่มขนัดฉัตรชัย ไสวนกสับสลับสล้าง (ตะเลงพ่าย). |
นาวิน | น. คนเรือ, ทหารเรือที่ทำหน้าที่ทางเรือ และสนับสนุนการยุทธ์ทางเรือ. |
ประสานงา | ก. ใช้งาสวนแทงกันในการยุทธหัตถี |
พรรคนาวิน | (พัก-) น. เหล่าของทหารเรือที่ทำหน้าที่ทางเรือ และสนับสนุนการยุทธ์ทางเรือ. |
พิชัยสงคราม | น. ตำราว่าด้วยกลยุทธ์, ตำราว่าด้วยวิธีการเอาชนะในสงคราม. |
ยง ๓ | ว. กล้าหาญ เช่น ยงยุทธ์ เยี่ยมยง, เก่งกล้าสามารถ เช่น ตัวยง. |
ยุทโธปกรณ์ | น. วัสดุอุปกรณ์ทั้งปวงและยุทธภัณฑ์ทุกชนิดซึ่งใช้ในราชการทหาร รวมทั้งเครื่องมือยานยนต์ ชิ้นส่วนอะไหล่สาธารณูปโภคอันจำเป็นเพื่อปฏิบัติการรบหรือเพื่อดำรงและสนับสนุนกิจกรรมทางทหารโดยไม่คำนึงถึงว่าจะมีความมุ่งหมายทางธุรการหรือทางการรบ. |
ยุทโธปกรณ์ | ดู ยุทธ-, ยุทธ์. |
ศาลอาญาศึก | น. ศาลที่ตั้งขึ้นเมื่อหน่วยทหารหรือเรือรบอยู่ในยุทธบริเวณ เพื่อพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทั้งปวงซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้นในเขตอำนาจได้ทุกบทกฎหมายและไม่จำกัดตัวบุคคล. |
Communist strategy | ยุทธศาสตร์คอมมิวนิสต์ [TU Subject Heading] |
Drill and tractics | การฝึกและยุทธวิธี [TU Subject Heading] |
Issues management | การบริหารประเด็นเชิงยุทธ์ [TU Subject Heading] |
Learning strategies | ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ [TU Subject Heading] |
Naval battles | ยุทธนาวี [TU Subject Heading] |
Naval strategy | ยุทธศาสตร์ทางทะเล [TU Subject Heading] |
Special weapons and tactics units | หน่วยอาวุธและยุทธวิธีพิเศษ [TU Subject Heading] |
Strategic aspects | แง่ยุทธศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Strategic planning | การวางแผนเชิงกลยุทธ์ [TU Subject Heading] |
Strategy | ยุทธศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Tactics | ยุทธวิธี [TU Subject Heading] |
Waste Strategy | กลยุทธ์ด้านของเสีย [สิ่งแวดล้อม] |
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] |
Forward Engagement | การทูตเชิงรุก ยุทธศาสตร์กรอบใหญ่ในนโยบายต่างประเทศของไทย ที่มีเป้าหมายที่จะขยายกรอบความร่วมมือให้ครอบคลุมทุกมิติความร่วมมือกับ ต่างประเทศ รวมทั้งการส่งเสริมและกระชับความสัมพันธ์กับทุกประเทศทั่วโลก เพื่อสันติภาพที่ยั่งยืนและความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจสำหรับประชาคมโลก [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Intelligence | เรื่องสืบราชการลับ กล่าวอย่างกว้าง ๆ คือ เรื่องลับไม่ว่าชนิดใด โดยเฉพาะที่จะมีประโยชน์แก่ผู้กำหนดนโยบาย หรือฝ่ายทหารที่มีหน้าที่ว่างนโยบายหรือวางแผนยุทธศาสตร์ ถือว่าเป็น Intelligence ทั้งสิ้น เช่น ในสหรัฐอเมริกามีองค์กรสืบราชการลับอยู่หลายแห่ง เช่น CIA (สำนักงานสืบราชการลับกลาง) The NSA (National Security Agency หรือองค์การรักษาความมั่นคงปลอดภัยแห่งชาติ) G-2 (ฝ่ายสืบราชการลับของกองทัพบก) FBI (Federal