รับมอบ | (v) accept (something), See also: receive (something), Example: อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ยืนยันว่าหากรับมอบปุ๋ยอินทรีย์ แล้วตรวจสอบพบว่าปุ๋ยไม่ได้คุณภาพ ก็พร้อมบอกเลิกสัญญากับผู้ได้รับสัมปทาน, Thai Definition: รับเอาสิ่งที่ผู้อื่นให้มาเป็นของตน |
รับมอบ | (v) accept (something), See also: receive (something), Example: อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ยืนยันว่าหากรับมอบปุ๋ยอินทรีย์ แล้วตรวจสอบพบว่าปุ๋ยไม่ได้คุณภาพ ก็พร้อมบอกเลิกสัญญากับผู้ได้รับสัปทาน, Thai Definition: รับเอาสิ่งที่ผู้อื่นให้มาเป็นของตน |
รับมอบหมาย | (v) accept an assignment, See also: receive responsibility, be entrusted, Example: กองทัพได้รับมอบหมายจากรัฐบาลให้เป็นหัวหอกในการจัดที่ทำกินให้ราษฎร |
ผู้รับมอบอำนาจ | (n) attorney, Ant. ผู้มอบอำนาจ, Example: ผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัดได้เป็นผู้รับมอบอำนาจให้ปฏิบัติราชการภายในเขตจังหวัดแทนนายกรัฐมนตรีได้, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้มีอำนาจจัดการหรือทำการแทน |
กฐิน, กฐิน- | คำ กฐิน นี้ ใช้ประกอบกับคำอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้ เรียกว่า ผ้ากฐิน ในฤดูกาลเรียกว่า กฐินกาล [ กะถินนะกาน ] คือระยะเวลาตั้งแต่แรมคํ่าหนึ่ง เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ระยะเวลานี้เรียกเป็นสามัญว่าเทศกาลกฐิน [ เทดสะกานกะถิน ] ฤดูกฐิน หรือ หน้ากฐิน ก็มี ก่อนจะถึงกฐินกาลผู้ประสงค์จะถวายผ้ากฐินแก่ภิกษุสงฆ์วัดใดจะต้องไปแจ้งความจำนงว่าจะนำผ้ากฐินไปทอดที่วัดนั้นเป็นการล่วงหน้า การแสดงความจำนงล่วงหน้านี้ เรียกว่า จองกฐิน การทำพิธีถวายผ้ากฐิน เรียกว่า ทอดกฐิน พระภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินจากสงฆ์โดยวิธีที่กำหนดไว้ในพระวินัย เรียกว่า ผู้กรานกฐิน ผู้ครองกฐิน หรือ องค์ครองกฐิน เฉพาะผ้ากฐิน บางทีก็เรียกว่า องค์กฐิน ถ้าพร้อมกับของอื่นอันเป็นบริวารสำหรับถวายภิกษุสงฆ์ เรียกว่า เครื่องกฐิน หรือ บริวารกฐิน [ บอริวานกะถิน ] เมื่อนำผ้ากฐินไปทอดโดยมีขบวนแห่ เรียกว่า แห่กฐิน ถ้ามีพิธีฉลอง เรียกว่า ฉลองกฐิน การที่ภิกษุสงฆ์ผู้ร่วมอยู่ในพิธีอนุโมทนาต่อองค์ครองกฐินตามพระวินัย หรือการที่บุคคลแสดงความยินดีในการที่เขาทอดกฐิน เรียกว่า อนุโมทนากฐิน [ อะนุโมทะนากะถิน ] ภิกษุสงฆ์ผู้ได้อนุโมทนากฐินแล้วนั้น ย่อมได้ชื่อว่าเป็น ผู้กรานกฐิน ด้วย ผลของการทอดกฐิน เรียกว่า อานิสงส์กฐิน , ในทางวินัยสิทธิพิเศษ ๕ ประการซึ่งมีแก่ภิกษุผู้ได้กรานกฐินแล้ว ก็เรียกว่า อานิสงส์กฐิน เช่นกัน. (ดู กรานกฐิน และ จุลกฐิน). |
ข้าหลวง ๒ | ผู้ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่ราชการเฉพาะกิจ |
ฉันทานุมัติ | (ฉันทานุมัด) น. ความเห็นชอบตามโดยความพอใจ, การได้รับมอบหมายด้วยความเต็มใจ. |
ตัวแทน | น. ผู้ที่ได้รับมอบให้ทำการแทนบุคคลอื่น |
ตัวแทนขายตรง | น. บุคคลซึ่งได้รับมอบอำนาจจากผู้ประกอบธุรกิจขายตรงให้นำสินค้าหรือบริการไปเสนอขายตรงต่อผู้บริโภค. |
ทูต | น. ผู้นำข้อความไปแจ้งทั้ง ๒ ฝ่าย, ผู้รับใช้ไปเจรจาแทน, ผู้สื่อสาร, ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้แทนไปยังต่างประเทศ เพื่อเจรจาหรือเจริญสัมพันธไมตรีเป็นทางราชการ. |
ใบเรียกเกณฑ์ | น. หนังสือสั่งเกณฑ์ทรัพย์สินซึ่งเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารหรือผู้รับมอบอำนาจ ออกไปถึงเจ้าพนักงานปกครองท้องที่เพื่อดำเนินการเกณฑ์ทรัพย์สินจากประชาชน. |
