ทำร้ายร่างกาย | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำทำร้ายผู้อื่นจนเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรือจิตใจของผู้อื่นนั้น. |
ร่างกาย | น. ตัวตน. |
กดจุด | ก. ใช้นิ้วกดตามตำแหน่งหรือจุดต่าง ๆ บนร่างกายเพื่อบำบัดโรคหรือเพื่อผ่อนคลายเป็นต้น. |
กรชกาย | (กะระชะ-) น. ร่างกาย. |
กรรโชก | (กัน-) น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำข่มขืนใจผู้อื่นให้ยอมให้หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน โดยใช้กำลังประทุษร้ายหรือโดยขู่เข็ญว่าจะทำอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของผู้ถูกขู่เข็ญ หรือของบุคคลที่สาม จนผู้ถูกข่มขืนใจยอมเช่นว่านั้น. |
กระดูก ๑ | น. โครงร่างกายมีลักษณะแข็ง, ส่วนใดส่วนหนึ่งของโครงร่างกาย |
กระดูกสันหลัง | น. กระดูกที่อยู่ในแนวกึ่งกลางทางด้านหลังของลำตัว เป็นแกนของร่างกาย มีลักษณะเป็นข้อ ๆ ต่อกันเป็นแนวตั้งแต่บริเวณคอต่อจนถึงบริเวณด้านหลังของทวารหนัก ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่ไขสันหลัง, โดยปริยายหมายถึงส่วนที่สำคัญ, ส่วนที่เป็นพลังคํ้าจุน, เช่น ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ. |
กระเบนเหน็บ | น. ส่วนของร่างกายด้านหลังระดับบั้นเอว ตรงที่เหน็บชายกระเบน. |
กระษัย | (-ไส) น. ชื่อโรคตามตำราแพทย์แผนโบราณว่า ทำให้ร่างกายทรุดโทรม มีอาการผอมแห้งตัวเหลืองเท้าเย็น, เขียนเป็น กษัย ก็มี. |
กระษัยกล่อน | (-ไสกฺล่อน) น. ชื่อโรคตามตำราแพทย์แผนโบราณว่า ทำให้ร่างกายผอมแห้ง ซึ่งเกิดจากโรคกร่อน, เขียนเป็น กษัยกล่อน ก็มี. |
กระสอบทราย | น. ถุงผ้าใบหรือหนัง ลักษณะคล้ายหมอนข้างขนาดใหญ่ เดิมบรรจุทราย ปัจจุบันบรรจุขี้เลื่อย เศษผ้า หรือฟองน้ำ อัดแน่น เป็นอุปกรณ์อย่างหนึ่งในการฝึกซ้อมของนักมวยเพื่อฝึกการชก เตะ ขึ้นเข่า เป็นต้น, โดยปริยายเรียกผู้ที่ถูกทำร้ายร่างกายอย่างบอบช้ำ เนื่องจากถูกชก เตะ ต่อย โดยไม่มีทางสู้หรือไม่กล้าต่อสู้. |
กรัชกาย | (กะรัดชะ-, กะหฺรัดชะ-, กฺรัดชะ-) น. ร่างกาย เช่น เจ้างามยามประจงจัดกรัชกาย (กลบทบัวบานกลีบขยาย). |
กลั้น | (กฺลั้น) ก. บังคับความรู้สึกหรือสิ่งที่อยู่ภายในร่างกายไม่ให้แสดงออกหรือหลุดออกมา เช่น กลั้นโทสะ กลั้นปัสสาวะ. |
กษัย, กษัย- | ชื่อโรคตามตำราแพทย์แผนโบราณว่า ทำให้ร่างกายทรุดโทรม มีอาการผอมแห้งตัวเหลืองเท้าเย็น, เขียนเป็น กระษัย ก็มี. |
กษัยกล่อน | น. ชื่อโรคทางตำราแพทย์แผนโบราณว่า ทำให้ร่างกายผอมแห้ง ซึ่งเกิดจากโรคกล่อน, เขียนเป็น กระษัยกล่อน ก็มี. |
กอก ๑ | ก. ดูดเลือด หนอง หรือลมออกจากร่างกาย หรือดูดเอานํ้านมออกจากเต้านม โดยใช้ถ้วย กระบอก ฯลฯ เป็นเครื่องดูด. |
กังฟู | น. ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวแบบหนึ่งของจีน เน้นหนักไปในทางฝึกสมาธิและความแข็งแกร่งว่องไวของร่างกาย. |
กาย, กาย- | (กายยะ-) น. ตัว เช่น ไม่มีผ้าพันกาย, มักใช้เข้าคู่กับคำ ร่าง เป็น ร่างกาย, ใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส หมายความว่า หมู่, พวก, เช่น พลกาย = หมู่ทหาร. |
กายกรรม | การดัดตนเพื่อให้ร่างกายแข็งแรง, การเล่นห้อยโหนโยนตัวเป็นต้น. |
กายบริหาร | (กายบอริหาน) น. การบริหารร่างกาย, การออกกำลังกาย. |
กายภาพบำบัด | น. การบำบัด ป้องกัน แก้ไข และฟื้นฟูความบกพร่องของร่างกายที่เกิดเนื่องจากภาวะของโรคหรือการเคลื่อนไหวที่ไม่ปรกติ. |
กายวิภาคศาสตร์ | (-วิพากคะสาด) น. วิทยาศาสตร์การแพทย์สาขาหนึ่ง ว่าด้วยเรื่องโครงสร้างของร่างกายโดยศึกษาเป็นส่วน ๆ. |
กายาพยพ | (กายาพะยบ) น. ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น มือ เท้า. |
กายินทรีย์, กาเยนทรีย์ | น. ร่างกายซึ่งเป็นใหญ่ในการรับสัมผัส. |
กาฬ, กาฬ- | (กาน, กาละ-, กานละ-) น. รอยดำหรือแดงที่ผุดตามร่างกายคนเมื่อตายแล้ว. |
กีฬา | น. กิจกรรมหรือการเล่นที่มีกฎกติกากำหนด เพื่อความสนุกเพลิดเพลินผ่อนคลายความเครียด หรือเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรง และอาจใช้เป็นการแข่งขันเพื่อความเป็นเลิศ เช่น ฟุตบอล ว่ายน้ำ หมากรุก ปีนเขา ล่าสัตว์. (ป.). (ดู กรีฑา ๑). |
เกียรติมุข | (เกียดมุก) น. อมนุษย์บริวารพระศิวะ ทำเป็นรูปหน้ายักษ์ปนหน้าสิงห์ ตากลมถลน ไม่มีคาง ปากแสยะ ไม่มีขากรรไกรล่าง ไม่มีร่างกาย ไม่มีแขนขา เชื่อกันว่าเป็นเทพเจ้ารักษาธรณีประตู เป็นเครื่องป้องกันบ้านเรือน ขับไล่เสนียดจัญไร และคอยคุ้มครอง นับถือพระศิวะ มักทำเป็นลวดลายแกะสลักหรือปูนปั้น เช่นที่ทับหลังปราสาทหินบางแห่ง ตามซุ้มปรางค์หรือเจดีย์ และที่ฐานพระพุทธรูป, กาฬมุข หรือ หน้ากาฬ ก็เรียก. |
ของเสีย | น. สิ่งที่ร่างกายขับออกมาเช่นเหงื่อ ปัสสาวะ อุจจาระ. |
ขับถ่าย | ก. รุหรือระบายสิ่งที่ไม่ต้องการออกจากร่างกาย. |
ขี้ | น. กากอาหารที่ร่างกายไม่ต้องการแล้วขับถ่ายออกทางทวารหนัก, อุจจาระ, ราชาศัพท์ว่า พระบังคนหนัก, สิ่งที่ร่างกายขับถ่ายออกมาเกรอะกรังอยู่ เช่น ขี้ไคล ขี้รังแค ขี้หู ขี้ตา, ใช้ประกอบหน้าคำ หมายความว่า เป็นสิ่งที่สกปรก เช่น ขี้เลน ขี้ดิน ขี้ทราย, โดยปริยายหมายความถึงสิ่งที่ไม่ต้องการ เช่น ขี้ตะกั่ว, เศษหรือกากที่ออกมาจากสิ่งนั้น ๆ เช่น ขี้กบ ขี้เลื่อย. |
ขี้แมลงวัน | น. จุดดำเล็ก ๆ ที่ขึ้นตามร่างกาย, ราชาศัพท์ว่า พระปิลกะ. |
ขู่เข็ญ | แสดงกิริยาหรือวาจาให้ผู้อื่นต้องกลัวว่าจะเป็นอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ชื่อเสียง หรือทรัพย์สินของผู้นั้น หรือของบุคคลที่สาม. |
ไขกระดูก | น. เนื้อส่วนในของกระดูก บางแห่งเป็นที่สร้างเม็ดเลือดชนิดต่าง ๆ ของร่างกาย. |
ไขข้อ | น. นํ้าหล่อลื่นข้อของร่างกาย. |
ไข้ | อาการที่มีอุณหภูมิของร่างกายผิดจากระดับปรกติเนื่องจากความเจ็บป่วย. |
ไข่ดัน | น. ต่อมนํ้าเหลืองที่อยู่ใต้ผิวหนังของบริเวณขาหนีบ ซึ่งเป็นแนวต่อระหว่างลำตัวกับต้นขา มีหน้าที่กักและทำลายเชื้อโรคที่อาจผ่านเข้าในร่างกายท่อนบน. |
คนพิการ | น. คนที่มีความผิดปรกติหรือบกพร่องทางร่างกาย ทางสติปัญญาหรือทางจิตใจ. |
ค้นตัว | ก. ตรวจค้นตามร่างกาย เพื่อหาของกลาง ของต้องห้าม หรือของที่ผิดกฎหมาย เป็นต้น เช่น ตำรวจค้นตัวผู้ต้องสงสัย. |
คอ | น. ส่วนของร่างกายที่ต่อศีรษะกับตัว, ราชาศัพท์ว่า พระศอ |
คากรอง | น. เครื่องปกปิดร่างกายที่ทำด้วยหญ้า เช่น ควรหรือมานุ่งคากรอง ควรแต่เครื่องทองไพศาล (ศกุนตลา). |
คิง | น. ร่างกาย เช่น รทวยรแถ้ง คิงคมกล้องแกล้ง (สุธนู). |
คุมธาตุ | ก. ทำให้ธาตุทั้ง ๔ คือ ดิน นํ้า ไฟ ลม ในร่างกายเป็นปรกติสมํ่าเสมอกัน. |
เครื่องสำอาง | วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ทา ถู นวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบ หรือกระทำด้วยวิธีอื่นใดต่อส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย เพื่อความสะอาด ความสวยงาม หรือส่งเสริมให้เกิดความสวยงาม และรวมตลอดทั้งเครื่องประทินผิวต่าง ๆ ด้วย. |
ง่วง | ก. อาการที่ร่างกายอยากนอน. |
ง่องแง่ง | ว. อาการที่ร่างกายไม่แข็งแรงทำให้เดินหรือเคลื่อนไหวไม่ถนัด, กระง่องกระแง่ง ก็ว่า. |