Bureau of Investigation หรือหน่วยสืบสวนของรัฐบาลกลาง) Bureau of Intelligence and Research of the State Department หรือหน่วยสืบราชการลับและวิจัยของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ รวมทั้งฝ่ายสืบราชการลับของกองทัพเรือและกองทัพอากาศ ส่วนในโซเวียตรัสเซีย (ปัจจุบันเรียกชื่อใหม่ว่ารัสเซีย) แต่เดิมมีองค์การสืบราชการลับอยู่จำนวนหนึ่ง ที่สำคัญๆ ได้แก่ ฝ่ายสืบราชการลับทางทหารของกระทรวงกลาโหม หรือที่เรียกว่า YRU (Ylavnoe Razdevyvatelnoe Uptavlenie) และ KGB (Kommissariat Gosudatstvennoie Bezopastnotsi หรือ Commisariat of State Security) ในประเทศอังกฤษ มีฝ่ายสืบราชการลับเรียกว่า M15 (British Counter Intelligence) M16 เป็นหน่วยสาขาซึ่งทำงานด้านจารกรรมในต่างประเทศ และ M18 เป็นฝ่ายสืบราชการฝ่ายทหาร (Cryptographic Bureau of Military Intelligence) [การทูต] |
Thailand-Malaysia Committee on Joint Development Strategy for border areas | คณะกรรมการว่าด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาร่วมสำหรับ พื้นที่ ชายแดนไทย-มาเลเซีย [การทูต] |
Joint Strategy for Economic Partnership | ยุทธศาสตร์ร่วมเพื่อความเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ ไทย-เวียดนาม เป็นแผนแม่บทเพื่อกำกับการดำเนินความสัมพันธ์ทาง เศรษฐกิจไทย-เวียดนาม ในทุกมิติ ครอบคลุมด้านการค้า การลงทุน การผลิต การเงิน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พลังงาน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ [การทูต] |
Mekong - Ganga Cooperation | ความร่วมมือแม่นำโขง - คงคา ริเริ่มขึ้นเมื่อกรกฎาคม พ.ศ.2543 ที่กรุงเทพฯ มีสมาชิก 6 ประเทศ คือกัมพูชา อินเดีย ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจและสร้างความเชื่อมโยง ระหว่างประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงกับประเทศในลุ่มแม่น้ำคงคาในด้านการ ท่องเที่ยว การศึกษาวัฒนธรรม และคมนาคมขนส่งโดยอาศัยปัจจัยทางเศรษฐกิจที่เกื้อกูลกันและความสัมพันธ์ที่ ดีระหว่างกัน และเป็นยุทธศาสตร์เชื่อมโยง GMS (จีน) ไปสู่อินเดีย [การทูต] |
New Asian-African Strategic Partnership | ความร่วมมือทางยุทธศาสตร์ใหม่ระหว่างเอเชียกับ แอฟริกา เกิดขึ้นเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ.2548 (ค.ศ.2005) [การทูต] |
National Missile Defence | โครงการต่อต้านขีปนาวุธพิสัยกลางและไกล " เป็นโครงการพัฒนาขีปนาวุธต่อต้านขีปนาวุธพิสัยกลางและไกล เพื่อป้องกันขีปนาวุธจากภายนอกประเทศของสหรัฐอเมริกา NMD จัดตั้งภายในประเทศ ส่วน Theatre Missile Defence (TMD) เป็นระบบขีปนาวุธในยุทธบริเวณนอกประเทศ อาทิ พื้นที่ที่สหรัฐอเมริกามีฐานทัพ อยู่ เป็นต้น " [การทูต] |