ผู้รับจำนำ | น. ผู้รับมอบสังหาริมทรัพย์จากผู้จำนำเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้. |
ยืนโรง | น. เรียกผู้แสดงเป็นตัวละครหรือลิเกเป็นต้นตัวใดตัวหนึ่งประจำ เช่น พระเอกยืนโรง ตัวตลกยืนโรง, เรียกผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่งเป็นประจำ เช่น เขาเป็นตัวยืนโรงในการประชุม |
โล่ ๒ | สิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงโล่สำหรับมอบแก่ผู้ชนะการแข่งขันกีฬาเป็นต้น. |
เสร็จสิ้น | ก. สำเร็จแล้ว, หมดแล้ว, เช่น ภารกิจที่ได้รับมอบหมายเสร็จสิ้นแล้ว. |
หอบังคับการ | น. ที่ซึ่งผู้บังคับการเรือและนายทหารเรือร่วมกันปฏิบัติงานควบคุมและสั่งการให้เจ้าหน้าที่ประจำเรือแผนกต่าง ๆ ปฏิบัติภารกิจตามที่ได้รับมอบหมาย. |
proxy | ผู้รับมอบฉันทะ, ผู้รับมอบอำนาจ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
objects of a power | ผู้ได้รับมอบอำนาจให้แต่งตั้งผู้อื่น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
attorney in fact | ผู้รับมอบอำนาจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
attribution | อำนาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
agent, universal | ตัวแทนซึ่งได้รับมอบอำนาจทั่วไป [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
attorney | ผู้รับมอบอำนาจ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
breach of trust | ๑. การทำผิดหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย๒. การทำผิดหน้าที่ทรัสตี (ก. อังกฤษ และ ก. อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
bailee | ผู้รับมอบการครอบครองทรัพย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
mandatary; mandatory | ผู้ได้รับมอบอาณัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
mandatory; mandatary | ผู้ได้รับมอบอาณัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
disavow | ปฏิเสธ, ไม่ยอมรับ (การกระทำที่ไม่ได้รับมอบหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
delegated legislation | กฎหมายที่ออกตามอำนาจที่ได้รับมอบหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
vote by proxy | ออกเสียงลงมติโดยผู้รับมอบอำนาจ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
trust, breach of | ๑. การทำผิดหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย๒. การทำผิดหน้าที่ทรัสตี (ก. อังกฤษ และ ก. อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
non-acceptance | การไม่รับรอง (ตั๋วแลกเงิน), การไม่ยอมรับมอบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unauthorized | ไม่มีอำนาจ, ไม่ได้รับมอบอำนาจ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
universal agent | ตัวแทนซึ่งได้รับมอบอำนาจทั่วไป [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Annual Contract Quantity | ปริมาณก๊าซรวมที่ส่งและรับมอบในหนึ่งปี, Example: เป็นผลบวกของ Daily Contract Quantity (DCQ) คือ ปริมาณก๊าซที่ผู้ขายจะต้องส่งมอบตามสัญญาให้แก่ผู้ซื้อในแต่ละวัน แต่ไม่จำเป็นจะต้องเท่ากับ 365 x DCQ [ปิโตรเลี่ยม] |
Radiation safety officer | เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี, เจ้าหน้าที่ผู้มีความรู้ความสามารถด้านการป้องกันรังสีที่เกี่ยวข้องกับงานที่ได้รับมอบหมาย และได้รับการแต่งตั้งจากผู้รับใบอนุญาตให้ดูแลด้านความปลอดภัยทางรังสีตามข้อกำหนด [นิวเคลียร์] |