ง่อยเปลี้ยเสียขา | ว. มีร่างกายพิการจนเดินไม่ได้อย่างปรกติ. |
จำหระ | น. แถบ, ซีก, แปลง, (ใช้แก่ที่ดินหรือร่างกาย), ตำหระ ก็ว่า. |
เจตภูต | (เจดตะพูด) น. สภาพเป็นผู้คิดอ่าน คือ มนัส, ที่เรียกในภาษาสันสกฤตว่า “อาตมัน” เรียกในภาษาบาลีว่า “อัตตา” ก็มี “ชีโว” ก็มี, มีอยู่ในลัทธิว่า “ในโลกนี้ไม่มีอะไรสูญ แม้คนและสัตว์ตายแล้ว ร่างกายเท่านั้นทรุดโทรมไป ส่วนเจตภูตเป็นธรรมชาติไม่สูญ ย่อมถือปฏิสนธิในกำเนิดอื่นสืบไป”, ลัทธินี้ทางพระพุทธศาสนาจัดเป็นสัสตทิฐิ แปลว่า ความเห็นว่าเที่ยง, ตามสามัญที่เข้าใจกัน เจตภูต คือวิญญาณที่สิงอยู่ในตัวคน กล่าวกันว่าออกจากร่างได้ในเวลานอนหลับ. |
เจียมสังขาร | ก. รู้จักประมาณร่างกาย, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่เจียมสังขาร. |
ฉีดยา | ก. เอายาฉีดเข้าไปในร่างกายทางใต้ผิวหนัง ทางกล้ามเนื้อ หรือทางเส้นเลือด. |
personal protection order | คำสั่งให้ความคุ้มครองบุคคล (ต่อการทำร้ายร่างกาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
phantom | ๑. ความรู้สึกหลอน, อวัยวะหลอน๒. หุ่นส่วนร่างกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
person, liberty of the | เสรีภาพในร่างกาย, เสรีภาพของบุคคล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
physical harm | ๑. การทำให้เสียหายแก่ร่างกาย๒. การทำให้เสียหายแก่ทรัพย์สิน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
physical infirmity | ความทุพพลภาพทางร่างกาย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
physical injury | การทำให้เสียหายแก่ร่างกาย, การได้รับทางร่างกาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
postural | -ท่า(ร่างกาย) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
posture | ท่า(ร่างกาย) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
posture sense; sense, position | การรับรู้ท่า(ร่างกาย) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pre-marital examination | การตรวจร่างกายก่อนสมรส [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
position sense; sense, posture | การรับรู้ท่า(ร่างกาย) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
physical | ๑. -ธรรมชาติ๒. กายภาพ๓. -ร่างกาย, -กาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
physical cruelty | การกระทำทารุณต่อร่างกาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
physical disability | ความพิการทางร่างกาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
physical examination | การตรวจร่างกาย, กายพินิจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
physical force | การใช้กำลังทำร้ายร่างกาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
physical handicap | ความเสียเปรียบทางร่างกาย, ความด้อยสมรรถภาพทางร่างกาย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
liquor | ๑. ยาน้ำ๒. สารน้ำบางอย่างของร่างกาย๓. สุราดีกรีสูง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
liberty of the person | เสรีภาพในร่างกาย, เสรีภาพของบุคคล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
systemic | -ทั้งร่างกาย, -ทั่วกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, position; sense, posture | การรับรู้ท่า(ร่างกาย) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, posture; sense, position | การรับรู้ท่า(ร่างกาย) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sound | ๑. เสียง๒. เครื่องแยงตรวจ๓. หยั่ง๔. แข็งแรง (ร่างกาย), ปรกติ (จิตใจ) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
overhydration | ภาวะร่างกายมีน้ำเกิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
offences against life and body | ความผิดต่อชีวิตและร่างกาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
assault | การทำร้ายร่างกาย [ ดู battery ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
assault and battery | การลงมือทำร้ายร่างกาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
assault, indecent | การกระทำอนาจาร (ต่อร่างกาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
axon | ๑. แกนร่างกาย๒. แกนประสาท, แกนประสาทนำออก๓. ลำกระดูกสันหลัง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
aggravated assault | การทำร้ายร่างกายจนได้รับอันตรายสาหัส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
battery | การทำร้ายร่างกาย [ ดู assault ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
bodily exhibition | การแสดงอนาจาร (โดยเปลือยหรือเปิดเผยร่างกาย) [ ดู exhibitionism ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
bodily harm | อันตรายทางร่างกาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
bodily injury | การบาดเจ็บทางร่างกาย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
bodily injury | การทำให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย, การทำร้ายร่างกาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
medical examination | การตรวจร่างกาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
malicious injury | การทำร้ายร่างกายโดยเจตนา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
common assault | การทำร้ายร่างกายไม่สาหัส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
constitution | ๑. สังขาร, การปรุงแต่ง๒. ภาวะร่างกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
examination, physical | การตรวจร่างกาย, กายพินิจ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
indecent assault | การกระทำอนาจาร (ต่อร่างกาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
inspection | การตรวจพินิจ, การดู (ตรวจร่างกาย) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
integument | ๑. ส่วนห่อหุ้ม (ร่างกาย)๒. หนัง, ผิวหนัง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
viscerosomatic | -อวัยวะ(ภายใน)และร่างกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
wilful and wanton injury | การทำร้ายร่างกายโดยจงใจและขาดการยับยั้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Psychimator Domain | ด้านการเคลื่อนไหวของร่างกาย, ด้านการเคลื่อนไหวของร่างกาย [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Mercury in the body | ปรอทในร่างกาย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Body fluid disorder | สารน้ำในร่างกายผิดปรกติ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Acute intake | การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเฉียบพลัน, การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกายภายในระยะเวลาสั้น ซึ่งสามารถนำไปคำนวณเป็นปริมาณรังสีผูกพันที่ได้รับในคราวเดียว [นิวเคลียร์] |