Regional Operate Center | ศูนย์ปฏิบัติการร่วม กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ROC เป็นโครงการนำร่อง ซึ่งกระทรวงการต่างประเทศกระทรวงมหาดไทย สำนักงาน ก.พ.ร. และ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ร่วมกันจัดตั้งขึ้น เปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อ พ.ศ. 2549 เพื่อพัฒนาการทำงานร่วมกันระหว่างเอกอัครราชทูตในประเทศเพื่อนบ้านกับผู้ว่า ราชการจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยทำหน้าที่ประสานเชื่อมโยงการทำงานระหว่างเอกอัครราชทูตกับผู้ว่าราชการ จังหวัด เพื่อบูรณาการยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ให้สอดคล้องกับนโยบายต่างประเทศ รวมทั้งให้บริการข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านและจังหวัดในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรและงานวิจัยในท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนนโยบายต่างประเทศ [การทูต] |
Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] |
strategic partnership | หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ เป็นลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศที่มีความใกล้ชิดสนิทสนมอย่างยิ่ง อยู่บนพื้นฐานของความเสมอภาค มีนโยบายและแนวคิดทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการทหารไปในแนวทางเดียวกัน [การทูต] |
Strategic Plan of Action on Environment | แผนปฏิบัติการกลยุทธ์ด้านสิ่งแวดล้อม เป็นแนวทางในการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมของอาเซียน [การทูต] |
United Nations Drug Control Programme | โครงการควบคุมยาเสพติดแห่งสหประชาชาติ ตั้งอยู่ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางด้านข้อมูลข่าวสารและความรู้ในด้านการควบคุมยาเสพติด โดยได้ให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศสมาชิกในด้านการจัดทำยุทธศาสตร์ควบคุมยาเสพ ติด [การทูต] |
Arbitrage | กลยุทธ์ในการทำกำไรจากผลต่างของราคา ใน 2 ตลาดของสินค้าชนิดเดียวกัน, Example: การที่จะทำเช่นนี้ได้ก็ต่อเมื่อสินค้านั้นมีการซื้อขายมากกว่าหนึ่งตลาด เช่น การขายสินค้าในตลาดปกติที่มีการส่งมอบกันทันทีไปพร้อมๆกับการซื้อสินค้าในตลาดล่วงหน้า เป็นต้น [การเงิน-การลงทุน] |
Strategic Plan of Action for Food Security | แผนกลยุทธ์ด้านความมั่นคงด้านอาหาร [การค้าระหว่างประเทศ] |
อาวุธยุทธภัณฑ์ | [āwut yutthaphan] (n, exp) EN: armaments ; weapon ; arms FR: armement [ m ] |
ชวลิต ยงใจยุทธ | [Chawalit Yongjaiyut] (n, prop) EN: Gen Chavalit Yongchaiyudh ; Gen Chavalit ; Chavalit FR: Chavalit Yongchaiyudh |
เชิงกลยุทธ์ | [choēng konlayut] (adj) EN: strategic FR: stratégique |
จุดยุทธศาสตร์ | [jut yutthasāt] (n, exp) EN: stronghold ; strategic point ; strategic position |
การบริหารเชิงกลยุทธ์ | [kān børihān choēng konlayut] (n, exp) EN: strategic management |
การกำหนดกลยุทธ์ | [kān kamnot konlayut] (n, exp) EN: strategy formulation ; strategy |
การคิดเชิงกลยุทธ์ | [kān khit choēng konlayut] (n, exp) FR: pensée stratégique [ f ] |
