รดี | (n) pleasure, See also: amusement, satisfaction, contentment, Syn. รติ, ความยินดี, ความชอบใจ |
รดี | (n) love, See also: sexual passion, affection, Syn. รติ, ความรัก, ความกำหนัด |
ภารดี | (n) speech, See also: words, eloquence, language, utterance, Syn. ถ้อยคำ, คำพูด, ภาษา, Thai Definition: คำที่กล่าวออกมา |
มหุรดี | (n) moment, See also: short time, a little/short while, Syn. ครู่, ขณะ, ชั่วโมง, Notes: (สันสกฤต) |
ทิศหรดี | (n) southwest, Syn. ทิศตะวันตกเฉียงใต้, Ant. ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ, ทิศอีสาน, Example: ตามปกติในเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน ลมจะพัดมาทางทิศหรดี, Thai Definition: ทิศซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างทิศตะวันตกกับทิศใต้ |
การดีดนิ้ว | (n) snap, See also: flip, Ant. ครั้ง, Example: การแสดงการดีดนิ้วเป็นเสียงเพลงเป็นสิ่งมหัศจรรย์มาก |
การดีดสีตีเป่า | (n) playing music, Syn. การเล่นดนตรี, Example: การดีดสีตีเป่ามีมาตั้งแต่สมัยโบราณ |
นิมมานรดี | (นิมมานะระดี, นิมมานอระดี) น. ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๕ แห่งสวรรค์ ๖ ชั้น มีท้าวสุนิมมิตมารเป็นใหญ่ในชั้นนี้, ในบทกลอนใช้ว่า นิมมานรดีต ก็มี เช่น ช่อชั้นนิมมานรดีต (อิเหนา). (ป.; ส. นิรฺมาณ + รติ). (ดู ฉกามาพจร ประกอบ). |
ภารดี | (พาระ-) น. ถ้อยคำ, คำพูด, ภาษา. |
มหุรดี | น. ครู่, ขณะ, ชั่วโมง. |
มูรดี, มูรติ | (มูระ-) น. ร่างกาย, รูป. |
รดี | น. รติ. |
หรดี | (หอระดี) น. ทิศตะวันตกเฉียงใต้. |
หรัสวมูรดี | (-มูระดี) ว. มีร่างเล็ก, เตี้ย. |
อภิรดี, อภิรติ | (อะพิระ-) น. ความรื่นรมย์ยินดียิ่ง (มักใช้ในเรื่องรักใคร่). |
อรดี, อรติ | (อะระ-) น. ความไม่ยินดี, ความไม่พอใจ, อราดี หรือ อราติ ก็ใช้. |
อารดี, อารติ | (อาระดี, -ติ) น. การเว้น, การเลิก, การหยุด, อารัติ ก็ว่า. |
กรรม ๑, กรรม- ๑ | (กำ, กำมะ-) น. การ, การกระทำ, การงาน, กิจ, เช่น พลีกรรม ต่างกรรมต่างวาระ, เป็นการดีก็ได้ ชั่วก็ได้ เช่น กุศลกรรม อกุศลกรรม. |
กระดี่ได้น้ำ | น. ใช้เปรียบเทียบคนที่แสดงอาการดีอกดีใจตื่นเต้นจนตัวสั่น เช่น เขาดีใจเหมือนกระดี่ได้น้ำ. |
กระไร | ว. อะไร เช่น เขาไม่ว่ากระไร, อย่างไร เช่น จะทำกระไรดี, เท่าไร เช่น ถูกปรับเพียง ๑๐๐ บาทก็ไม่กระไรนัก, ทำไม, ไฉน, เช่น ข้าแต่นเรศูรสมเด็จพระบิดาเจ้าข้าเอ่ย กระไรเลยไม่ปรานี (ม. ร่ายยาว กุมาร). |
กลืนไม่เข้าคายไม่ออก | ก. อาการที่รู้สึกพะอืดพะอมไม่รู้จะเลือกอย่างไรดี. |
กัลยาณ- | (กันละยานะ-) ว. งาม, ดี, ใช้เป็นส่วนหน้าของสมาส เช่น กัลยาณคุณ = คุณอันงาม กัลยาณธรรม = ธรรมอันดี กัลยาณมิตร = มิตรดี. |