Annual Limit on Intake | เอแอลไอ, ขีดจำกัดการรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีรอบปี, ปริมาณสูงสุดของนิวไคลด์กัมมันตรังสีแต่ละชนิด ที่ร่างกายได้รับโดยการหายใจ การกิน หรือ ผ่านทางผิวหนังในเวลา 1 ปี ได้จากการคำนวณปริมาณรังสีผูกพันโดยใช้แบบจำลองมนุษย์อ้างอิง (Reference Man) จะเท่ากับขีดจำกัดปริมาณรังสี [นิวเคลียร์] |
Annual dose | ปริมาณรังสีรอบปี, ปริมาณรังสีรวมในรอบปีที่ได้รับจากภายนอกร่างกาย และจากนิวไคลด์กัมมันตรังสีที่เข้าสู่ร่างกาย, Example: [นิวเคลียร์] |
Background radiation | รังสีพื้นหลัง, รังสีจากสิ่งแวดล้อมซึ่งมีที่มาจากหลายแหล่ง เช่น รังสีคอสมิกจากอวกาศ รังสีจากสารกัมมันตรังสีตามธรรมชาติที่มีอยู่ในดิน น้ำ อากาศ อาหาร รวมทั้งที่มีอยู่ในร่างกายมนุษย์ (ดู natural exposure ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Biological half-life | ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ, ระยะเวลาที่สารกัมมันตรังสีในเนื้อเยื่อ อวัยวะ หรือร่างกายลดลงครึ่งหนึ่ง อันเนื่องมาจากกระบวนการทางชีวภาพ [นิวเคลียร์] |
Body burden | ปริมาณสะสมในร่างกาย, ปริมาณสารกัมมันตรังสีที่อยู่ภายในร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์ (ดู Background radiation และ Wholebody counter ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Bone marrow syndrome | กลุ่มอาการทางไขกระดูก, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 1 เกรย์ ขึ้นไป ทำให้เกิดการลดลงของเม็ดเลือดและก่อให้เกิดอาการต่างๆ เช่น อ่อนเพลีย โลหิตจาง ร่างกายติดเชื้อง่าย เลือดไหลไม่หยุด (ดู Radiation syndrome, Gastrointestinal syndrome และ Cerebrovascular syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Brachytherapy | รังสีรักษาระยะใกล้, การรักษาโดยใช้สารกัมมันตรังสีที่เป็นของแข็ง ฝังไว้ในร่างกายใกล้ๆ กับบริเวณที่ต้องการรักษา, Example: [นิวเคลียร์] |
Cerebrovascular syndrome | กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Central nervous system syndrome | กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Chronic intake | การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีต่อเนื่อง, การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจ การกิน หรือ การซึมผ่านผิวหนังหรือบาดแผล อย่างต่อเนื่องในช่วงระยะเวลานาน ดังนั้น ปริมาณรังสีผูกพันจึงเป็นผลรวมของปริมาณรังสีผูกพันที่ได้รับในคราวเดียวของแต่ละช่วง [นิวเคลียร์] |
Clearance | การปล่อยผ่าน, 1. การให้สารกัมมันตรังสีหรือวัสดุกัมมันตรังสีพ้นจากการดำเนินการภายใต้การควบคุมทางด้านการป้องกันอันตรายจากรังสี โดยพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมาย 2. กระบวนการทางชีววิทยาในการขจัดสารกัมมันตรังสีออกจากอวัยวะหรือร่างกาย [นิวเคลียร์] |
Committed dose | ปริมาณ (รังสี) ผูกพัน, ปริมาณรังสียังผลจากสารกัมมันตรังสีที่เข้าสู่ร่างกาย บางชนิดจะกระจายไปทั่วร่างกาย บางชนิดจะไปสะสมอยู่ในอวัยวะเฉพาะที่ เรียกว่า อวัยวะวิกฤติ (critical organ) เช่น ไอโอดีนจะสะสมอยู่ที่ต่อมไทรอยด์ รังสีจะมีผลต่อร่างกายจนกว่าสารกัมมันตรังสีนั้นสลายหมดไปหรือถูกขับถ่ายออกจนหมด ปกติจะคำนวณระยะเวลาการรับรังสี 50 ปีสำหรับผู้ใหญ่ และ 70 ปีสำหรับเด็ก มีหน่วยเป็น ซีเวิร์ต [นิวเคลียร์] |
Contamination | การเปื้อนสารกัมมันตรังสี, สารกัมมันตรังสีทั้งในรูปของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ที่ปนเปื้อนในอาหาร น้ำ อากาศ หรือเปรอะเปื้อนที่พื้นผิววัสดุ อุปกรณ์ ร่างกาย และหรือบริเวณที่ต้องการใช้งาน ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่เจตนา เพราะอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ [นิวเคลียร์] |
Derived Air Concentration | ค่ากำหนดความเข้มข้นนิวไคลด์กัมมันตรังสีในอากาศ, ดีเอซี, ขีดจำกัดความเข้มข้นของนิวไคลด์กัมมันตรังสีแต่ละชนิดในอากาศ ที่จะทำให้ผู้ปฏิบัติงานในบริเวณนั้นตลอดระยะเวลาทำงานใน 1 ปี ได้รับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกายเท่ากับขีดจำกัดการรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีรอบปี โดยคำนวณจากแบบจำลองมนุษย์อ้างอิง (Reference Man) (ดู annual limit on intake (ALI) ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Deterministic effect | ผลชัดเจน, ผลที่เกิดขึ้นเมื่อร่างกายได้รับปริมาณรังสีเกินขีดเริ่มเปลี่ยน ทำให้เห็นผลกระทบอย่างชัดเจน ผลนี้จะรุนแรงมากขึ้นเมื่อได้รับปริมาณรังสีมากขึ้น [นิวเคลียร์] |
External radiation | รังสีนอกร่างกาย, รังสีที่มนุษย์ได้รับจากแหล่งกำเนิดรังสีที่อยู่ภายนอกร่างกาย เช่น รังสีคอสมิก และรังสีจากต้นกำเนิดรังสีชนิดต่างๆ (ดู source ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Whole body counter | เครื่องวัดรังสีทั่วร่างกาย, เครื่องมือที่ใช้วัดรังสีภายในร่างกายของมนุษย์และสัตว์ เครื่องมือนี้ใช้เครื่องกำบังที่หนา เพื่อกำบังรังสีที่มีอยู่ในธรรมชาติ [นิวเคลียร์] |
Terrestrial radiation | รังสีจากพื้นโลก, รังสีจากสารกัมมันตรังสีที่มีอยู่บนพื้นโลก เป็นรังสีที่มนุษย์ได้รับจากภายนอกร่างกายปีละประมาณ 410 ไมโครซีเวิร์ต ส่วนที่มีผลเป็นปริมาณรังสีต่อมนุษย์คือรังสีแกมมา ซึ่งปลดปล่อยมาจากนิวไคลด์รังสีที่มีกำเนิดมาพร้อมกับโลก (ดู Primordial radionuclides) ได้แก่ สารกัมมันตรังสีในอนุกรมยูเรเนียม อนุกรมทอเรียม และสารกัมมันตรังสีโพแทสเซียม (K-40) [นิวเคลียร์] |
Somatic effect | ผลต่อร่างกาย, ผลกระทบต่อร่างกายของบุคคลที่ได้รับรังสี รวมถึงผลกระทบต่อเด็กหลังคลอดที่ได้รับรังสีขณะอยู่ในครรภ์มารดา, Example: [นิวเคลียร์] |
Radon breath analysis | การวิเคราะห์เรดอนจากลมหายใจ, การตรวจหาเรดอนในลมหายใจออก เพื่อหาว่ามีเรเดียมในร่างกายหรือไม่ และมีเป็นปริมาณเท่าใด (ดู personnel monitoring ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Radiopharmaceutics | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] |
Radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] |
Radioactive contamination | การเปื้อนสารกัมมันตรังสี, สารกัมมันตรังสีทั้งในรูปของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ที่ปนเปื้อนในอาหาร น้ำ อากาศ หรือเปรอะเปื้อนที่พื้นผิววัสดุ อุปกรณ์ ร่างกาย และหรือบริเวณที่ต้องการใช้งาน ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่เจตนา เพราะอาจก่อให้เกิดอันตรายได้, Example: [นิวเคลียร์] |