Radiation protection officer | เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทางรังสี, เจ้าหน้าที่ผู้มีความรู้ความสามารถด้านการป้องกันรังสีที่เกี่ยวข้องกับงานที่ได้รับมอบหมาย และได้รับการแต่งตั้งจากผู้รับใบอนุญาตให้ดูแลด้านความปลอดภัยทางรังสีตามข้อกำหนด [นิวเคลียร์] |
Delegated legislation | กฎหมายที่ออกตามอำนาจที่ได้รับมอบหมาย [TU Subject Heading] |
หนังสือรับมอบที่ดิน | หนังสือรับมอบที่ดิน, Example: หนังสือที่สำนักงานการปฎิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรมมอบให้แก่เกษตรกรหรือสถาบันเกษตรกร เพื่อแสดงให้ทราบถึงการได้รับมอบที่ดินและได้รับอนุญาต ให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฎิรูปที่ดินตามแบบที่สำนักงานการปฎิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรมกำหนด [สิ่งแวดล้อม] |
Ad hoc | เพื่อวัตถุประสงค์หรือความมุ่งหมายโดยเฉพาะ เช่น คณะกรรมการการเมืองพิเศษของสหประชาชาติ ซึ่งมีหน้าที่พิจารณาเรื่องต่าง ๆ โดยเฉพาะ ตามที่รับมอบหมายจากสมัชชาสหประชาชาตินั้น แต่เดิมมีชื่อว่าคณะกรรมการการเมืองเฉพาะเรื่อง (Ad hoc Committee) [การทูต] |
Ambassador | เอกอัครราชทูต - Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary : เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม หมายถึง เอกอัครราชทูตที่รัฐผู้ส่งแต่งตั้งไปยังรัฐผู้รับ โดยมอบหมายอำนาจให้ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนของรัฐผู้ส่ง ในกรณีที่เอกอัครราชทูตมิได้มีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้รับ เรียกว่า Non-resident Ambassador - Ambassador-Designate : ว่าที่เอกอัครราชทูตประจำรัฐผู้รับ หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต แต่ยังมิได้ยื่นสาส์นตราตั้งต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ - Ambassador-at-Large : เอกอัครราชทูตผู้แทนพิเศษ หมายถึง ผู้แทนพิเศษของกระทรวงการต่างประเทศที่มีสิทธิและสถานะเทียบเท่าเอกอัคร ราชทูตผู้ซึ่งได้รับมอบหมายให้ดูแลงานและกิจการเฉพาะกิจ หรือเฉพาะเรื่องในต่างประเทศเป็นครั้งคราว - Ambassador attached to the Ministry of Foreign Affairs : เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงการต่างประเทศ หมายถึง บุคคล ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต มีภารกิจดูแลกิจการภายในของกระทรวงการต่างประเทศ ตามที่ได้รับมอบหมายจากปลัดกระทรวงการต่างประเทศ - Resident Ambassador : เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทย หมายถึง เอกอัครราชทูตของไทยที่ได้รับการแต่งตั้งให้ประจำต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ แต่ยังคงมีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้ส่ง เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทยนี้ จะเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ในรัฐผู้รับเป็นครั้งคราว [การทูต] |
Conciliation | การไกล่เกลี่ย คือ กระบวนการของการส่งเรื่องกรณีพิพาทไปให้คณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นทางการ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริง แล้วเสนอรายงาน ซึ่งประกอบด้วยข้อเสนอแนะในอันที่จะระงับกรณีพิพาทนั้น อย่างไรก็ดี ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการนี้ไม่มีผลบังคับแก่คู่พิพาทแต่อย่างใด ไม่เหมือนกับคำวินิจฉัยในการตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) [การทูต] |