กามภพ | น. ที่เกิดของผู้ที่ยังเกี่ยวด้วยกาม, โลกเป็นที่อยู่อาศัยของผู้เสพกาม ได้แก่ อบายภูมิ ๔ (นรกภูมิ ติรัจฉานภูมิ เปรตวิสัยภูมิ อสุรกายภูมิ) มนุษยโลก ๑ และสวรรค์ ๖ ชั้น (จาตุมหาราชิกหรือจาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานนรดี ปรนิมมิตวสวัตดี) รวมเป็น ๑๑, กามภูมิ ก็ว่า. |
โครโมโซม | น. ส่วนหนึ่งของนิวเคลียสของเซลล์ มีลักษณะเป็นท่อนหรือเป็นเส้น ประกอบขึ้นด้วยสารดีเอ็นเอ (DNA = deoxyribonucleic acid) เชื่อมกับโปรตีน ทำหน้าที่สำคัญในการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ทั้งควบคุมการทำงานของเซลล์และการแบ่งเซลล์. |
ฉกามาพจร, ฉกามาวจร | (ฉะกามาพะจอน, ฉะกามาวะจอน) น. สวรรค์ ๖ ชั้น ได้แก่ ๑. จาตุมหาราชหรือจาตุมหาราชิกหรือจาตุมหาราชิกา ๒. ดาวดึงส์ ๓. ยามา ๔. ดุสิต ๕. นิมมานรดี ๖. ปรนิมมิตวสวัตดี. |
ชระเดียด | (ชะระ-) ว. รายไป, เรียดไป, โบราณเขียนเป็น ชรดียด ก็มี เช่น ผลักให้ตากตนอยียด ชรดียดด้าวดิ้นดรนอนอยู่แล (ม. คำหลวง กุมาร). |
ตาแหลม | ว. มีสายตาคมพอมองเห็นก็รู้ทันทีว่าอะไรดีมีคุณค่า เช่น ผู้หญิงคนนี้ตาแหลม พอมองเห็นหัวแหวนก็รู้ว่าเป็นเพชรแท้หรือเพชรเทียม. |
ตากตน | ก. นอนแผ่, นอนหงาย, เช่น ผลักให้ตากตนอยียด ชรดียดด้าวดิ้นดรนอนอยู่แล (ม. คำหลวง กุมาร). |
เต้นแร้งเต้นกา, เต้นแร้งเต้นแฉ่ง | ก. แสดงอาการดีอกดีใจหรือสนุกสนานด้วยการกระโดดโลดเต้น. |
ทศทิศ | น. ทิศทั้ง ๑๐ คือ ทิศทั้ง ๘ คือ อุดร อีสาน บูรพา อาคเนย์ ทักษิณ หรดี ประจิม พายัพ รวมกับทิศเบื้องบน และทิศเบื้องล่าง. |
ทักษา | น. เรียกดาวพระเคราะห์เฉพาะ ๘ ดวง คือ อาทิตย์ (ประจำทิศอีสาน ใช้เลข ๑ แทน) จันทร์ (ประจำทิศบูรพา ใช้เลข ๒ แทน) อังคาร (ประจำทิศอาคเนย์ ใช้เลข ๓ แทน) พุธ (ประจำทิศทักษิณ ใช้เลข ๔ แทน) เสาร์ (ประจำทิศหรดี ใช้เลข ๗ แทน) พฤหัสบดี (ประจำทิศประจิม ใช้เลข ๕ แทน) ราหู (ประจำทิศพายัพ ใช้เลข ๘ แทน) และศุกร์ (ประจำทิศอุดร ใช้เลข ๖ แทน) เขียนเป็นแผนภูมิดังนี้
|
พะอืดพะอม | โดยปริยายหมายความว่า ไม่รู้จะตัดสินใจอย่างไรดี, ไม่กล้าที่จะตัดสินใจเด็ดขาดลงไป, กลืนไม่เข้าคายไม่ออก ก็ว่า. |
พิณ | น. ชื่อเครื่องดนตรีชนิดหนึ่ง บรรเลงด้วยการดีดสาย. |
ไม่ใช่ขี้ไก่ | ว. ไม่เลว, มีอะไรดีเหมือนกัน ดูหมิ่นไม่ได้. |
ร | (รอ) พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เรียกว่า รอ เรือ เป็นอักษรตํ่า ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากนหรือแม่กน เช่น การ วาร, เมื่อสะกดพยัญชนะที่ไม่มีสระอื่นเกาะต้องอ่านเหมือนมีสระ ออ อยู่ด้วย เช่น กร (กอน) กุญชร (กุนชอน), ถ้าตามพยัญชนะอื่น แต่มิได้ทำหน้าที่เป็นตัวสะกดและมีพยางค์อื่นตาม พยัญชนะที่อยู่หน้าตัว ร มักออกเสียงประสมสระ ออ และตัว ร ออกเสียง ระ เช่น จรลี (จอ-ระ-ลี) หรดี (หอ-ระ-ดี). |