Radiation syndrome | กลุ่มอาการป่วยจากรังสี, กลุ่มอาการที่ปรากฏเมื่อมนุษย์ได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ มี 3 กลุ่มอาการขึ้นอยู่กับปริมาณรังสีที่ได้รับ ได้แก่ กลุ่มอาการทางไขกระดูกหรือกลุ่มอาการทางระบบเลือด กลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร และกลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง ทุกกลุ่ม จะแสดงอาการเป็น 3 ระยะ คือ <br>-ระยะเริ่มต้น (prodromal stage) มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย</br> <br>-ระยะแอบแฝง (latent stage) เป็นระยะที่ไม่แสดงอาการ</br> <br>-ระยะแสดงอาการที่แท้จริง (manifest illness stage) มีอาการที่แสดงถึงความเสียหายของอวัยวะ</br> <br>(ดู bone marrow syndrome, cerebrovascular syndrome และ gastrointestinal syndrome ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
system | ระบบ, ที่รวมของส่วนประกอบต่างๆ ที่ทำงานร่วมกัน มีจุดประสงค์ร่วมกัน และมีขอบเขตโดยแน่ชัด เช่น คอมพิวเตอร์เป็นระบบ เพราะประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ที่ทำงานร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาตามที่ผู้ใช้กำหนด ร่างกายมนุษย์เป็นระบบเพราะประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ ที่ทำงานร่วมกันโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ร่างกายมีชีวิตอยู่ ระบบทั้งหลายต้องรับอินพุดรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งเข้าไปในระบบ ต่อจากนั้นจึงนำอินพุดเหล่านั้นมาดำเนินการให้เกิดเป็นเอาท์พุต หรือปรับอินพุดหรือการดำเนินการให้เหมาะสมยิ่งขึ้น การนำเอาท์พุดมาพิจารณาแล้วปรับ ดังนี้เรียกว่า การป้อนกลับ (feedback) [คอมพิวเตอร์] |
Primordial radionuclide | นิวไคลด์กัมมันตรังสีเกิดพร้อมโลก, นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่มีกำเนิดมาพร้อมกับโลก ประกอบด้วยนิวไคลด์ในอนุกรม ยูเรเนียม ทอเรียม และแอกทิเนียม รวมทั้งนิวไคลด์กัมมันตรังสีอื่นๆ ที่มีในธรรมชาติ เช่น โพแทสเซียม-40 (K-40) รูบิเดียม-87 (Rb-87) มนุษย์ได้รับรังสีจากนิวไคลด์กัมมันตรังสีกลุ่มนี้ตลอดเวลา ทั้งจากภายนอกและภายในร่างกาย (ดู radioactive series ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Personal monitoring | การเฝ้าสังเกตรายบุคคล, การเฝ้าสังเกตปริมาณรังสี และ/หรือ ความเข้มข้นของนิวไคลด์กัมมันตรังสีในร่างกาย และ/หรือ บนร่างกายของแต่ละบุคคล โดยการใช้เครื่องวัดรังสี เช่น มาตรรังสีแบบพกพา หรือเครื่องวัดรังสีทั่วร่างกาย [นิวเคลียร์] |
Non-stochastic effect | ผลชัดเจน, ผลที่เกิดขึ้นเมื่อร่างกายได้รับปริมาณรังสีเกินขีดเริ่มเปลี่ยน ทำให้เห็นผลกระทบอย่างชัดเจน ผลนี้จะรุนแรงมากขึ้นเมื่อได้รับปริมาณรังสีมากขึ้น [นิวเคลียร์] |
Mutagenesis | กระบวนการกลายพันธุ์, กระบวนการที่เกิดขึ้นเมื่อสารพันธุกรรม หรือ ดีเอ็นเอ ของเซลล์สิ่งมีชีวิตเกิดการเปลี่ยนแปลงไป ทำให้เซลล์นั้นหรือเซลล์ที่เกิดจากการแบ่งตัวของเซลล์ดังกล่าวมีรูปร่างลักษณะหรือพฤติกรรมต่างไปจากเดิม กระบวนการนี้อาจเกิดขึ้นเอง หรือเกิดจากการเหนี่ยวนำโดยสิ่งก่อกลายพันธุ์ ถ้าเกิดที่เซลล์สืบพันธุ์ จะมีการส่งผ่านหรือถ่ายทอดลักษณะผิดปกติไปยังรุ่นถัดไป แต่ถ้าเกิดที่เซลล์ร่างกาย การกลายจะจำกัดเฉพาะที่เนื้อเยื่อส่วนนั้น [นิวเคลียร์] |
Internal radiation | รังสีในร่างกาย, รังสีจากต้นกำเนิดรังสีใดๆ ที่มีอยู่ในร่างกายมนุษย์ รวมทั้งที่ร่างกายได้รับจาก น้ำ อาหาร อากาศ การบำบัดรักษาทางการแพทย์ การปฏิบัติงานทางรังสี และจากอุบัติเหตุทางรังสี [นิวเคลียร์] |
Internal exposure | รังสีในร่างกาย, รังสีจากต้นกำเนิดรังสีใดๆ ที่มีอยู่ในร่างกายมนุษย์ รวมทั้งที่ร่างกายได้รับจาก น้ำ อาหาร อากาศ การบำบัดรักษาทางการแพทย์ การปฏิบัติงานทางรังสี และจากอุบัติเหตุทางรังสี [นิวเคลียร์] |
Intake | การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสี, การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจ การกิน หรือ การซึมผ่านผิวหนังหรือบาดแผล [นิวเคลียร์] |
Individual monitoring | การเฝ้าสังเกตรายบุคคล, การเฝ้าสังเกตปริมาณรังสี และ/หรือ ความเข้มข้นของนิวไคลด์กัมมันตรังสีในร่างกาย และ/หรือ บนร่างกายของแต่ละบุคคล โดยการใช้เครื่องวัดรังสี เช่น มาตรรังสีแบบพกพา หรือเครื่องวัดรังสีทั่วร่างกาย [นิวเคลียร์] |
Hematopoietic syndrome | กลุ่มอาการทางระบบเลือด, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่าง กายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 1 เกรย์ ขึ้นไป ทำให้เกิดการลดลงของเม็ดเลือดและก่อให้เกิดอาการต่างๆ เช่น อ่อนเพลีย โลหิตจาง ร่างกายติดเชื้อง่าย เลือดไหลไม่หยุด (ดู Radiation syndrome, Gastrointestinal syndrome และ Cerebrovascular syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
protein | โปรตีน, โปรตีน [ โปฺร- ] น. สารประกอบอินทรีย์เชิงซ้อนของไนโตรเจน มีโมเลกุลขนาดใหญ่ประกอบด้วยกรดแอมิโนหลายชนิดเชื่อมโยงกัน เป็น สารประกอบที่สำคัญยิ่งต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดซึ่งจําเป็นต้องใช้เพื่อสร้างเนื้อเยื่อของร่างกาย. (อ. protein)., Example: <p>ลำดับเบสภายในดีเอ็นเอเป็นตัวกำหนดชนิดของโปรตีนที่สร้าง โดยลำดับเบสถอดรหัสเป็น messenger RNA (mRNA) โดยกระบวนการที่เรียกว่า transcription หลังจากนั้นลำดับเบสทีละ 3 เบสที่เรียงติดกันของ mRNA แปลรหัสเป็นกรดอะมิโนแต่ละตัวกระบวนการนี้เรียกว่า translation ในกระบวนการนี้อาศัย ribosome (จับกับ mRNA ในขณะเกิดการแปลรหัส) transfer RNA (RNA ที่มีหน้าที่ลำเลียงกรดอะมิโนเข้าสู่ ribosome เพื่อมาเชื่อมต่อเป็นโปรตีนตามรหัสของ mRNA) หลังจากผ่านกระบวนการแปลรหัสได้โปรตีนที่เซลล์ต้องการ <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุดสงวน ชูสกุลธนะชัย. “ดีเอ็นเอ: รหัสแห่งชีวิต” ในดีเอ็นเอ : ปริศนาลับรหัสชีวิต. หน้า 19-38. ปทุมธานี : ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, 2546. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Cerebral Palsy | สมองพิการ, กลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติหรือมีพยาธิสภาพเกิดขึ้นกับสมองส่วนที่ควบคุมการเคลื่อนไหว ทำให้ผู้พิการไม่สามารถควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายได้ สภาพพิการที่เกิดขึ้นจะเป็นแบบคงตัว และเกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาที่ยังมีการเจริญเติบโตของสมองอยู่ คือ ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาจนไปถึงระยะที่สมองมีการเจริญเติบโตเต็มที่ โดยทั่วไปถือเกณฑ์ไม่เกิน ๘ ขวบ [Assistive Technology] |
Mouthstick | แท่งไม้ที่ใช้ปากควบคุม, อุปกรณ์ชี้ตำแหน่งสำหรับผู้พิการทางร่างกาย ที่ไม่มีแขน จึงต้องใช้แท่งไม้ควบคุมด้วยปากเพื่อทำงานง่ายๆ เช่น กดแป้นโทรศัพท์ กดแป้นคีย์บอร์ดเพื่อพิมพ์งาน เปิดหน้าหนังสือเป็นต้น [Assistive Technology] |
Gastrointestinal syndrome | กลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 10 เกรย์ขึ้นไป มีอาการท้องร่วง คลื่นไส้ และอาเจียนอย่างรุนแรง และจะเสียชีวิตภายใน 2 สัปดาห์ [นิวเคลียร์] |