การปฏิบัติตามกลยุทธ์ | [kān patibat tām konlayut] (n, exp) EN: strategy implementation |
การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ | [kān tatsinjai choēng konlayut] (n, exp) EN: strategic decision |
การวางแผนกลยุทธ์ | [kān wāngphaēn konlayut] (n, exp) EN: strategic nplanning FR: plan stratégique [ m ] |
การวางแผนยุทธวิธี | [kān wāngphaēn yuthhawithī] (n, exp) EN: tactical planning |
ความคิดเชิงกลยุทธ์ | [khwāmkhit choēng konlayut] (n, exp) EN: strategic thinking FR: pensée stratégique [ f ] |
กลยุทธ์ | [konlayut] (n) EN: strategy FR: stratégie [ f ] |
กลยุทธ์เชิงรุก | [konlayut choēng ruk] (n, exp) EN: approach strategy ; offensive strategy |
กลยุทธ์การโฆษณา | [konlayut kān khōtsanā = konlayut kān khōsanā] (n, exp) EN: advertising strategy FR: stratégie publicitaire [ f ] |
กลยุทธ์การตลาด | [konlayut kāntalāt] (n, exp) EN: marketing strategy |
กลยุทธ์การตั้งราคา | [konlayut kān tang rākhā] (n, exp) EN: pricing strategy |
กลยุทธ์ของบริษัท | [konlayut khøng børisat] (n, exp) EN: corporate strategy |
กลยุทธ์ทางการเมือง | [konlayut thāng kānmeūang] (n, exp) EN: political machinery |
กฎยุทธวินัย | [kot yutthawinai] (n, exp) EN: military code of conduct ; code of military discipline |
นักยุทธศาสตร์ | [nak yutthasāt] (n, exp) EN: strategist FR: stratège [ m ] |
เป้าหมายกลยุทธ์ | [paomāi konlayut] (n, exp) EN: strategic goal FR: objectif stratégique [ m ] |
แผนยุทธการ | [phaēn yutthakān] (n, exp) EN: plan of campaign ; battle plan ; strategic map FR: plan stratégique [ m ] ; plan de bataille [ m ] |
สรยุทธ สุทัศนะจินดา | [Sorayut Suthatsanajindā] (n, prop) EN: Sorayut FR: Sorayut |
สุรยุทธ์ จุลานนท์ | [Surayut Julānon] (n, prop) EN: Surayud Chulanont FR: Surayud Chulanont |
ตามกลยุทธ์ | [tām konlayut] (adj) EN: strategic FR: stratégique |
ถนนยุทธศาสตร์ | [thanon yutthasāt] (n, exp) EN: strategic road FR: route stratégique [ f ] ; voie stratégique [ f ] |
ยุทธ | [yut] (n) EN: fight ; battle |
ยุทธ- | [yuttha-] (pref, (n)) EN: fight ; battle ; fighting ; war |
ยุทธบริเวณ | [yutthabøriwēn] (n) EN: war zone ; military sector ; theater of war |
ยุทธหัตถี | [yutthahatthi] (n) EN: war elephant ; hand-to-hand combat on elephants' backs |
ยุทธการ | [yutthakān] (n) EN: battle ; military operations ; naval operations ; fighting ; warfare |
ยุทธนา | [yutthanā] (n) EN: war ; battle , campaign ; fight |
ยุทธนาการ | [yutthanākān] (n) EN: fight ; combat ; military engagement ; naval engagement ; air combat |
ยุทธภัณฑ์ | [yutthaphan] (n) EN: war material ; military hardware FR: matériel militaire [ m ] |
ยุทธภูมิ | [yutthaphūm] (n) EN: battlefield |