รติ | ความรัก, ความกำหนัด, แผลงใช้ว่า ฤดี หรือ รดี ก็ได้. |
เลือกเฟ้น | ก. คัดเอาแต่ที่ดีเด่น, คัดเอาแต่ที่ต้องการ, เช่น เลือกเฟ้นนักกีฬาทีมชาติ เลือกเฟ้นข้าราชการดีเด่น, เฟ้น ก็ว่า. |
โวหาร | น. ชั้นเชิงหรือสำนวนแต่งหนังสือหรือพูด เช่น มีโวหารดี, ถ้อยคำที่เล่นเป็นสำบัดสำนวน เช่น อย่ามาตีโวหาร เขาชอบเล่นโวหาร. |
สะตึ, สะตึ ๆ | ว. ไม่มีอะไรดี, ไม่ได้เรื่อง, ไม่มีค่า, เช่น หนังเรื่องนี้สะตึดูแล้วเสียดายเงิน ของสะตึ ๆ อย่างนี้ไม่ซื้อหรอก. |
สะระตะ | ก. เก็งหรือคาดหมายเอาโดยยึดเค้าเดิมเป็นหลัก เช่น ข้าพระพุทธเจ้าคิดสะระตะอยู่ว่าจะแก้ไขอย่างไรดี (หนังสือเจ้าพระยาพระเสด็จฯ กราบบังคมทูล ร. ๕), สรตะ ก็ว่า. |
สำนวน | น. ถ้อยคำที่เรียบเรียง, โวหาร, บางทีก็ใช้ว่า สำนวนโวหาร เช่น สารคดีเรื่องนี้สำนวนโวหารดี ความเรียงเรื่องนี้สำนวนโวหารลุ่ม ๆ ดอน ๆ |
หน้าบาน | ว. ทำหน้าแสดงอาการดีใจ เช่น เขาหน้าบานเพราะสอบได้ที่ ๑. |
อราดี, อราติ | น. ความไม่ยินดี, ความไม่พอใจ. (ป. อรติ). (ดู อรดี). |
อัฐเคราะห์ | น. เรียกดาวเฉพาะ ๘ ดวง คือ อาทิตย์ (ประจําทิศอีสาน ใช้เลข ๑ แทน) จันทร์ (ประจําทิศบูรพา ใช้เลข ๒ แทน) อังคาร (ประจําทิศอาคเนย์ ใช้เลข ๓ แทน) พุธ (ประจําทิศทักษิณ ใช้เลข ๔ แทน) เสาร์ (ประจําทิศหรดี ใช้เลข ๗ แทน) พฤหัสบดี (ประจําทิศประจิม ใช้เลข ๕ แทน) ราหู (ประจําทิศพายัพ ใช้เลข ๘ แทน) และศุกร์ (ประจําทิศอุดร ใช้เลข ๖ แทน) เขียนเป็นแผนภูมิดังนี้
ว่า ทักษา, ถ้าเกิดวันใด ก็ถือวันนั้นเป็นบริวาร แล้วนับเวียนขวาไปตามทิศทั้ง ๘ เช่น เกิดวันอาทิตย์ อาทิตย์เป็นบริวาร จันทร์เป็นอายุ อังคารเป็นเดช พุธเป็นศรี เสาร์เป็นมูละ พฤหัสบดีเป็นอุตสาหะ ราหูเป็นมนตรี และศุกร์เป็นกาลกรรณี. |
อารัติ | (-รัด) น. การเว้น, การเลิก, การหยุด, อารดี หรือ อารติ ก็ว่า. |
Demodulation (Electronics) | การดีมอดูเลต (อิเล็กทรอนิกส์) [TU Subject Heading] |
Diesel locomotives | รถจักรดีเซล [TU Subject Heading] |
PRODESIGN II (Computer program) | โปรดีไซน์ 2 (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Chelating Againt | ตัวดีเลต, สารดีเลต, Example: สารเคมีซึ่งทำให้ไอออนต่อเข้าในโมเลกุลเดียว กัน ด้วยแรงวาเลนซ์ แบบออร์ดิเนตและโคออร์ดิเนต [สิ่งแวดล้อม] |