เหนี่ยว | ทำร้ายร่างกาย [ศัพท์วัยรุ่น] |
Work capacity evaluation | การประเมินสมรรถภาพของร่างกายในการทำงาน [TU Subject Heading] |
Amputation | การตัดแขนขาหรือส่วนที่ติดร่างกาย [TU Subject Heading] |
Body art | ศิลปะร่างกาย [TU Subject Heading] |
Body composition | องค์ประกอบของร่างกาย [TU Subject Heading] |
Body fluids | สารน้ำในร่างกาย [TU Subject Heading] |
Body height | ความสูงของร่างกาย [TU Subject Heading] |
Body image in women | ภาพลักษณ์ร่างกายของสตรี [TU Subject Heading] |
able-bodism | (n) การกีดกันในเรื่องสภาพร่างกาย, Syn. ableism |
ableism | (n) การกีดกันในเรื่องสภาพร่างกาย, Syn. able-bodism |
adduct | (vt) เคลื่อนหรือดึงเข้าสู่แกนร่างกาย |
adductor | (n) กล้ามเนื้อที่ดึงเข้าสู่แกนร่างกาย |
aerobics | (n) การออกกำลังที่ช่วยให้หายใจเอาออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายได้มากขึ้น |
afferent | (adj) ที่นำไปสู่อวัยวะในร่างกาย |
anatomy | (n) ร่างกายมนุษย ์(คำไม่เป็นทางการ) |
animal heat | (n) ความร้อนที่เกิดขึ้นในกระบวนการเผาผลาญอาหารในร่างกายสัตว์ |
anthropometry | (n) การวัดร่างกายมนุษย์ตามหลักวิทยาศาสตร์ |
antibody | (n) โปรตีนต่อต้านเชื้อโรคในร่างกาย, Syn. immunoglobulin, immunizer |
appendage | (n) ส่วนที่ยื่นออกไปจากร่างกาย, Syn. limb |
assault | (n) การจู่โจม, See also: การโจมตี, การทำร้ายร่างกาย, Syn. attack, charge, onslaught |
athletic | (adj) ที่มีร่างกายเหมือนนักกีฬา, See also: แข็งแรง, Syn. fit, muscular, strong |
back | (n) หลัง (ส่วนของร่างกาย), See also: แผ่นหลัง, Syn. posterior, rear, Ant. front |
ball | (n) ส่วนของร่างกายที่มีลักษณะกลม, Syn. sphere, globule |
battery | (n) การทำร้ายร่างกาย, See also: การโจมตี, การต่อสู้ |
better | (adj) ดีขึ้น (สภาพร่างกาย), See also: ฟื้นตัว, ทุเลา, ค่อยยังชั่ว, คลี่คลาย, กระเตื้อง, Syn. well |
bionic | (adj) ซึ่งมีส่วนของร่างกายที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์ |
biorhythm | (n) การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายที่มีผลต่อพฤติกรรมมนุษย์ |
blubber | (n) ร่างกายที่อ้วนอย่างไม่น่าดู (คำไม่เป็นทางการ), Syn. fat |
bodily | (adv) เกี่ยวกับร่างกาย, Syn. physical, Ant. noncorporeal |
body | (n) ร่างกาย, See also: สรีระ, Syn. figure |
bone | (n) วัตถุหรือสารสีขาวจากร่างกายสัตว์ |
breastplate | (n) เสื้อเกราะทหารป้องกันส่วนบนของร่างกาย |
bruised | (adj) ถูกทารุณ, See also: ถูกทำร้ายร่างกาย |
bring out in | (phrv) กระตุ้นให้เกิด (ทางอารมณ์หรือร่างกาย), Syn. break out in, come out in |
caffeinism | (n) สภาวะมีคาเฟอีนมาเกินไปในร่างกาย |
calisthenics | (n) การออกกำลังที่ตั้งใจให้ร่างกายแข็งแรงและได้สัดส่วน, Syn. callisthenics |
capacity | (n) ความสามารถทางร่างกายหรือจิตใจ, Syn. ability, aptitude, capability |
carbon monoxide | (n) คาร์บอนมอนอกซ์ไซด์, See also: ก๊าซชนิดหนึ่งไม่มีสีไม่มีกลิ่น มีพิษต่อร่างกาย มีสัญลักษณ์ CO |
carcass | (n) ร่างกายมนุษย์, Syn. body, corpse, remains |
catheter | (n) สายหรือท่อที่สอดเข้าไปในร่างกายเพื่อเอาของเหลวออกมา |
central nervous system | (n) ส่วนหนึ่งของระบบประสาทในร่างกายที่ประกอบด้วยสมองและเส้นประสาทรวมที่กระดูกสันหลัง |
cerebellum | (n) ส่วนของสมองที่ควบคุมเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย |
cerebral palsy | (n) สภาพที่เกิดจากสมองบางส่วนถูกทำลายก่อนหรือขณะคลอดทำให้เสียการควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย, Syn. spastic paralysis |
chamber | (n) ห้องหรือช่องว่างในร่างกาย, See also: ช่อง, โพรง, Syn. cavity |
checkup | (n) การตรวจร่างกาย, Syn. examination, physical examination |
congest | (vt) ทำให้เกิดเลือดหรือของเหลวคั่ง (ในร่างกาย) |
constitution | (n) สุขภาพร่างกาย, Syn. physique, health, physical makeup |
contortion | (n) การบิดเบี้ยว (โดยเฉพาะใบหน้าหรือส่วนของร่างกาย), Syn. deformity, distortion |
corporal | (adj) เกี่ยวกับร่างกายมนุษย์ |
corporal punishment | (n) การลงโทษทางร่างกาย |
corporeal | (adj) ที่เกี่ยวกับร่างกาย, Syn. physical |
corporeally | (adv) อย่างที่เกี่ยวกับร่างกาย, Syn. physically |
corpus | (n) ส่วนของร่างกาย |
cruelty | (n) ความเจ็บปวดทางร่างกายหรือจิตใจ |
cure | (vt) สิ่งที่ช่วยฟื้นฟูร่างกาย, See also: การรักษา |
cyst | (n) ถุงน้ำที่เกิดในร่างกายคนหรือสัตว์ |
crock up | (phrv) ป่วยทางร่างกายหรือจิตใจ, Syn. crack up |
cross oneself | (idm) ทำเครื่องหมายกากบาทบนร่างกายโดยใช้มือ (ศาสนาคริสต์) |
adduct | (อะดัคทฺ') vt. เคลื่อนหรือดึงเข้าสู่แกนร่างกาย-addductive adj., -adduction n. |
adrenal gland | ต่อมหมวกไต มีส่วนประกอบ 2 ส่วน 1. ส่วนเปลือก (adrenal cortex) ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน 1.1 กลูโคคอร์ติคอยด์ แยกย่อยได้แก่ cortisone , hydrocortisone ซึ่งทำหน้าที่ในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ทำให้จำนวนกลูโคสในเลือดเพิ่มขึ้น และไกลโคเจนจะถูกสะสมในตับมากขึ้น ดังนั้นจะเห็นว่าฮอร์โมนนี้จะทำหน้าที่ตรงข้ามกับ insulin ในขณะที่ร่างกายเครียดจะหลั่ง ACTH และ cortisoneออกมาโดยผ่านทาง higher center ของระบบประสาทส่วนกลาง เราจึงมักพบ cortisone ในสภาวะที่ร่างกายได้รับความเจ็บปวด ถูกของร้อน มีคม ไข้สูง ฯลฯ 1.2 ไมเนอราลคอร์ติคอยด์ แยกย่อยได่แก่ aldosterone deoxycorticosterone ซึ่งมีจำนวนน้อย ทั้งสองฮอร์โมนทำหน้าที่ควบคุมน้ำและเกลือแร่ 1.3 sex hormone แยกย่อยได้เป็น Estrogen Progesterone Androgen 2. ส่วนแกน (adrenal medulla) ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนสำคัญคือ 2.1 adrenaline หรือ epinephrine ทำให้หัวใจเต้นแรง ความดันเลือดเพิ่มขึ้น เส้นเลือดที่ผิวหนังและอวัยวะภายในบีบตัว อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น เร่งการสลาย glycogen ในตับเพื่อเปลี่ยนเป็น glucose ทำให้นเตาลในเลือดสูงขึ้น 2.2 noradrenaline ไม่มีผลต่อการเผาผลายอาหารในร่างกาย แต่มีผลทำให้เลือดหดตัว หัวใจเต้นช้าลง ความดันเลือดสุงขึ้น ขยายหลอดลม แต่ไม่มีผลต่อระดับ้ำตาลในเลือด |
alkalosis | (แอลคะโล' ซิส) n. ภาวะที่โลหิตหรือของเหลวร่างกายมีปริมาณไบคาร์บอเนตมากผิดปกติ |
amputee | (แอมพิวที') n. ผู้ที่ถูดตัด (แขน, ขา, หรือส่วนอื่นของร่างกาย) ออก |
animism | (แอน' นิมิสซึม) n. ความเชื่อถือที่ว่ามีวิญญาณในธรรมชาติและจักรวาล, ความเชื่อว่าวิญญาณอาจอยู่แยกต่างหากจากร่างกาย, ความเชื่อถือว่าวิญญาณเป็นส่วนสำคัญของชีวิตและสุขภาพที่ดี, ความเชื่อในเรื่องวิญญาณ -animist n. -animistic adj. |