ยุทธศาสตร์ | [yutthasāt] (n) EN: strategy FR: stratégie [ f ] |
ยุทธศาสตร์ | [yutthasāt] (adj) EN: strategic FR: stratégique |
ยุทธวิธี | [yutthawithī] (n) EN: tactics ; artifice ; means ; stratagem ; trick ; strategy ; trickery FR: tactique [ f ] |
ammunition | (n) อาวุธยุทธภัณฑ์, See also: ลูกกระสุน, ดินระเบิด |
armament | (n) อาวุธยุทธภัณฑ์, See also: อาวุธยุทโธปกรณ์, ยุทธภัณฑ์, Syn. arms, weapons, armor |
artifice | (n) กลอุบาย, See also: ชั้นเชิง, เล่ห์เหลี่ยม, กลเม็ด, กลยุทธ์, กลวิธี, Syn. trick, wile |
battery | (n) กลุ่มของอาวุธยุทธภัณฑ์, Syn. armory |
battle | (n) การสู้รบ, See also: การประจัญบาน, การรบ, สงคราม, ยุทธการ, Syn. attack, fight |
high-pressure | (vt) ที่ชักชวนหรือกระตุ้นให้ซื้อของโดยใช้กลยุทธ์ที่ก้าวร้าวและไม่ยอมเลิกรา (คำไม่เป็นทางการ) |
play one's trump card | (idm) ปล่อยไม่เด็ด, See also: งัดกลยุทธิ์เยี่ยมที่สุดออกมาใช้ |
maneuver | (n) กลยุทธ์, See also: กลอุบาย, แผนการ, Syn. stratagem, procedure |
maneuverability | (n) การวางแผนการ, See also: การจัดกลยุทธ์ |
maneuverering | (n) การใช้แผนการ, See also: การใช้กลยุทธ์, Syn. tactics, strategy |
manoeuver | (n) กลยุทธ์, See also: กลอุบาย, แผนการ, Syn. stratagem, procedure |
manoeuvering | (n) การใช้กลยุทธ์ |
manoeuvrability | (n) การวางแผนการ, See also: การจัดกลยุทธ์ |
manoeuvre | (n) กลยุทธ์, See also: กลอุบาย, แผนการ, Syn. stratagem, procedure |
strategic | (adj) เกี่ยวกับยุทธวิธีหรือกลยุทธ์, See also: ในทางยุทธศาสตร์, Syn. cunning, diplomatic, tricky |
strategical | (adj) เกี่ยวกับยุทธวิธีหรือกลยุทธ์, Syn. tactical |
strategics | (n) ยุทธศาสตร์ |
strategist | (n) ผู้เชี่ยวชาญด้านยุทธศาสตร์, Syn. tactician, shemer |
strategy | (n) ยุทธวิธี, See also: กลวิธี, ยุทธศาสตร์, Syn. procedure, tactics |
tactic | (n) ยุทธวิธี, See also: หนทาง, นโยบาย, กลยุทธ์ |
tactical | (adj) เกี่ยวกับยุทธวิธี, See also: เกี่ยวกับกลยุทธ์ที่ชาญฉลาด |
tactician | (n) นักกลยุทธ์, See also: นักวางยุทธวิธี, ผู้มีกลยุทธ์, Syn. strategist, planner |
tactics | (n) การทหาร, See also: กลยุทธ์ที่ใช้ในการรบหรือทำสงคราม |
tactics | (n) ชั้นเชิง, See also: กลยุทธ์, กลวิธี, Syn. strategy, maneuvering, generalship, stratagem |
ammunition | (แอมมิวนิช' เชิน) n. อาวุธยุทธภัณฑ์, กระสุน, ข้อมูล (shot and shell) |
battery | (แบท'เทอรี) n. แบตเตอรี่, หม้อกำเนิดไฟฟ้า, กองร้อยทหารปืนใหญ่, ชุดปืนเรือ, กลุ่มอาวุธยุทธภัณฑ์, การทุบตี, การทำโจมตี, Syn. troop |
battle | (แบท'เทิล) n. สงคราม, ยุทธการ, การรบ vi. รบ, ต่อสู้, ผจญ., Syn. encounter |
battleship | n. เรือรบที่หุ้มเกราะและมีอาวุธยุทธภัณฑ์เต็มที่ |
fight | (ไฟทฺ) { fought, fought, fighting, fights } n. การต่อสู้, การสู้รบ, ยุทธการ, การแข่งขัน, การดิ้นรน, การชกมวย vi., vt. ต่อสู้, สู้, สู้รบ, เอาชนะ, ชกต่อยกับ, Syn. battle |