Conference Diplomacy | กระบวนการเจรจาระหว่างรัฐบาลต่อรัฐบาลในรูปของการ ประชุม แทนที่จะกระทำโดยวิถีทางการทูตตามปกติ คือ โดยทางเอกอัครราชทูต หรือผู้แทนทางการทูตถาวร การประชุมแบบหนึ่งซึ่งเรียกว่า การประชุมโต๊ะกลม เพื่อทำหน้าที่ระงับปัญหาระหว่างประเทศนั้น เริ่มนิยมกระทำกันหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 การประชุมระหว่างประเทศนี้จะประกอบด้วยคณะผู้แทน ซึ่งมีหัวหน้าคณะที่ได้รับมอบอำนาจเต็ม และรัฐบาลของประเทศที่ร่วมประชุมเป็นผู้ส่งไป ในเรื่องนี้มีความเห็นแตกต่างกันอยู่บ้าง บ้างเห็นว่า ควรเป็นการประชุมทางการทูตตามประเพณีที่กระทำกันโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญโดยอาชีพ ซึ่งเป็นไปตามวิถีทางการทูตตามปกติมากกว่า [การทูต] |
Consular Office | บุคคลรวมทั้งหัวหน้าของที่ทำการทางกงสุล ซี่งได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานในฐานะกงสุลโดยได้รับ ภาระหน้าที่ทางกงสุล เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลมีอยู่ 2 ประเภทคือ 1. เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลอาชีพ (Career Consular Office)2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consular Office) [การทูต] |
Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] |
Exemption from Customs Duties and Inspection of Diplomatic Mission?s Articles | การยกเว้นจากอากรศุลกากร และการตรวจสิ่งของเครื่องใช้ของคณะผู้แทนทางการทูต การยกเว้นดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นสิทธิ แต่เป็นเรื่องของการแสดงอัธยาศัยไมตรีระหว่งประเทศที่ให้ต่อกันมากกว่า กฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้กำหนดพันธะที่จะต้องให้การยกเว้นจากอากรศุลกากร อย่างไรก็ดี รัฐส่วนมากได้แสดงอัธยาศัยไมตรีโดยให้ผู้แทนทางการทูตได้รับการยกเว้นอากร ศุลกากรแก่สินค้าและเครื่องใช้ที่นำเข้ามาใช้ในส่วนตัวเองอนุสัญญากรุง เวียนนาได้ระบุไว้ในมาตรที่ 36 ว่า1. รัฐผู้รับจะอนุญาตให้นำเข้าและอำนวยให้มีการยกเว้นจากอากรศุลกากร ภาษี ตลอดจนค่าภาระที่เกี่ยวข้องทั้งมวล นอกจากค่าภาระในการเก็บรักษา การขนส่งและบริการ ให้ทำนองเดียวกันตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ซึ่งรัฐผู้รับอาจกำหนดไว้แก่ก. สิ่งของสำหรับใช้ในทางการของคณะผู้แทนข. สิ่งของสำหรับใช้ส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต หรือคนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสิ่งของที่แสดงเจตนาสำหรับการตั้งถิ่นฐานของตัวแทนทางการทูตด้วย2. หีบห่อส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต ให้ได้รับยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า หีบห่อส่วนตัวนั้นบรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยู่ในข่ายแห่งการยกเว้นที่ได้ระบุไว้ ในวรรค 1 ของข้อนี้ หรือสิ่งของซึ่งการนำเข้าหรือส่งออกนั้นต้องห้ามทางกฎหมาย หรือถูกควบคุมตามข้อบังคับว่าด้วยการกักตรวจโรคของรัฐผู้รับ การตรวจตราเช่นว่านี้ให้กระทำต่อหน้าตัวแทนทางการทูต หรือต่อหน้าผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น [การทูต] |