anoxia | (แอนออค' เซีย) n. ภาวะที่มีอ็อกซิเจนในเนื้อเยื่อร่างกายต่ำกว่าปกติ, ภาวะผิดปกติทางกายและจิตที่เนื่องจากภาวะดังกล่าว. -anoxic adj. (abnormally low amount of oxygen) |
antibody | (แอนทิบอ' ดี) n. โปรตีนในร่างกายที่เกิดจากการกระตุ้นของ antigen มันมีฤทธิ์ต้านพิษของ antigen เฉพาะอย่าง |
antidiuretic hormone | อาจเรียกว่า vasopressin กระตุ้นให้ไตดูดซึมน้ำกลับไว้ในร่างกาย เป็นผลให้ปัสสาวะมีน้อยลง ถ้าขาดฮอร์โมนนี้ทำให้เกิดโรคเบาจืด ทำให้ปัสสาวะมาก กระหายน้ำมาก |
antihistamine | (แอนทีอิส' ทะมีน) n. สารต้านฤทธิ์ของ histamine ในร่างกาย, ใช้แก้อาการแพ้หรือโรคภูมิแพ้ (เช่น หวัด) -antihistaminic adj. (anti-+histamine) |
antimere | (แอน' ทิเมียร์) n. ส่วนของร่างกายที่กั้นด้วยแนวราบเป็นุมุฉากกับแกนยาวของร่างกาย |
appetite | (แอพ'พิไททฺ) n. ความอยากอาหารหรือเครื่องดื่ม, ความต้องการของร่างกาย, ความปรารถนา, ความชอบ, Syn. desire, craving, relish, liking, Ant. aversion, distaste |
apron | (เอ'พรอน) n. ผ้ากันเปื้อนส่วนหน้าของร่างกาย โดยคาดไว้ที่เอว, กะบังโลหะ, ลานจอดเครื่องบิน, ที่กำบัง, ที่ค้ำ, หน้าเวที, Syn. bib, pinafore |
aspirate | (แอส'พะเรท) -vt. ออกเสียงได้ยิน, ออกเสียงตัว h, ขจัดของเหลวจากโพรงร่างกาย โดยใช้เครื่องดูด, หายใจเอาของเหลวเข้าไปในปอด |
aspirator | (แอส'พะเรเทอะ) n. เครื่องสูบอากาศ, เครื่องช่วยหายใจ, เครื่องดูดของเหลวออกจากร่างกาย |
athletic | (แอธเลท'ทิค) adj. มีร่างกายที่แข็งแรง, ปราดเปรียว, เกี่ยวกับนักกีฬาหรือกรีฑา, มีร่างกายที่เหมือนนักกีฬา, Syn. physically strong, robust |
atp | abbr. adenosine triphosphate เป็นแหล่งของพลังงานของร่างกาย (โดยเฉพาะการบีบตัวของกล้ามเนื้อ) |
atrophy | (เอ'ทระฟี) n. ภาวะฝ่อลีบหรือหดเหี่ยวของอวัยวะหรือส่วนของอวัยวะในร่างกาย, การเสื่อม, การลดลง. -vt., vi. เสื่อม ถอย, ฝ่อลีบ. |
autogaft | (ออ'โทกราฟทฺ) n. เนื้อเยื่อหรืออวัยวะที่ย้ายไปเพาะที่ส่วนอื่นของร่างกายเดียวกัน, Syn. autoplast autotransplant |
autogenous | (ออทอจ'จินัส) adj. เกิดขึ้นเอง, เกี่ยวกับสารที่เกิดขึ้นเองในร่างกาย (self-generated) |
autoinfection | (ออโทอินเฟค'เชิน) n. การใส่เชื้อโรคจากส่วนหนึ่งของร่างกายไปยังอีกส่วนที่ยังไม่ติดเชื้อ. -autonoculability n. |
autointoxication | (ออดทอินทอคซิเค'เชิน) n. การเป็นพิษจากภายในร่างกาย., Syn. autotoxemia -autotoxic adj. autotoxicosis |
autonomic nervous system | ระบบประสาทส่วนกลางที่เกี่ยวกับการทำงานเอง ของอวัยวะในร่างกาย |
autoplasty | (ออโทพลาส'ทิ) n. ศัลยกรรมย้ายเพาะเนื้อเยื่อจากส่วนหนึ่งของร่างกายไปยังอีก ส่วนหนึ่ง. -autoplastic adj. |
autotomise | (ออทอท'โทไมซ) vt. ทิ้งส่วนของร่างกายตัวเองออก (เช่น จิ้งจอกทิ้งหาง) (undergo autotomy) |
autotomy | (ออทอท'โทมี) n. การทิ้งส่วนของร่างกายตัวเองออก (เช่น จิ้งจอกทิ้งหาง) . -autotomic adj. |
autotoxin | (ออโททอค'ซิน) n. พิษจากภายในร่างกายตัวเอง. -autotoxic adj. |
bedsore | (เบด'ซอร์) n. แผลบนร่างกายที่เนื่องจากการนอนหลับทับเป็นเวลานานบนเตียง |
body | (บอด'ดี) n. ร่างกาย, ร่าง, ตัว, ทั้งตัว, ลำตัว, ลำต้น, ศพ, ซากศพ, ส่วนใหญ่, เนื้อแท้, กลุ่มคน, ข้อสรุป, มวล, วัตถุ, สาร vt.เป็นตัวแทนในรูปของกาย, ทำให้เป็นรูปร่าง, Syn. physique |
bougie | (บู'จี) n. ที่แยง สอดเข้ารูเปิดของร่างกาย (เช่น ทางเดินปัสสาวะ) , ยาเหน็บ |
cannula | (แค็น'นูละ) n. ท่อกลวงสำหรับสอดเข้าไปในโพรงร่างกาย, See also: cannulate adj. |
canula | (แค็น'นูละ) n. ท่อกลวงสำหรับสอดเข้าไปในโพรงร่างกาย, See also: cannulate adj. |
carcase | (คาร์'เคิส, คาร์'เคส) n. ซากศพ, ซากสัตว์, ร่างกายคน, โครงสร้าง -Conf. skeleton |
carcass | (คาร์'เคิส, คาร์'เคส) n. ซากศพ, ซากสัตว์, ร่างกายคน, โครงสร้าง -Conf. skeleton |
catalepsy | (แคท'ทะเลพซี) n. ภาวะการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อในร่างกายบางส่วน/ทำให้ร่างอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งชั่วขณะ, See also: cataleptic adj. ดูcatalepsy |
celom | n. ช่องในตัวอ่อน, ช่องในร่างกายระหว่างผนังร่างกายกับลำไส้ |
cerebrum | (เซอ'ริบรัม) n. สมองใหญ่ เป็นส่วนที่อยู่ด้านหน้า แบ่งเป็น 2 ซีก มี cerebralcortex ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการติดต่อของเส้นประสาททั่วร่างกาย สมองส่วน cerebrum ทำหน้าที่เกี่ยวกับความคิด ความฉลาด ไหวพริบ ความทรงจำ ความยั้งคิดและความรู้สึกรับผิดชอบต่าง ๆ และนอกจากยัง nerve center ท่ควบคุมการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของร่างกายส่วนต่าง ๆ |
chassis | (แ?ส'ซิส) n.โครงรถยนต์ที่รวมทั้งเครื่องยนต์และล้อ, โครงช่วงล่าง, โครงลำเครื่องบิน, ฐานะเครื่องวิทยุ, ร่างกาย, รูปร่าง -pl. chassis |
checkup | n. การตรวจสอบ, การตรวจสุขภาพร่างกายอย่างละเอียด |
chippy | (ชิพ'พี) n. โสเภณี, หญิงสำส่อน, หญิงใจง่าย. adj. โมโหง่าย, แห้งแล้ง, ไม่สบาย (ร่างกาย), Syn. chippie |
clay | (เคล) n. ดินเหนียว, ดิน, โคลน, ร่างกายมนุษย์. vt. ใส่ดินเหนียว., See also: clayey, clayish, claylike adj. clayiness n. |
coelom | n. ช่องในตัวอ่อน, ช่องในร่างกายระหว่างผนังร่างกายกับลำไส้ |
coelome | n. ช่องในตัวอ่อน, ช่องในร่างกายระหว่างผนังร่างกายกับลำไส้ |
compressor | (คัมเพรส'เซอะ) n. ผู้อัด, สิ่งอัด, กล้ามเนื้อที่กดส่วนหนึ่งของร่างกาย, เครื่องยนต์ที่มีลูกสูบหรือเครื่องปั๊ม |
concretion | (คอนครี'เชิน) n. การแข็งตัว, สิ่งที่แข็งตัว, สิ่งที่เกิดจากการเกาะกัน, สิ่งที่มีตัวตน, ก้อนหรือเม็ดนิ่วในร่างกาย, ก้อนแข็งที่เกิดขึ้นในหินทรายหรือดิน, Syn. consolidation |
connective tissue | เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เนื้อเยื่อชนิดนี้มีเซลล์น้อยแต่มี matrix มาก เนื้อเยื่อชนิดนี้พบได้ทั่วไปใปมากกว่าเนื้อเยื่อชนิดอื่นทำหน้าที่ให้เนื้อเยื่ออื่นยึดเกาะติดกัน รองรับและห่อหุ้มเนื้อเยื่ออื่น ๆ ช่วยให้อาหารให้แก่เนื่อเยื่อที่เกาะอยู่ ป้องกันและให้ความปลอดภัยแก่ร่างกายโดยทำหน้าที่ซึม ทำลายวัตถุที่แปลกปลอม ยังช่วยซ่อมแซมเนื้อเยื่อทีสึกหรอ แบ่งออกเป็น สองชนิดคือ 1.embryonic 1.1 mesenchyme เจริญมาจากชั้น mesoderm จะพบใน embryo และเจริญขึ้นอย่างรวดเร็วเป็น connective tissue ชนิดต่าง ๆ 1.2 mucous connective tissue ลักษณะคล้ายเมือกข้นที่ขับจากต่อมน้ำมูก (mucin) มีกลุ่มของอเส้นใยละเอียดสีขาว พบได้ที่สายสะดือเด็กเรียกว่า wharton's jelly 2. adult 2.1 เนื้อเยื่อเกี่ยวพันแท้ 2.2 เลือดและน้ำเหลือง 2.3 กระดูกอ่อน 2.4 กระดูกแข็ง |
constitution | (คอนสทิทิว'เชิน) n. การประกอบขึ้น, การก่อตั้ง, การสถาปนา, ร่างกาย, อุปนิสัย, สันดาน, รัฐธรรมนูญ, ระเบียบข้อบังคับ, รูปแบบการปกครอง, รากฐาน, Syn. composition |