gear | (เกียร์) n., vt. (ใส่) ล้อฟันเฟือง, เฟือง, เกียร์, เครื่องสวม, เครื่องขี่ม้า, เครื่องมือ, อุปกรณ์, เสื้อผ้า, ยุทธสัมภาระ, เสื้อเกราะ vi. สวมใส่พอดี, ใส่ได้พอดี. adj. อัศจรรย์, ดีเยี่ยม |
generalship | n. การบัญชากองทัพ, การนำทัพ, ยุทธวิธี, ตำแหน่งนายพล, อำนาจหน้าที่ของนายพล |
joust | (จูสทฺ) { jousted, jousting, jousts } vt., n. (การ) ประลองยุทธ์บนหลังม้า (ระหว่างอัศวิน) , ต่อสู้, แข่งขัน. -S.tilt, jostle, tourney, |
operation | (ออพพะเร'เชิน) n. การกระทำ, การทำงาน, ปฏิบัติการ, ศัลยกรรม, การเดินเครื่อง, การสู้รบ, วิธีการทางคณิตศาสตร์ (เช่นการบวก, การลบหรืออื่น ๆ) , กิจการ, ปฏิบัติการทางทหาร, ยุทธการ, Syn. working, act, maneuver |
policy | (พอล'ลิซี) n. นโยบาย, วิถีทาง, ยุทธวิธี, หลักการ, ความฉลาด, ความสุขุม, กรมธรรม์ประกันภัย, ลอตเตอรี, Syn. strategy |
stockpile | (สทอค'ไพลฺ) n. คลังพัสดุ, คลังสินค้า, คลังแสง, คลังอาวุธยุทธภัณฑ์. vi. เก็บไว้ในคลังดังกล่าว -stockpiler n., Syn. stock, stock |
stratagem | (สแทรท'ทะเจม) n. กลยุทธ, ยุทธวิธี, เล่ห์เหลี่ยม, อุบาย, กโลบาย, แผนการ |
strategic | (สทระที'จิค) adj. เกี่ยวกับ (กลยุทธ, ยุทธวิธี) , เป็นยุทธปัจจัย., See also: strategically adv., Syn. strategical, major, vital |
strategics | (สทระที'จิคซฺ) n. ยุทธศาสตร์, ยุทธวิธี, กลยุทธ, วิชาว่าด้วยการรบทางทหาร |
strategist | (สแทรท'ทิจิสทฺ) n. ผู้เชี่ยวชาญยุทธศาสตร์ (ยุทธวิธี, กลยุทธ) |
strategy | (สแทรท'ทิจี) n. แผนการณ์, วิธีการ, อุบาย, กโลบาย, ยุทธศาสตร์, ยุทธวิธี, กลยุทธ |
tactical | (แทค'ทิเคิล) adj. เกี่ยวกับยุทธวิธี, เกี่ยวกับยุทธวิธีที่เชี่ยวชาญหรือฉลาด., Syn. astute, discreet |
tactician | (แทคทิช'เชิน) n. นักกลยุทธ, นักการทหาร, นักวางยุทธวิธี |
tactics | (แทค'ทิคซฺ) n. ยุทธวิธี, กลยุทธ, การทหาร, Syn. maneuvers, strategy |
armament | (n) อาวุธยุทธภัณฑ์, กำลังทหาร, สรรพาวุธ |
enginery | (n) การสร้างกลจักร, เครื่องจักรกล, อาวุธยุทธภัณฑ์ |
fight | (n) การต่อสู้, การสู้รบ, การชกมวย, การแข่งขัน, ยุทธการ, การดิ้นรน |
joust | (n) การสู้ด้วยหอก, การแข่งขัน, การประลองยุทธ์ |
joust | (vi) สู้ด้วยหอก, ประลองยุทธ์, แข่งขัน |
operation | (n) การปฏิบัติการ, ยุทธการ, การเคลื่อนไหวทางทหาร, การทำงาน, การผ่าตัด |
policy | (n) นโยบาย, แนวทาง, หลักการ, อุบาย, ยุทธวิธี |
stratagem | (n) ยุทธวิธี, เล่ห์เหลี่ยม, อุบาย, กลยุทธ์, กุศโลบาย, แผนการ |
strategic | (adj) เป็นกลยุทธ์, สำคัญทางยุทธศาสตร์, เป็นยุทธปัจจัย |
strategist | (n) นักยุทธศาสตร์ |
strategy | (n) ยุทธวิธี, กลยุทธ์, แผนการณ์, อุบาย, กุศโลบาย, ยุทธศาสตร์ |
tactical | (adj) เกี่ยวกับยุทธวิธี, เกี่ยวกับกลยุทธ์, ฉลาด |
tactics | (n) ยุทธวิธี, กลยุทธ์, การทหาร |
tournament | (n) การแข่งขัน, การประลองยุทธ์ |