Freedom of Communication | เสรีภาพในการติดต่อและสื่อสาร ถือเป็นสิทธิทางกฎหมาย (ไม่ใช่เพียงเอกสิทธิ์เท่านั้น) ที่สำคัญอันหนึ่งของนักการทูตย่อมจะเห็นได้ชัดว่า คณะทูต จะไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างพึงพอใจ นอกจากจะมีอิสระอย่างสมบูรณ์ในการที่จะมีหนังสือหรือวิถีทางอื่นๆ เพื่อติดต่อกับรัฐบาลของตน หรือจะส่งและรับจดหมาย หรือหนังสือต่างๆ โดยเจ้าหน้าที่ถือสารพิเศษ หรือโดยถุงทางการทูต (Diplomatic pouch) สำหรับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้?1. ให้รัฐผู้รับอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ในทางการทั้งมวลเพื่อการติดต่อกับรัฐบาล และกับคณะผู้แทนและสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่ง ไม่ว่าตั้งอยู่ ณ ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางที่เหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้ถือสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการ หมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงทางการทูต (Diplomatic Pouch) จะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูต จะต้องมีเครื่องหมายภายนอกที่เห็นได้ชัดเจน สามารถแสดงลักษณะของถุงทางการทูต ซึ่งอาจบรรจุเพียงเอกสารหรือสิ่งของทางการทูตที่เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่า นั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการแสดงสถานภาพของตน และจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ส่วนบุคคลจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ ในกรณีที่ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการแสดงจำนวนหีบห่อซึ่ง รวมเป็นถุง แต่ไม่ใช่ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง และโดยเสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน? [การทูต] |
head of consular post | หัวหน้าสถานทำการทางกงสุล " หมายถึงบุคคลที่ได้รับมอบหน้าที่ให้กระทำการในฐานะนั้น หัวหน้าสถานทำการทางกงสุลแบ่งออกเป็น 4 ชั้น คือ (1) กงสุลใหญ่ (2) กงสุล (3) รองกงสุล (4) ตัวแทนทางกงสุล (อนุสัญญากรุงเวียนนา ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล พ.ศ. 2506) " [การทูต] |
Head of Diplomatic Mission | บุคคลซึ่งได้รับมอบหมายจากรัฐผู้ส่งให้ทำหน้าที่ เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ในกรณีของสถานเอกอัครราชทูตผู้ที่เป็นหัวหน้าคณะผู้แทน ทางการทูต เรียกว่า เอกอัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม (Ambassador Extraordinary and plenipotentiary) หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะได้แก่ อัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม หรือเรียกว่าอุปทูต (Chargé d?Affaires entitre) คองเกรสแห่งเวียนนาและที่ประชุมแห่งเอกซ์ ลา ชา แปล (Congress of Aix-la-Chapelle) ได้จำแนกหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตไว้ดังต่อไปนี้ คือ1. เอกอัครราชทูต (Ambassadors) หรือเอกอัครสมณทูต (Papal Nucios)2. อัครราชทูต (Envoys Extraordinary and Ministers Plenipotentiary)3. อัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนัก (Mission Resident)4. อุปทูต (Chargé d?Affaires)แต่อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในมาตร 14 ว่า?1. หัวหน้าคณะผู้แทนแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือก. ชั้นเอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐ และหัวหน้าคณะผู้แทนอื่นที่มีชั้นเท่ากันข. ชั้นรัฐทูต อัครราชทูต และอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐค. ชั้นอุปทูตซึ่งแต่งตั้งไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ 2. ข้อยกเว้นที่เกี่ยวกับลำดับอาวุโสและมารยาท ต้องไม่ให้มีความแตกต่างกันระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทน ในมาตรา 15 ก็ได้ระบุว่า ชั้นที่กำหนดให้แก่หัวหน้าคณะผู้แทนนั้น ต้องทำความตกลงกันระหว่างรัฐ? [การทูต] |
Honorary Consul | กงสุลกิตติมศักดิ์ " ได้แก่ บุคคลในท้องถิ่นผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งและมอบหมายให้ดูแล ส่งเสริมผลประโยชน์ของประเทศและคนชาติในพื้นที่ในเขตอาณา และดำเนินการตรวจลงตราหนังสือเดินทางแก่บุคคลที่จะเดินทางเข้าประเทศที่ กงสุลกิตติมศักดิ์เป็นผู้แทน การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจากประเทศผู้รับ และต้องยื่นสัญญาบัตร และได้รับอนุมัติบัตรเช่นเดียวกับผู้แทนฝ่ายกงสุลอาชีพ (career consular officer) ทั้งนี้ กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์จะได้รับมอบหมายให้ดูแลเขตอาณาที่ครอบคลุมพื้นที่ กว้างกว่าและสำคัญกว่า ในส่วนของไทย กงสุลกิตติมศักดิ์แตกต่างจากกงสุลอาชีพใน 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) กงสุลกิตติมศักดิ์ส่วนใหญ่เป็นชาวต่างประเทศที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม หรือเป็นผู้นำที่มีความสัมพันธ์พิเศษกับไทย (2) กงสุลกิตติมศักดิ์ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งสำนักงาน ได้แก่ สถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์หรือสถานกงสุลกิตติมศักดิ์ทั้งหมด (3) กงสุลกิตติมศักดิ์ได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางกงสุลน้อยกว่ากงสุลอาชีพ ในการปฏิบัติงานของกงสุลกิตติมศักดิ์ของไทยจะมีคู่มือกงสุลกิตติมศักดิ์ เป็นระเบียบกฎเกณฑ์และข้อมูลสำหรับการปฏิบัติงาน " [การทูต] |
Termination of Mission of Diplomatic Agent | ภารกิจของผู้แทนทางการทูตหรือหัวหน้าคณะทูตจะสิ้น สุดลง 1. ระยะเวลาที่ผู้แทนทางการทูตได้รับแต่งตั้งให้ประจำอยู่ในประเทศผู้รับได้ครบ กำหนดตามวาระ2. เมื่อวัตถุประสงค์ของภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติได้สัมฤทธิผลเรียบ ร้อยแล้ว3. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากต้องโยกย้ายไปที่อื่น หรือลาออก หรือเนื่องจากครบเกษียณอายุ4. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากไม่เป็นที่พอใจของรัฐบาลของตน หรือกระทำตามคำขอร้องของรัฐบาลของประเทศผู้รับ ซึ่งเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่5. เนื่องจากการเสด็จสวรรคตของพระมหากษัตริย์ของประเทศตน หรือประเทศที่ตนได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงาน6. หากตัวเขาเองได้กระทำการอันเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศบางอย่าง หรือเนื่องจากเกิดเหตุการณ์บางอย่างที่คาดไม่ถึง และมีลักษณะร้ายแรงจริง ๆ ตัวเขาเองจะต้องรับผิดชอบในการตัดความสัมพันธ์7. เมื่อรัฐบาลผู้รับ ซึ่งตัวเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่นั้น แล้วจะด้วยเหตุผลอย่างใดก็ตาม ได้แจ้งให้เขาเดินทางออกไปจากประเทศในทันที โดยไม่ต้องระให้รัฐบาลของตนเรียกตัวกลับ8. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในตำแหน่งของผู้แทนทางการทูต ดังเช่น ได้รับเลื่อนตำแหน่งจากอัครราชทูตขึ้นเป็นเอกอัครราชทูต9. เนื่องจากเกิดสงครามขึ้นระหว่างรัฐทั้งสอง10. เนื่องจากถูกถอดจากตำแหน่ง หรือสละราชบัลลังก์ของประมุขของประเทศใดประเทศหนึ่ง 11. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในประเทศใดประเทศหนึ่ง จากระบบพระมหากษัตริย์เป็นระบบสาธารณรัฐ หรือเป็นระบบสาธารณรัฐอันมีประมหากษัตริย์ทรงอยู่ใต้กฎหมาย12. เนื่องจากรัฐใดรัฐหนึ่งของทั้งสองรัฐต้องสูญสภาวะในการเป็นรัฐเหตุผลข้างต้น ทั้งหมดนี้ เป็นทรรศนะของเซอร์เออร์เนสท์ ซาทาว ซึ่งได้ให้ไว้ในหนังสือของท่าน ชื่อว่า ?A Guide to Diplomatic Practice? ฉบับเรียบเรียงใหม่ครั้งที่ 4 โดยเซอร์เนวิลล์ แบลนด์ [การทูต] |
adjunct | (adj) ซึ่งได้รับมอบหมายชั่วคราว, See also: ที่เข้ามาเสริมชั่วคราว |
assignment | (n) งาน, See also: งานที่ได้รับมอบหมาย, Syn. task, responsibility, job |
blank cheque | (idm) คำอนุญาต, See also: อำนาจที่ได้รับมอบหมาย |
feoffee | (n) ผู้รับมอบที่ดิน, Syn. grantee |
fiduciary | (n) ผู้ได้รับมอบหมายอำนาจหรือทรัพย์สิน, See also: ผู้ได้รับความไว้วางใจ, Syn. depositary, trustee |
take office | (idm) เริ่มปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย, See also: เริ่มทำงานที่ได้รับเลือกให้ทำ |
mandatary | (n) ผู้ได้รับมอบอำนาจ, See also: ผู้ได้รับคำสั่ง, การได้รับคำสั่ง, Syn. mandatory, compulsory, forced, obligatory |
mandatorily | (adv) อย่างได้รับมอบอำนาจ |
mandatory | (n) ผู้ได้รับมอบอำนาจ, See also: ผู้ได้รับคำสั่ง, การได้รับคำสั่ง |
mission | (n) งานที่ได้รับมอบหมาย, See also: ภาระหน้าที่, ภารกิจ, Syn. charge, commission |
proxy | (n) ผู้รับมอบฉันทะ |
takeover | (n) การรับมอบตำแหน่ง, See also: การรับมอบ |
trustee | (n) ผู้ได้รับมอบหมายให้จัดการดูแล |
trusteeship | (n) หน้าที่ของผู้ที่ได้รับมอบหมาย |
assignment | (อะไซ'เมินทฺ) n. หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย, การบ้าน, การโอน (สิทธิทรัพย์สิน, ดอกเบี้ยหรืออื่น ๆ), Syn. duty, task, mission |
attorney | (อะเทอ'นี) n., (pl. -neys) ทนายความ, นักกฎหมาย, ตัวแทน, ผู้รับมอบอำนาจ |
attorney-in-fact | ตัวแทน, ผู้รับมอบอำนาจ |
cessionary | n. ผู้รับมอบ, ผู้ได้รับการยกให้ |
commission | (คะมิช'เชิน) { commissioned, commissioning, commissions } n. การมอบหมายหน้าที่, การมอบหมาย, อำนาจที่มอบหมายให้, เอกสารมอบอำนาจ, คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายอำนาจให้กระทำบางอย่าง, คณะกรรมการ, คณะกรรมาธิการ, ค่านายหน้า, ค่าคอมมิชชั่น, สัญญาบัตร -Phr. (in commission เข้าประจ |
commissioned | (คะมิช'เชินดฺ) adj. ประจำการ, ซึ่งได้รับมอบอำนาจหน้าที่ |
commissioner | (สคะมิช'เชินเนอะ) n. ผู้ได้รับมอบหมายอำนาจหน้าที่, ผู้ตรวจการณ์, กรรมาธิการ, กรรมการ, หัวหน้ากรม, อธิบดี |
feoffee | (เฟฟ' ฟี, ฟีฟี') ผู้ที่ได้รับมอบที่ดิน |
fiduciary | (ฟีดู'เชียรี) n. ผู้ได้รับมอบหมายอำนาจหรือทรัพย์สิน, ผู้ได้รับความไว้วางใจ adj. ขึ้นอยู่กับความเชื่อใจ |
mandate | (แมน'เดท) n. คำสั่ง, อาณัติ, อาณัติปกครอง, คำสั่ง, อำนาจที่ได้รับมอบหมาย, ประกาศิต, กฤษฎีกา. vt. มอบอำนาจ, มอบอาณัติปกครอง, ให้อำนาจ, ออกประกาศิตหรือกฤษฎีกา, Syn. commander |
mandatory | (แมน'ดะโทรี, -ทอรี) adj. (เกี่ยวกับ) คำสั่ง, อาณัติ, ข้อบังคับ, จำเป็น, ซึ่งได้รับคำสั่ง. n. ผู้ได้รับมอบอาณัติการปกครอง., See also: manditorily adv., Syn. obligatory |
mission | (มิช'เชิน) n. คณะผู้แทน, ภาระหน้าที่ของคณะผู้แทน, คณะทูต, สถานทูต, งานปฏิบัติงานทางทหาร (มักได้รับมอบหมายจากสำนักงานใหญ่) , การเคลื่อนที่หรือการวิ่งสู่เป้าหมายของจรวดขีปนาวุธ, โบสถ์ที่ไม่มีพระอยู่ประจำ, งานมอบหมาย |
takeover | (เทค'โอเวอะ) n. การยึด, การครอบครอง, การรับมอบ, การรับมอบตำแหน่ง. |
trustee | (ทรัล'ที) n. ผู้ได้รับมอบหมายให้จัดการดูแล (ทรัพย์สินหรือกิจการหรือมรดก) , ผู้จัดการมรดก, ผู้จัดการทรัพย์สิน, กรรมการบริษัททรัสต์ (board of trustees) . vt. มอบหมายให้จัดการ, ตั้งให้เป็นผู้จัดการ (ทรัพย์สินหรือมรดกหรือกิจการ) |