consumption | (คันซัมพฺ'เชิน) n. การบริโภค, การเผาผลาญ, การใช้สินค้าหรือการบริการที่มีค่าทางเศรษฐศาสตร์ที่แลกเปลี่ยนได้, วัณโรค, โรคที่ทำให้ร่างกายเสื่อมโทรม, Syn. consuming, utilization |
corporal | (คอร์'เพอเริล) adj. เกี่ยวกับร่างกายมนุษย์, เกี่ยวกับเนื้อหนังมังสา, โดยส่วนตัว, เกี่ยวกับร่าง (แตกต่างจากศรีษะและแขนขา) , เกี่ยวกับวัตถุ n. สิบโท, จ่าอากาศโท, See also: corporalcy n. ดูcorporal corporalship n. ดูcorporal |
corporeal | (คอร์โพ'เรียล) adj. เกี่ยวกับร่างกาย, ซึ่งมีตัวตน, เกี่ยวกับวัตถุ, See also: corpoeality n. corporealness n. ดู corporalcy n. ดูcorporal corporalship n. ดูcorporal, Syn. material, substantial -Conf. corporal |
corpus | (คอร์'พัส) n. ร่างกาย, ศพ, รวมเรื่องเขียนขนาดใหญ่หรือสมบูรณ์, รวมวรรณกรรม, อวัยวะหรือส่วนของร่างกาย ที่ทำหน้าที่เฉพาะอย่าง, เงินก้อนใหญ่, Syn. corpse; -Phr. corpus delicti ข้อเท็จจริงที่ได้ทำผิดกฎหมาย -Phr. corpus juris ประมวลหลักธ |
anatomical | (adj) เกี่ยวกับกายวิภาค, เกี่ยวกับร่างกาย |
anatomize | (vt) วิเคราะห์, แบ่งแยก, ชำแหละ(ร่างกาย) |
anthropometry | (n) มานุษยวิทยาเกี่ยวกับการวัดร่างกายของคน |
bodily | (adj) เกี่ยวกับร่างกาย, เกี่ยวกับเนื้อหนังมังสา |
bodily | (adv) ทั้งร่างกาย, ทั้งหมด, ทางกายภาพ |
body | (n) ร่างกาย, ร่าง, ตัว, ลำต้น |
constitution | (n) การบัญญัติ, สังขาร, ร่างกาย, สันดาน, รัฐธรรมนูญ |
constitutional | (adj) เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ, ตามรัฐธรรมนูญ, ทางร่างกาย |
corporal | (adj) เกี่ยวกับร่างกาย, เกี่ยวกับเนื้อหนังมังสา |
corporeal | (adj) เกี่ยวกับร่างกาย, เกี่ยวกับรูปธรรม, ซึ่งมีตัวตน, เกี่ยวกับวัตถุ |
duct | (n) ท่อ, หลอด, โพรง, ท่อน้ำในร่างกาย, คู, คลอง |
excrement | (n) อุจจาระ, ของเสียจากร่างกาย, มูล |
flesh | (n) ร่างกาย, เนื้อหนัง, เลือดเนื้อ, เนื้อสัตว์, เนื้อผลไม้ |
fleshly | (adj) ทางร่างกาย, ทางโลกีย์, เกี่ยวกับเนื้อหนังมังสา |
gland | (n) ต่อมในร่างกาย, อวัยวะคัดหลั่ง |
gymnastic | (adj) ทางพลศึกษา, เกี่ยวกับกายกรรม, เกี่ยวกับยิมนาสติก, เกี่ยวกับการบริหารร่างกาย |
gymnastics | (n) พลศึกษา, กายกรรม, วิชายิมนาสติก, การบริหารร่างกาย, วิชายืดหยุ่น |
health | (n) สุขภาพ, ร่างกาย, ความสมบูรณ์, ความแข็งแรง, กำลังวังชา |
healthful | (adj) บำรุงสุขภาพ, ถูกอนามัย, เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย |
material | (adj) เกี่ยวกับร่างกาย, เป็นรูปธรรม, สำคัญ, ประกอบด้วยวัตถุ |
mortification | (n) การทรมานร่างกาย, ความตกใจ, ความบัดสี |
mortify | (vt) ทรมานร่างกาย, ทำให้อ่อนกำลังลง, ทำให้เสียใจ, ทำให้บัดสี |
nourishment | (n) อาหาร, เครื่องบำรุงร่างกาย, การบำรุงกำลัง, การหล่อเลี้ยง |
nutrient | (adj) ซึ่งบำรุงร่างกาย, เป็นอาหาร, เกี่ยวกับโภชนาหาร |
nutriment | (n) อาหาร, เครื่องบำรุงร่างกาย |
nutrition | (n) อาหาร, เครื่องบำรุงร่างกาย, โภชนาการ |
nutritious | (adj) เกี่ยวกับอาหาร, ซึ่งบำรุงร่างกาย, ซึ่งบำรุงกำลัง |
nutritive | (adj) เกี่ยวกับอาหาร, ซึ่งบำรุงร่างกาย, ซึ่งบำรุงกำลัง |
person | (n) คน, ตัว, บุคคล, ร่างกาย, องค์, นิติบุคคล, บุรุษ |
physical | (adj) ทางร่างกาย, กายภาพ, ทางวัตถุ, เกี่ยวกับธรรมชาติ, แท้จริง |
adaptogen | [อะ-แด๊พ-เถอะ-เจิ่น] (n) (ในทางยาสมุนไพร) สารธรรมชาติที่ไม่มีพิษและได้รับการยอมรับว่ามีสรรพคุณในการช่วยให้ร่างกายปรับตัวหรือรับมือกับความเครียดได้ เช่น Ashwagandha แอชวากานด้า |
Benesh Notation | [เบเนช โนเทชั่น] (n) ระบบการจดบันทึกการเคลื่อนไหวของร่างกาย ที่ใช้สำหรับการเต้นบัลเลต์ เป็นระบบที่นิยมและแพร่หลายสำหรับผู้ที่เรียนศิลปะการเต้นบัลเลต์ มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับระบบของลาบาน (Labanotation) แต่จะนิยมใช้ระบบเบเนชในการจดบันทึกท่าเต้นรำของบัลเลต์มากกว่า, See also: Labanotation, Syn. Dance Notation |
Bursae | ถุงน้ำขนาดเล็กที่เต็มไปด้วยของเหลวขนาดเล็กที่ตั้งอยู่ระหว่างส่วนที่สามารถเคลื่อนย้ายของร่างกายโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ข้อต่อ |
Carer | (n) ผู้ดูแล, พนักงานดูแล, พี่เลี้ยง บุคคลที่คอยดูแลให้ความช่วยเหลือผู้อื่นโดยเฉพาะเด็ก ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย หรือผู้ที่มีความผิดปรกติทางด้านร่างกาย จิตใจ หรือสติปัญญา |
chikungunya | [ชิคุนกุนยา] (n) โรคติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ทำให้ผู้ป่วยมีอาการไช้สูงฉับพลัน มีผื่นแดงขึ้นตามร่างกายและอาจมีอาการคัน ตาแดง ในผู้ใหญ่จะพบอาการปวดข้อร่วมด้วย |
disorder | (n) การหยุดชะงักของโครงสร้างและการทำงานปกติของร่างกาย |
Dopamine | [โดพามีน] เป็นสารเคมีที่ผลิตขึ้นในร่างกาย ในสมอง โดพามีนทำหน้าที่เป็นสารสื่อประสาท (neurotransmitter) คอยกระตุ้นโดพามีน รีเซพเตอร์ (dopamine receptor) โดพามีนทำหน้าที่เป็นฮอร์โมนประสาท (neurohormone) ที่หลั่งมาจากไฮโปทาลามัส (hypothalamus) หน้าที่หลักของฮอร์โมนตัวนี้คือยับยั้งการหลั่งโปรแลคติน (prolactin) จากต่อมใต้สมองส่วนหน้า (anterior pituitary) |
flab | ไขมันส่วนเกินในร่างกาย excess or unwanted fat on somebody's body ( informal ) |
fluoroscopy | (n) การตรวจดูอวัยวะภายในร่างกายโดยใช้รังสี ซึ่งภาพที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะเป็น real time แสดงบนหน้าจอ monitor digital fluoroscopy |
foreign body | สิ่งหรือสารแปลกปลอมที่พบภายในร่างกาย อวัยวะ หรือเนื้อเยื่อที่ปกติไม่มีอยู่ในร่างกาย เช่น เศษอาหารในหลอดลม ฝุ่นในดวงตา |
gene | (n) หน่วยที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆในร่างกายของสิ่งมีชีวิต ที่ถ่ายทอดจากพ่อแม่ ไปสู่ลูกหลาน ที่ปรากฏอยู่บนโครโมโซม |
half-life | (n) ระยะเวลาที่กระบวนการชีวภาพในร่างกายใช้ในการขจัดปริมาณของสาร เช่น สารเสพติด ออกจากเนื้อเยื่อได้ครึ่งหนึ่งของปริมาณที่เข้าสู่ร่างกาย |
heat exhaustion | (n) อาการเวียนหัว คลื่นไส้ เนื่องจากร่างกายสูญเสียน้ำ, Syn. heat prostration |
Hematopoietic System | การก่อตัวของเลือดหรือเซลล์เม็ดเลือดในร่างกายที่อยู่อาศัย |
Hepatobiliary scintigraphy (HIDA) | เทคนิคการวินิจฉัยที่ภาพสองมิติของเนื้อเยื่อภายในร่างกายมีการผลิตผ่านการตรวจสอบของรังสีที่ออกมาจากสารกัมมันตรังสีที่ได้รับการจัดการในร่างกาย ที่เกี่ยวข้องกับ, ตั้งอยู่ในหรือใกล้, ผลิตใน, หรือส่งผลกระทบต่อตับและน้ำดี, ท่อน้ำดี, และถุงน้ำดี |
humoralism | (n) ความเชื่อของแพทย์โรมันว่าความป่วยของร่างกายคนมาจากการเสียสมดุลของของเหลวสี่อย่างในร่างกาย |
hydropathy | (n) การบำบัดร่างกายด้วยน้ำ, See also: spa, Syn. Hydrotherapy |