Reclaimed rubber | ยางรีเคลมได้มาจากการนำเอาผลิตภัณฑ์ยางเก่าที่ใช้แล้ว เช่น ยางล้อรถยนต์ ยางในรถยนต์ หรือยางคงรูปที่เป็นของเสียซึ่งเกิดระหว่างกระบวนการผลิต มาผ่านกรรมวิธีโดยความร้อนและเคมี ยางจะเกิดการดีพอลิเมอไรซ์ (depolymerize) เปลี่ยนจากสภาพคงรูป (vulcanized) และมีความยืดหยุ่น (elasticity ) กลับคืนไปสู่สถานะแรกเริ่ม คือ ไม่มีความคงรูป (unvulcanised) และไม่มีความยืดหยุ่น (plasticity )* ได้เป็นยางรีเคลมที่มีลักษณะกึ่งของแข็งและของเหลว (paste-like ) ซึ่งสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้อีก ปกติจะใช้ยางรีเคลมผสมกับยางธรรมชาติสำหรับผลิตผลิตภัณฑ์ที่ไม่คำนึงถึงความ แข็งแรงและความ ทนทานมากนัก *Plasticity คือ ความโน้มเอียงของวัสดุที่จะเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปอย่างถาวรเมื่อได้รับ แรงกระทำ [เทคโนโลยียาง] |
Abscess, Brodie's | หนองฝีที่กระดูกชนิดเรื้อรัง, ฝีของโบรดี [การแพทย์] |
Alphaprodine Hydrochloride | ยาอัลฟาโพรดีนไฮโดรคลอไรด์ [การแพทย์] |
Antinuclear Factors | แอนตี้บอดี้ต่อสารดีเอ็นเอ, แอนตินิวเคลียร์แฟคเตอร์ [การแพทย์] |
Bradykinin | บราดีคีนิน, แบรดดีคินิน, สารแบรดีไคนิน, เบรดีไคนิน, แบรดดีไคนีน [การแพทย์] |
Decarboxylation | ดีคาร์บอกซิเลชั่น, กำจัดคาร์บอนไดออกไซด์, ปฏิกิริยาดีคาร์บอกซิเลชั่น, ขบวนการดีคาร์บอกซิเลชั่น, ปฏิกิริยาผันกลับ, ปฏิกิริยาแบบดีคาร์บอกซิเลชั่น [การแพทย์] |
Diffraction | การกระจาย, ดิฟแฟรคชั่น, ดิฟแฟรกชัน, วิธีการดีฟแฟรคซัน, การเลี้ยวเบน [การแพทย์] |
Jaundice | โรคดีซ่าน; ตาเหลือง; ดีซ่าน; ตัวเหลือง; อาการเหลือง; ภาวะเหลือง; ดีซ่าน, โรค; อาการดีซ่าน [การแพทย์] |
Jaundice, Cholestatic | ดีซ่านเป็นแบบโคเลสเตติค, อาการดีซ่าน, ถุงน้ำดีอุดตัน, การเกิดดีซ่าน [การแพทย์] |
Lipochondrodystrophy | ลิโปคอนโดรดิสโทรฟี, โรค; ไลโพคอนโดรดีสโตรฟี; ลิโปชอนโดรดิย์สโทรฟีย์ [การแพทย์] |
Muscular Dystrophy | มัสคูล่ารดีสโทรฟี่; มัสคิวล่าร์ ดิสโทรฟี; กล้ามเนื้ออ่อนกำลัง; มัสคูลาร์ ดีสโทรฟี, โรค; กล้ามเนื้อฝ่อ; กล้ามเนื้อเหี่ยว; โรคกล้ามเนื้อพิการ; กล้ามเนื้อลีบ; กล้ามเนื้อหด [การแพทย์] |
awkward | (ออค'เวิร์ด) adj. งุ่มง่าม, เชื่องช้า, เคอะเขิน, เก้งก้าง, ไม่รู้จะทำอย่างไรดี, อึดอัดใจ, อันตราย, ยากที่จะจัดการได้, ไม่สะดวก, ไม่เหมาะ -awkwardness n., Syn. gawky, ungainly |
down-bow | (ดาวน์'โบ) n. การดีดลง, การตีลง |
grindelia | (ไกรดี'เลีย) n. พืชไม้ดอกสีเหลือง |
harpsichord | n. เปียโนโบราณที่เล่นโดยการดีดสาย., See also: harpsichordist n. |
picking | (พิค'คิง) n. การเลือก, การสรร, การคัด, การขุด, การแคะ, การจิก, การเด็ด, การเก็บ, การดีดสายเครื่องดนตรี, สิ่งที่ถูกเลือก (คัด, ขุด...) , สิ่งที่เก็บขึ้นมาได้, อัฐิที่ยังเผาไม่หมด, ของโจร, See also: pickings n., pl. สิ่งที่ควรเก็บสะสมไว้, ผลกำไรที่ได้มาโดยทุจริต |
yellow fever | โรคติดต่อร้ายแรงและฉับพลันเนื่องจากเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งมีอาการดีซ่านอาเจียนและเลือดออก., Syn. yellow jack |