Hyperaldosteronism | เป็นโรคต่อมไร้ท่อที่เกี่ยวข้องกับหนึ่งหรือทั้งสองของต่อมหมวกไตของคุณสร้างมากเกินไปของฮอร์โมนที่เรียกว่า (aldosterone ฮอร์โมนในกลุ่มมิเนราโลคอร์ติคอยด์ ซึ่งสร้างจากอะดรีนัลคอร์เทกซ์ของต่อมหมวกไต ทำหน้าที่ควบคุมสมดุลของโซเดียมในเลือด). ทําให้ร่างกายสูญเสียโพแทสเซียมมากเกินไปและรักษาโซเดียมมากเกินไปซึ่งเพิ่มการกักเก็บน้ําปริมาณเลือดและความดันโลหิต |
Hypersensitivities | ความไวผิดปกติกับสารที่ไม่มักจะมีผลกระทบต่อร่างกาย (เช่นยา) |
hypothermia | สภาวะที่ร่างกายมีอุณหภูมิต่ำเกินไป |
hypothermia. | [a low body temperature, as that due to exposure in cold weather or a state of low te] อุณหภูมิในร่างกายต่ำกว่าปกติ |
Klebsiella pneumoniae (K. pneumoniae) | เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ปกติอยู่ในลำไส้ของคนและในอุจจาระ. แบคทีเรียเหล่านี้ไม่เป็นอันตรายเมื่อพวกมันอยู่ในลำไส้ของคุณ. แต่ถ้าพวกมันแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นของร่างกายของคน, พวกเขาสามารถทำให้เกิดการติดเชื้อรุนแรง. ความเสี่ยงจะสูงขึ้นถ้าคุณป่วย. |
Parasymapathetic | [ซิมพะเธท'ทิค] adj. เห็นอกเห็นใจ - เป็นระบบประสาทที่มีใยประสาทมาจากไขสันหลังส่วนอก และเอว แต่มี center อยู่ในไขสันหลัง เป็นระบบประสาทที่มักใช้ในผู้ที่ใช้พลังงานทันทีทันใด หรือในขณะตื่นเต้น สู้รบ หรือป่วยไข้ ทำให้ม่านตาขยาย หัวใจเต้นเร็ว หลอดลมขยายตัว หลอดเลือดหดตัวเล็กน้อย ความดันเลิอดสูงขึ้น เหงื่อออกมาก อุณหภูมิร่างกายเพิ่มมากขึ้น กระเพาะปัสสาวะยืดอออก การบีบตัวของมดลูกลดลง ต่อมขับฮอร์โมนน้อยลง คำที่มีความหมายเหมือนกัน: kindly, kind |
Perineal | เป็นช่องว่างระหว่างทวารหนักและถุงอัณฑะในเพศชายและระหว่างทวารหนักและช่องคลอดในเพศหญิง, เป็นพื้นที่ของร่างกายระหว่างหัวหน่าวและก้นกบ(กระดูกหาง) |
Pharmacokinetics | 1. การศึกษาการดูดซึมของร่างกาย การกระจายการเผาผลาญและการขับถ่ายของยา 2. ปฏิกิริยาลักษณะของยาและร่างกายในแง่ของการดูดซึมการกระจายการเผาผลาญและการขับถาย |
Prostaglandins | ที่มีศักยภาพฮอร์โมนเช่นสารที่พบในหลายเนื้อเยื่อร่างกาย (และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในน้ำอสุจิ); ผลิตในการตอบสนองต่อการบาดเจ็บและอาจส่งผลกระทบต่อความดันโลหิตและการเผาผลาญและกิจกรรมกล้ามเนื้อเรียบ |
RSV | (abbrev) ไวรัส RSV หรือ Respiratory Syncytial Virus เป็นสาเหตุของการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจตั้งแต่ส่วนบนจนถึงส่วนล่าง ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการหลอดลมฝอยอักเสบ (Acute bronchiolitis) และอาจทำให้ปอดอักเสบติดเชื้อได้ (Pneumonia) โดยเฉพาะผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เช่น เด็กที่มีโรคประจำตัว คลอดก่อนกำหนด ฯลฯ อาการเริ่มแรกเหมือนไข้หวัด คือ มีไข้ ไอ น้ำมูกไหล แต่จะมีไอมาก เสมหะเยอะและเหนียวข้น หายใจหอบเหนื่อย หน้าอกบุ๋ม อาจมีเสียหงายใจดังวี๊ดๆ ซึม ไม่กินน้ำ หงุดหงิด กระวุนกระวาย มีสีเขียวคล้ำบริเวณริมฝีปาก หรือ ปลายมือปลายเท้า เนื่องจากร่างกายขาดออกซิเจน หากมีอาการดังกล่าว ควรไปพบแพทย์ ที่มา: เอกสารแผ่นพับจากโรงเรียนอนุบาลชนานันท์ เรียบเรียงโดยก้านแก้ว จากการสัมภาษณ์ เรืออากาศเอกแพทย์หญิงหฤทัย กมลาภรณ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี |
Sarcoidosis | เป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับการสะสมที่ผิดปกติของเซลล์ที่อักเสบ (ชนิดของเนื้องอกที่ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเม็ด) ที่สามารถสร้างเป็นก้อนภายในอวัยวะของร่างกาย |
sich freiwillig auferlegt | (n) การทำร้ายร่างกายตัวเอง |
Sickle cell disease | กลุ่มของความผิดปกติที่มีผลต่อฮีโมโกลโมเลกุลในเซลล์เม็ดเลือดแดงที่ให้ออกซิเจนไปยังเซลล์ทั่วร่างกาย คนที่มีความผิดปกตินี้มีโมเลกุลของโมโกลเศร้าที่เรียกว่าฮีโมโกล S ซึ่งสามารถบิดเบือนเซลล์เม็ดเลือดแดงเป็นเคียวหรือเสี้ยว, รูปร่าง |
Sims position | ตําแหน่งซิมส์เป็นตําแหน่งมาตรฐานที่ผู้ป่วยอยู่ทางด้านซ้ายของพวกเขาด้วยสะโพกขวาและหัวเข่างอ แขนส่วนล่างอยู่ด้านหลังต้นขางอ หัวเข่าซ้ายเอียงเล็กน้อย แขนขวาอยู่ในตําแหน่งที่สะดวกสบายต่อหน้าร่างกายแขนขวาวางอยู่ด้านหลังร่างกาย เรียกอีกอย่างว่าตําแหน่ง "ด้าน" |
Sorbitol | แอลกอฮอล์น้ําตาล(หวาน)ที่มี 4 แคลอรี่ต่อกรัม 2.สารที่ผลิตโดยร่างกายในผู้ป่วยโรคเบาหวานที่อาจทําให้เกิดความเสียหายต่อดวงตาและเส้นประสาท |
Teratogenic effects | (n) ผลต่อการผิดปกติของการพัฒนาการร่างกายทารกในครรภ์ ฤทธิ์การส่งถ่ายสารเคมีสู่ทารก |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
Brust | (n) |die, nur Sg.| หน้าอก, ส่วนหน้าอกของร่างกาย |
Fieber | (n) |das, nur Sing.| ไข้, การที่ร่างกายมีอุณหภูมิสูงกว่าปกติ |
Gift | (n) |das, pl. Gifte| พิษ, สารที่เป็นพิษต่อร่างกาย |
spüren | (vi, vt) |spürte, hat gespürt| รู้สึกถึง, รับความรู้สึก, รับรู้ เช่น Du sollst spüren, daß sie immer für dich da ist. นายควรรับรู้ไว้ว่าเธออยู่ตรงนี้เสมอสำหรับนาย (สังเกตความแตกต่างระหว่าง spüren และ fühlen โดยมาก fühlen ใช้บ่งความรู้สึกทางร่างกาย เช่น Ich fühle mich schlecht.ซึ่งจะไม่พูดว่า Ich spüre schlecht. ), See also: Related: fühlen |
Glied | (n) |das, pl. Glieder| ระยางค์, อวัยวะส่วนที่ยื่นออกมานอกร่างกาย, แขน ขา หรือ ปีก |
körperbehindert | (adj) พิการทางร่างกาย, ไม่สามารถทำกิจกรรมบางอย่างได้เนื่องจากอวัยวะส่วนบางส่วนของร่างกายขาดหายไป |
Körperbehinderte | (n) |der/die, pl. Körperbehinderten| คนพิการทางร่างกาย, See also: ein Körperbehinderter |
Körperbehinderter | (n) คนพิการทางร่างกาย, Syn. der Körperbehinderte |
chemisch | (adj, adv) ทางเคมี, ที่เกี่ยวกับเคมี เช่น In unserem Körper entstehen viele chemische Reaktionen. ในร่างกายของเรามีปฏิกิริยาทางเคมีเกิดขึ้นมากมาย |
einnehmen | (vi, vt) |nimmt ein, nahm ein, hat eingenommen, etw.(A)| ทาน(ยา), นำเข้าสู่ร่างกาย เช่น Hinweise: Nicht einnehmen oder trinken, von Kindern fernhalten. ข้อแนะนำ ไม่ควรกินหรือดื่ม ควรให้อยู่ห่างจากมือเด็ก |
misshandeln | (vt) |misshandelte, misshandelt| ประทุษร้าย, ทำร้ายร่างกาย เช่น Ein 26 Jahre alter Mann hat Sonntag gegen 06.30 Uhr eine 25-Jährige nach einem Diskothekenbesuch misshandelt. |
Computertomografie | (n) |die, pl. Computertomografien| วิธีการสร้างภาพตัดขวางจากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้ได้ภาพตัดขวางของส่วนของร่างกายออกมาเป็นดิจิตัลหรือตัวเลข |
Physiologie | (n) |die, nur Sg.| กระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต |
Physiologie | (n) |die, nur Sg.| ศาสตร์ที่ศึกษาถึงกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต, สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา |
physiologisch | (adj, adv) ซึ่งเกี่ยวกับกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต |