ร้อง | (v) cry, See also: weep, blubber, sob, snivel, Syn. ร้องไห้, เป่าปี่, ไห้, Ant. หัวเราะ, Example: แม่ปลอบลูกให้หยุดร้อง, Thai Definition: อาการที่น้ำตาไหลเพราะประสบอารมณ์อันแรงกล้า |
ร้อง | (v) sing, See also: chant, carol, croon, yodle, Syn. ร้องเพลง, ขับร้อง, Example: ละครดึกดำบรรพ์นั้นต้องร้องเอง, Thai Definition: เปล่งเสียงเป็นทำนองต่างๆ |
ร้อง | (v) complain, See also: make a complaint, petition, appeal, Syn. ร้องเรียน, ร้องทุกข์, Example: ประชาชนมาร้องกับนายอำเภอเรื่องการปล่อยน้ำเสียของโรงงาน |
ร้อง | (v) cry, See also: bellow, bawl, cry out, squeal, squawk, screech, roar, Example: เสียงนกแสกเกิดจากเวลาตกใจแล้วร้องออกมาอย่างโหยหวน, Thai Definition: เปล่งเสียงดัง |
ร้อง | (v) ask for, See also: beg, request, appeal, plead, Syn. ขอร้อง, ร้องขอ, Example: ประธานาธิบดีคนแรกของตุรกีได้ร้องนาโต้ให้มีความยุติธรรมต่อประเทศของเขา, Thai Definition: ขอให้ช่วยเหลือ |
ร้อง | (v) cry out, See also: bawl, bellow, shriek, Syn. กรีดร้อง, Example: เธอร้องออกมาด้วยความตกใจสุดขีด |
ร้อง | (v) sing, Syn. ร้องเพลง, Example: นักร้องที่ดีต้องร้องให้เต็มเสียงและร้องได้ทุกแบบ, Thai Definition: เปล่งเสียงดัง, ออกเสียงดัง |
พร้อง | (v) call, Syn. ร้อง, ร้องเรียก, พร้องเพรียก, Example: ผู้ที่มีใจกว้างย่อมพร้องเพรียกเพื่อนฝูงมาร่วมวงสุราอาหาร |
ขอร้อง | (v) beg, See also: ask, request, entreat, beseech, implore, Syn. ขอ, ร้องขอ, อ้อนวอน, Example: ทางโรงเรียนขอร้องนักเรียนและผู้ปกครองให้บริจาคเงินช่วยอุทกภัยภาคใต้, Thai Definition: ขอให้ช่วยเหลืออย่างเห็นอกเห็นใจ |
คำร้อง | (n) petition, See also: request, appeal, entreaty, application, Syn. ฎีกา, คำขอ, Example: พนักงานอัยการยื่นคำร้องต่อศาลเพื่อขอหมายขังผู้ต้องหา, Count Unit: ข้อ, ฉบับ, Thai Definition: คำขอที่ยื่นต่อทางราชการ เพื่อให้ทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้แก่ผู้ร้อง |
บทร้อง | (n) lyrics, Syn. เนื้อร้อง, บทเพลง, Example: ละครร้องต้องสร้างบทร้องให้ไพเราะ ถึงจะได้รับความนิยมจากผู้ชม, Count Unit: บท, Thai Definition: คำประพันธ์สำหรับขับร้อง |
ร้องขอ | (v) beg for, See also: request, cry for, Syn. ขอร้อง, ขอ, วิงวอน, ร่ำขอ, Ant. มอบให้, จัดให้, Example: พนักงานสอบสวนร้องขอให้มีการออกหมายอาญา, Thai Definition: ขอให้ผู้อื่นมอบสิ่งใดสิ่งหนึ่งแก่ตน |
การร้อง | (n) cry, See also: bellow, bawl, call, scream, screech, shout, Syn. การส่งเสียงร้อง, การตะโกน, Example: การร้องเสียงดังมากๆ จะเป็นอันตรายต่อเส้นเสียง, Thai Definition: การเปล่งเสียงดัง |
ขับร้อง | (v) sing, See also: sing a song, Syn. ร้องเพลง, ร้อง, Example: หล่อนหัดขับร้องมาตั้งแต่เด็ก หวังว่าสักวันจะเป็นนักร้องให้ได้, Thai Definition: เปล่งเสียงออกมาเป็นทำนองต่างๆ |
นักร้อง | (n) singer, See also: songster, Example: เดี๋ยวนี้รายการเพลงมีการสัมภาษณ์นักร้องใหม่ๆ เพื่อเอาใจแฟนเพลง, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่มีความสามารถในการร้องเพลงหรือร้องเพลงเป็นอาชีพ |
ฟ้าร้อง | (n) thunder, Syn. ฟ้าคำราม, Example: คนป่าดั้งเดิมกลัวฟ้าร้อง ความมืด และสิ่งต่างๆ ที่อยู่เหนือความเข้าใจ, Thai Definition: เสียงที่เกิดขึ้นเนื่องจากอากาศขยายตัวเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วเพราะความร้อนที่เกิดจากฟ้าแลบ |
ฟ้าร้อง | (v) thunder, Syn. ฟ้าคำราม, Example: ฟ้าร้องเสียงดังมากทำให้เขาต้องรีบคลุมโปงเพราะความกลัว, Thai Definition: เกิดเสียงขึ้นเนื่องจากอากาศขยายตัวเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วเพราะความร้อนที่เกิดจากฟ้าแลบ |
ร่ำร้อง | (v) request, See also: make request, beg, ask, beseech repeatedly, Syn. ร้อง, ร้องขอ, Example: เขาตัดสินใจยินยอมให้คู่ปรับตัวฉกาจเดินทางกลับประเทศได้ตามที่ร่ำร้องมานานกว่า 5 ปี |
ร้องถาม | (v) inquire, See also: question, Syn. ถาม, Ant. ตอบ, Example: ผู้เสียหายจะร้องถามใครได้บ้างว่าความยุติธรรมอยู่ที่ไหน |
ร้องทัก | (v) say hello, See also: hail, say hi, greet, accost, Example: เขาโผล่ออกมาจากห้องร้องทักผมก่อน |
ร้องส่ง | (v) sing with instrumental accompaniment, See also: sing a song alternatively with music, Thai Definition: ร้องเพลงให้เครื่องดนตรีรับ |
โห่ร้อง | (v) acclaim, See also: cheer, hail, clamour, applaud, Example: ประชาชนโห่ร้องแสดงความยินดีกันอย่างระเบ็งเซ็งแซ่ |
กรีดร้อง | (v) scream, See also: shriek, squall, screech, yell, bawl, cry, Syn. กรีด, Example: หล่อนกรีดร้องด้วยความกลัว, Thai Definition: ส่งเสียงเล็กแหลมด้วยความตกใจ |
คนร้องนำ | (n) lead singer, See also: lead vocalist, Example: กลุ่มประสานเสียงต้องรอจังหวะจากคนร้องนำก่อนถึงจะร้องตาม |
คำร้องขอ | (n) petition, See also: appeal, entreaty, application, request, Example: เขาส่งคนไปคุ้มครองคนทำงานเพื่อสิทธิมนุษยชนในศรีลังกาตามคำร้องขอของสมาคมทนายความแห่งศรีลังกา, Thai Definition: คำขอที่คู่ความยื่นต่อศาล เพื่อขอให้ศาลมีคำสั่งในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง |
ท้องร้อง | (v) (stomach) rumble with hunger, Example: ถึงตอนนี้ความหิวมันทำให้ท้องร้องจนแสบไส้, Thai Definition: เสียงดังในกระเพาะอาหารเนื่องจากความหิว |
ป่าวร้อง | (v) proclaim, See also: declare, Syn. ป่าว, ประกาศ, ป่าวประกาศ, Example: ชายหนุ่มคนหนึ่งใส่เสื้อผ้าปอนๆ เดินป่าวร้องไปตามบาทวิถีที่เนืองแน่นไปด้วยฝูงชน, Thai Definition: ร้องบอกให้รู้ทั่วกัน |
ฟ้องร้อง | (v) sue, See also: accuse, charge, file, make a prosecution, bring charge against, Syn. กล่าวโทษ, ฟ้อง, ฟ้องคดี, Example: เขาถูกฟ้องร้องกรณีหลีกเลี่ยงภาษีเงินได้ ซึ่งศาลได้พิจารณาปรับเป็นเงินหนึ่งล้านบาท, Thai Definition: กล่าวหาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง โดยมีคำขอให้ศาลพิจารณาพิพากษา |
ร้องฎีกา | (v) petition, Thai Definition: ทูลเกล้าฯ ถวายฎีการ้องทุกข์ |
ร้องเพลง | (v) sing, See also: sing a song, Syn. ขับร้อง, ร้อง, Ant. ฟังเพลง, Example: บรรดาหลานๆ ร่วมกันร้องเพลงเพื่ออวยพรให้คุณปู่เป็นรายการสุดท้าย, Thai Definition: เปล่งเสียงเป็นคำร้องและทำนองต่างๆ |
ละครร้อง | (n) musical comedy, See also: lyric drama, Example: ละครร้องและละครพูดเป็นละครแบบใหม่ที่ปรับปรุงจากละครตะวันตก, Count Unit: คณะ, โรง, Thai Definition: ละครคล้ายละครพูด ดำเนินเรื่องด้วยการร้องเพลง คล้ายละครรำ แต่เรื่องแสดงมักเป็นเรื่องปัจจุบัน |
หวีดร้อง | (v) scream, See also: screech, Syn. กรีดร้อง, Example: ผู้คนตื่นตระหนกส่งเสียงหวีดร้องพากันวิ่งหนีแตกกระเจิง, Thai Definition: ร้องเสียงดัง |
การขอร้อง | (n) asking, See also: request, begging, entreaty, beseeching, Example: การขอร้องอย่างสุภาพช่วยให้เหล่าผู้ชุมนุมลดความรุนแรงลงได้ |
การร้องขอ | (n) request, See also: supplication, entreaty, begging, asking, Example: รัฐบาลได้รับการร้องขอจากประชาชนให้ลดภาษีนำเข้าของรถยนต์, Thai Definition: การขอเป็นทางการ |
ร้องทุกข์ | (v) complain, See also: air one's grievance, make a complaint, petition, Syn. ร้องเรียน, Example: ชาวนาชาวสวนต่างร้องทุกข์กันอยู่เนืองๆ เนื่องจากหนูทำลายทรัพย์สินและพืชพันธุ์ธัญญาหาร, Thai Definition: บอกความทุกข์เพื่อขอให้ช่วยเหลือ |
ร้องเรียก | (v) call, Syn. เรียก, กู่เรียก, Example: บริเวณตลาดท่าช้างกำลังพลุกพล่าน แม่ค้าแม่ขายร้องเรียกลูกค้ากันเอ็ดอึง, Thai Definition: ส่งเสียงเรียกเพื่อให้มา |
ร้องเรียน | (v) complain, See also: petition, request, make an accusation to one's superior, appeal, Syn. ร้องทุกข์, Example: สำนักพิมพ์ยักษ์ใหญ่ยื่นหนังสือร้องเรียน กล่าวหาเจ้าหน้าที่กรมวิชาการไม่ให้ความเป็นธรรมในการตรวจหนังสือ, Thai Definition: เสนอเรื่องราว |
เรียกร้อง | (v) call for, See also: demand, cry out for, make a demand for, require, Example: คนกรุงเทพฯ เรียกร้องให้รัฐบาลแก้ปัญหาจราจร, Thai Definition: แสดงความต้องการให้ให้หรือให้กระทำ |
เสียงร้อง | (n) cry (e.g. of a bird), Example: เสียงร้องของนกตาฟางตัวนี้เพราะดีมาก |
เสียงร้อง | (n) cry (e.g. of a bird), Example: เสียงร้องของนกตาฟางตัวนี้เพราะดีมาก |
การขับร้อง | (n) singing, Syn. การร้องเพลง, Example: วิชาการขับร้องเป็นวิชาที่ฉันชอบที่สุด |
การร้องไห้ | (n) cry, See also: weep, Syn. การร้องไห้ฟูมฟาย, การร่ำไห้, Example: การร้องไห้ไม่ได้ช่วยอะไรดีขึ้นเลย |
นางร้องไห้ | (n) weeper, Example: เขาจ้างนางร้องไห้มาร้องไห้ในงานศพของญาติตามประเพณี, Count Unit: คน, Thai Definition: หญิงที่ทำหน้าที่หรือรับจ้างร้องไห้คร่ำครวญถึงคุณความดีของผู้ตาย |
ยื่นคำร้อง | (v) file a complaint, See also: file a petition, Example: เขาไปยื่นคำร้องกับงานบัณฑิตเพื่อขอเก็บข้อมูลประกอบการทำวิทยานิพนธ์, Thai Definition: ยื่นคำขอต่อทางราชการ เพื่อให้ทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้แก่ผู้ร้อง |
การฟ้องร้อง | (n) accusation, See also: prosecution, charge, informing against, suing, bringing a suit against, filing a suit agai, Syn. การร้องทุกข์, Example: กฎหมายของฟิลิปปินส์ได้ระบุชัดไว้ว่าการฟ้องร้องจะมีขึ้นได้ก็ต่อเมื่อนำตัวจำเลยมาขึ้นศาลด้วยเท่านั้น |
คำร้องทุกข์ | (n) petition, See also: appeal, request, supplication, entreaty, plea, suit, Example: เจ้าพนักงานรับฟังคำร้องทุกข์ของประชาชน, Thai Definition: ถ้อยคำกล่าวหาที่ผู้เสียหายแจ้งพนักงานสอบสวนว่ามีผู้กระทำผิด ซึ่งทำให้ตนเสียหาย โดยเจตนาจะให้ผู้กระทำผิดได้รับโทษ, Notes: (กฎหมาย) |
คำร้องเรียน | (n) complaint, See also: case, suit, Syn. คำร้อง, คำร้องทุกข์, Example: นายกรัฐมนตรีได้รับคำร้องเรียนจากราษฎรเรื่องป่าไม้ในการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรที่จังหวัดขอนแก่น, Thai Definition: ข้อความที่ยื่นเรื่องราวต่อราชการเมื่อได้รับความเดือดร้อน |
คำเรียกร้อง | (n) request, See also: claim, demand, call, appeal, Syn. ข้อเรียกร้อง, ข้อกำหนด |
ธรณีร้องไห้ | (n) name of Thai classical song, Syn. นางตานีร้องไห้ |
พร้องเพรียก | (v) shout (out), See also: call (out), cry (out), Syn. เรียก, ร้องเรียก, Example: นกน้อยใหญ่ต่างพร้องเพรียกกันเสียงระงมไปทั่วท้องทุ่ง |
กระดูกร้องได้ | น. ผลสะท้อนของฆาตกรรมที่ทำให้จับตัวผู้กระทำผิดมาลงโทษได้ คล้ายกับว่ากระดูกของผู้ตายร้องบอก. |
กระเรียนร้อง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น, กาเรียนร้อง ก็ว่า. |
กระเรียนร้องตัวผู้ | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น. |
กระเรียนร้องตัวเมีย | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น. |
กะพร่องกะแพร่ง | (-พฺร่อง-แพฺร่ง) ว. มีบ้างขาดบ้าง, ไม่สมํ่าเสมอ |
กะพร่องกะแพร่ง | ไม่เต็มที่, ไม่ครบถ้วน, ไม่พอเพียง, (ตามที่คาดหมายไว้). |
กะร่องกะแร่ง | ว. ร่องแร่ง, อาการที่ห้อยติดอยู่จวนจะหลุด. |
กะหร่อง | ว. ผอมอย่างไม่มีเรี่ยวแรงคล้ายคนขี้โรคหรือติดยาเสพติด. |
กาเรียนร้อง | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น, กระเรียนร้อง ก็ว่า. |
ขอร้อง | ก. ขอให้ช่วยเหลือ, ขอให้ทำตามที่ขอ. |
ขับร้อง | ก. ร้องเพลง. |
ขาดตกบกพร่อง | ก. ไม่ครบ, ไม่บริบูรณ์, ยังไม่เรียบร้อย. |
เข้าร่องเข้ารอย, เข้ารอย | ว. ถูกทาง. |
คำร้อง ๑ | น. คำขอที่ยื่นต่อทางราชการ เพื่อให้ทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้แก่ผู้ร้อง. |
คำร้อง ๒ | น. คำประพันธ์สำหรับขับร้อง, เนื้อร้อง หรือ บทร้อง ก็ว่า. |
คำร้องทุกข์ | น. การที่ผู้เสียหายได้กล่าวหาต่อเจ้าหน้าที่ ว่ามีผู้กระทำความผิดขึ้น จะรู้ตัวผู้กระทำความผิดหรือไม่ก็ตามซึ่งกระทำให้เกิดความเสียหายแก่ผู้เสียหาย และการกล่าวหาเช่นนั้นได้กล่าวโดยมีเจตนาจะให้ผู้กระทำความผิดได้รับโทษ. |
ช้างร้อง | น. ชื่อดอกไม้ไฟชนิดหนึ่ง จุดมีเสียงดังเหมือนเสียงช้างร้อง. |
ท้องร่อง | น. ทางน้ำที่เป็นทางยาวระหว่างสันดินของร่องสวนร่องผัก เพื่อขังน้ำไว้รดต้นพืช. |
ธรณีร้องไห้ | ดู ธรณีกันแสง. |
นมบกอกพร่อง | น. ลักษณะของหญิงที่ชายทำให้เสียความบริสุทธิ์แล้วทอดทิ้งไป เช่น แลมันทำชู้แล้วมันทอดหญิงนั้นเสีย ท่านว่ามันทำให้ลูกหลานท่านนมบกอกพร่อง ให้ไหมชายผู้เลมิดพ่อแม่ผู้เถ้าผู้แก่นั้นโดยขนาฎ (สามดวง), มักใช้เพี้ยนไปเป็น นมตกอกพร่อง. |
นางร้องไห้ | น. หญิงผู้ดี มีฐานะเป็นเจ้าจอม เจ้าจอมมารดาในพระมหากษัตริย์ที่สวรรคต ได้รับการจัดมาร้องไห้หน้าพระบรมโกศซึ่งทรงพระบรมศพเป็นการอาลัย. |
นำร่อง | ก. นำเรือกำปั่นหรือเรือใหญ่และกินนํ้าลึก เช่นเรือสินค้า เข้าหรือออกจากท่าเรือตามร่องน้ำในระยะซึ่งอาจมีอันตรายแก่การเดินเรือ, เรียกเจ้าพนักงานผู้ทำหน้าที่เช่นนั้น ว่า พนักงานนำร่อง หรือเรียกสั้น ๆ ว่า นำร่อง, เรียกเรือเล็กที่ใช้ในการนำร่อง ว่า เรือนำร่อง |
นำร่อง | โดยปริยายหมายถึง การริเริ่มหรือทดลองทำไปก่อน เช่น โครงการนำร่อง. |
เนื้อร้อง | น. คำประพันธ์สำหรับขับร้อง, คำร้อง หรือ บทร้อง ก็ว่า. |
บกพร่อง | ก. ไม่ครบบริบูรณ์เท่าที่ควรมีควรเป็น เช่น ข้อความบกพร่อง ทำงานบกพร่อง. |
บทร้อง | น. คำประพันธ์สำหรับขับร้อง, คำร้อง หรือ เนื้อร้อง ก็ว่า. |
ใบเบิกร่อง | น. เอกสารที่กรมศุลกากรออกให้แก่เรือที่มีระวางจดทะเบียนตํ่ากว่า ๒๐๐ ตัน ที่ออกจากท่าเรือกรุงเทพฯ เพื่อส่งมอบให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่เมื่อนำเรือผ่านด่านศุลกากรที่ปากนํ้าสมุทรปราการ. |
ป่าวร้อง | ก. ร้องบอกให้รู้ทั่วกัน. |
ผอมกะหร่อง | ว. ผอมไม่มีเรี่ยวแรง. |
พร่อง | (พฺร่อง) ว. ไม่เต็มตามอัตราเพราะลดหรือขาดไป เช่น ตักแกงพร่อง ทำงานไม่พร่อง กินไม่รู้จักพร่อง. |
พร่อง | (พฺร่อง) ก. ยุบไปหรือลดไปจากเดิม เช่น น้ำในโอ่งพร่องไป ข้าวสารในกระสอบพร่องไป. |
พร้อง | (พฺร้อง) ก. พูด, กล่าว, ร้อง. |
พร้องเพรียก | (-เพฺรียก) ก. ร้องเรียก. |
เพรียกพร้อง | (-พฺร้อง) ก. ร้องเซ็งแซ่ (ใช้แก่นกเป็นต้น). |
ฟ้องร้อง | ก. กล่าวโทษ, กล่าวหา. |
ฟ้าร้อง | น. เสียงที่เกิดขึ้นเนื่องจากอากาศขยายตัวเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วเพราะความร้อนที่เกิดจากฟ้าแลบ. |
ร่อง | น. รอยลึกเป็นช่องทางไปตามยาว, สันดินระหว่างท้องร่องสำหรับเพาะปลูก เช่น ร่องผัก ร่องมัน. |
ร่องตีนช้าง | น. ส่วนล่างของฝาเรือนทรงไทย อยู่ระหว่างธรณีประตูหรือธรณีหน้าต่างกับพื้น มีลักษณะเป็นช่อง ๆ กรุด้วยแผ่นไม้กระดาน. |
ร่องน้ำ | น. ทางนํ้าลึกที่เรือเดินได้. |
ร่องมด | น. สีขาวหรือดำเป็นขีดยาวตามท้องสัตว์แต่คางตลอดก้น, รอยเป็นทางยาวบนเขาสัตว์จำพวกกวาง. |
ร่องรอย | น. เค้าเงื่อนหรือเบาะแสที่ปรากฏเป็นแนวบอกให้รู้. |
ร่องส่วย | ก. หย่ง. |
ร้อง | ก. เปล่งเสียงดัง, โดยปริยายหมายถึงออกเสียงดังเช่นนั้น เช่น ฟ้าร้อง จักจั่นร้อง, (ปาก) ใช้หมายความว่า ร้องเพลง ร้องไห้ ก็มี แล้วแต่คำแวดล้อมบ่งให้รู้ เช่น เพลงนี้ร้องเป็นไหม อย่าร้องให้เสียน้ำตาเลย. |
ร้องกระจองอแง | ก. อาการที่เด็กหลาย ๆ คนร้องไห้พร้อม ๆ กัน. |
ร้องขอ | ก. ขอเป็นทางการ. |
ร้องงอแง | ก. ร้องอ้อน (ใช้แก่เด็กเล็ก ๆ ). |
ร้องฎีกา | ก. ทูลเกล้าฯ ถวายฎีการ้องทุกข์. |
ร้องทุกข์ | ก. บอกความทุกข์เพื่อขอให้ช่วยเหลือ. |
ร้องบอก | ก. เปล่งเสียงบอกให้รู้. |
ร้องเพลง | ก. ขับลำเป็นทำนองต่าง ๆ, บางทีก็ใช้ว่า ร้อง คำเดียว. |
precatory words | คำแสดงความปรารถนา, คำขอร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
petition | ๑. คำร้องทุกข์๒. การร้องทุกข์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
petition | คำร้องทุกข์, เรื่องราวร้องทุกข์ [ ดู complaint ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
petition of rights | คำร้องขอสิทธิฟ้องร้องรัฐ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
petitioner | ผู้ร้องทุกข์, ผู้ยื่นเรื่องราวร้องทุกข์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
procedure, grievance | วิธีพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
papers, second | เอกสารประกอบ (คำร้องขอแปลงสัญชาติ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lawful damages | ค่าเสียหายที่เรียกร้องได้ตามกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
law, gag | กฎหมายลิดรอนเสรีภาพ (ในการพูด การเขียน และการร้องทุกข์) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lay damages | ค่าเสียหายที่โจทก์เรียกร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
litigation | การฟ้องร้องคดี, การเป็นความ, คดีความ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
revendication | การเรียกร้องคืน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
recovery agent | ตัวแทนเรียกร้องส่วนรับคืน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
right of claim | สิทธิเรียกร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reclaim | เรียกร้องคืน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
right of petition | สิทธิร้องทุกข์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rugitus; borborygmus; sound, gurgling | เสียงท้องร้อง, เสียงลำไส้บีบตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
return for no claim | เบี้ยประกันภัยจ่ายคืนเมื่อไม่มีการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
right of action | สิทธิฟ้องร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rights, petition of | คำร้องขอสิทธิฟ้องร้องรัฐ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
request | คำขอ, คำร้องขอ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
requisition | ๑. การเรียกเกณฑ์๒. การขอ, คำขอเบิก, หนังสือร้องขอ๓. การขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดน, การขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามมลรัฐ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
small claim | ข้อเรียกร้องรายย่อย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
statute-barred debt | หนี้ที่พ้นกำหนดฟ้องร้องตามกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
suffragette | สตรีที่เรียกร้องสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
suffragist | ผู้เรียกร้องสิทธิเลือกตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sound, gurgling; borborygmus; rugitus | เสียงท้องร้อง, เสียงลำไส้บีบตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
solicit | ร้องขอ, ชักชวน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
solicitation | การชักชวน, การร้องขอ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
suppliant | ผู้ยื่นคำร้องทุกข์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
subordination | ๑. การอยู่ใต้บังคับ, การอยู่ใต้บังคับบัญชา๒. สิทธิหรือข้อเรียกร้องชั้นรอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
second papers | เอกสารประกอบ (คำร้องขอแปลงสัญชาติ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
song | ๑. เพลงร้อง, เพลง๒. บทร้อยกรอง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
oral request | คำร้องขอด้วยวาจา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
occupying claimant | ผู้เรียกร้องในฐานะผู้ครอบครองทรัพย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
articles of the peace | คำร้องขอต่อศาลให้มีคำสั่งคุ้มครองความปลอดภัย (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
application by motion | คำขอโดยทำเป็นคำร้อง (ต่อศาล) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
amount claimed | จำนวนเงินที่เรียกร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
act of state | การกระทำของรัฐ (ที่จะฟ้องร้องไม่ได้) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
attachment of a claim | การอายัดสิทธิเรียกร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
joinder of claims | การรวมข้อเรียกร้อง, การรวมประเด็นฟ้อง [ ดู joinder of causes of action ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
quitclaim | การสละสิทธิเรียกร้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
brontophobia | อาการกลัวฟ้าร้อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
borborygmus; rugitus; sound, gurgling | เสียงท้องร้อง, เสียงลำไส้บีบตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
monody | เพลงร้องเดี่ยวไว้อาลัย [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
motion | ๑. ญัตติ๒. คำร้อง, คำขอ (ต่อศาล) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
matured claim | สิทธิเรียกร้องที่ถึงกำหนด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
motion | ๑. ญัตติ (ก. ทั่วไป)๒. คำร้อง, คำขอ (ต่อศาล) (ป. วิ. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
menaces, demand with | เรียกร้องโดยข่มขู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
chorus | นักร้องหมู่ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Grievance procedure | วิธีการร้องทุกข์ [เศรษฐศาสตร์] |
music sheet | โน๊ตเพลง , แผ่นกระดาษซึ่งมีทั้งเนื้อร้องและทำนองกำกับ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Novelty | ความใหม่ สิ่งใหม่ ที่เป็นหลักการสำคัญในข้อร้องสิทธิในสิทธิบัตรการประดิษฐ์, ความใหม่ สิ่งใหม่ ที่เป็นหลักการสำคัญในข้อร้องสิทธิในสิทธิบัตรการประดิษฐ์, Example: ต้องไม่เคยปรากฏแก่สาธารณะมาก่อนไม่ว่าวิธีใด ๆ ก่อนที่ทำการยื่นขอรับสิทธิบัตรเรื่องนั้น ๆ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Property and loan fund “Type 4 Fund” | กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้อง (กอง 4) , กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้อง (กอง 4), Example: กองทุนรวมที่ บลจ. จัดตั้งขึ้นเพื่อจำหน่ายหน่วยลงทุนแก่ผู้ลงทุนสถาบันโดยมีวัตถุประสงค์หลักในการนำเงินที่ได้รับจากการจำหน่ายหน่วยลงทุนไปซื้อหรือเช่าอสังหาริมทรัพย์ และจัดหาประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าว หรือลงทุนในสิทธิเรียกร้องหรือในทรัพย์สินอื่นเพื่อแก้ไขปัญหาในระบบสถาบันการเงิน [ตลาดทุน] |
Workers' compensation claims | ข้อเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนสำหรับลูกจ้าง [TU Subject Heading] |
Women singers | นักร้องสตรี [TU Subject Heading] |
Women jazz singers | นักร้องเพลงแจซซ์สตรี [TU Subject Heading] |
Automobile insurance claims | ข้อเรียกร้องจากประกันรถยนต์ [TU Subject Heading] |
Choirs (Music) ; Choral organizations | คณะนักร้องประสานเสียง [TU Subject Heading] |
Choral societies | สมาคมนักร้องเพลงประสานเสียง [TU Subject Heading] |
Choses in action | สิทธิเรียกร้องเกี่ยวกับทรัพย์ [TU Subject Heading] |
Claim vs [ name of country or party agiant which claim are brought ] | ข้อเรียกร้องต่อ [ ชื่อประเทศหรือคู่กรณี ] [TU Subject Heading] |
Claims | ข้อเรียกร้อง [TU Subject Heading] |
Complaint letters | จดหมายร้องทุกข์ [TU Subject Heading] |
Complaints (Administrative procedure) | การร้องทุกข์ (วิธีพิจารณาคดีปกครอง) [TU Subject Heading] |
Complaints (Civil procedure) | การร้องทุกข์ (วิธีพิจารณาความแพ่ง) [TU Subject Heading] |
Complaints (Criminal procedure) | การร้องทุกข์ (วิธีพิจารณาความอาญา) [TU Subject Heading] |
Complaints against | การร้องทุกข์ต่อ [TU Subject Heading] |
Consumer complaints | การร้องทุกข์โดยผู้บริโภค [TU Subject Heading] |
Convention on limitation of liability for Maritime Claims (1976) | อนุสัญญาว่าด้วยการจำกัดความรับผิดสำหรับสิทธิเรียกร้องทางทะเล (ค.ศ. 1976) [TU Subject Heading] |
Disability insurance cliams | ข้อเรียกร้องจากประกันทุพพลภาพ [TU Subject Heading] |
Folk singers | นักร้องเพลงพื้นเมือง [TU Subject Heading] |
Grievance arbitration | การชี้ขาดข้อร้องทุกข์ [TU Subject Heading] |
Librettos ; Libretto | บทร้อง [TU Subject Heading] |
Male singers | นักร้องชาย [TU Subject Heading] |
Petition, Right of | สิทธิในการร้องทุกข์ [TU Subject Heading] |
Sight-singing | การร้องโน้ต [TU Subject Heading] |
Singers | นักร้อง [TU Subject Heading] |
Singing | การร้องเพลง [TU Subject Heading] |
Texts | เนื้อร้อง [TU Subject Heading] |
Trials, litigation, etc. | การพิจารณาและตัดสินคดี, การฟ้องร้อง, ฯลฯ [TU Subject Heading] |
Unemployment insurance claimants | ผู้เรียกร้องสิทธิประกันสังคมการว่างงาน [TU Subject Heading] |
Verse drama, Thai | บทละครร้องไทย [TU Subject Heading] |
Vocal music | เพลงร้อง [TU Subject Heading] |
Vocal scores with guitar | โน้ตเพลงร้องประกอบกีตาร์ [TU Subject Heading] |
Agreement | การที่รัฐที่ผู้จะไปประจำตำแหน่งในรัฐนั้นได้ตกลง เห็นชอบกับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอชื่อให้เป็นผู้แทนทางการทูต อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้ บัญญัติไว้ว่า1. รัฐผู้ส่งไม่จำเป็นต้องทำให้เป็นที่แน่นอนว่า รัฐผู้รับได้ให้ความเห็นชอบแล้ว สำหรับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอจะแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐนั้น2. รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลแก่รัฐผู้ส่งในการปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตซึ่งรอการถวายสารตราตั้งจะต้องเริ่มดำเนิน การเพื่อเดินทางไปยังรัฐผู้รับในเรื่องนี้ มีตัวอย่างไม่น้อยที่รัฐผู้รับปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบด้วยเหตุผลบางอย่าง นับตั้งแต่อ้างว่า การเสนอชื่อผู้รับการแต่งตั้งได้กระทำกะทันหันเกินไป และมิได้แจ้งข้อเท็จจริงมาก่อน หรือว่าผู้ที่ได้รับการเสนอให้เป็นผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเคยกล่าวตำหนิ วิพากษ์รัฐผู้รับ หรือผู้รับการเสนอชื่อมมีภรรยาเป็นชาวยิว หรือผู้รับการเสนอชื่อถือศาสนาโรมันคาทอลิก หรือผู้นั้นเคยปฏิบัติไม่ดีต่อชนชาติของรัฐผู้รับ หรือผู้นั้นในขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างถูกฟ้องร้อง ถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกง เป็นต้นกล่าวโดยย่อ agr?ment คือ การให้ความเห็นชอบของรัฐผู้รับ แก่บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐผู้ส่งให้เป็นผู้แทนทางการทูตนั่นเอง [การทูต] |
Amendments to the Charter of the United Nations | การแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรของสหประชาชาตินั้น เปิดโอกาสให้มีการแก้ไขได้โดยสมัชชาสหประชาชาติหรือโดยที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ของสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งอาจจะประชุมกัน ณ วันเวลาและสถานที่ตามแต่จะมีการตกลงกัน โดยคะแนนเสียง 2 ใน 3 ส่วนของสมัชชาใหญ่ และโดยคะแนนเสียงของสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงใด ๆ 7 เสียง ในที่ประชุมใหญ่นั้น สมาชิกแต่ละประเทศของสหประชาชาติจะมีเสียงลงคะแนน 1 เสียงการที่จะแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติให้เป็นผลสำเร็จ จะต้องได้เสียงสนับสนุนจากสมาชิกเป็นจำนวน 2 ใน 3 ส่วนของสมาชิกทั้งหมดในสมัชชาหรือจากที่ประชุมใหญ่ เมื่อการแก้ไขกฎบัตรเป็นที่รับรองแล้ว จะมีผลบังคับต่อสมาชิกทั้งหมดของสหประชาชาติ ก็ต่อเมื่อได้รับการสัตยาบันจากสมาชิก 2 ใน 3 ส่วนของจำนวนทั้งหมด รวมทั้งการรับรองจากสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงด้วยอาทิเช่น ในสมัยประชุมที่ 18 ของสมัชชาใหญ่ การแก้ไขกฎบัตรได้รับการรับรองเห็นชอบด้วย โดยผ่านข้อมติที่ 1991 (XVII) ในการแก้ไขครั้งนี้ได้เพิ่มจำนวนสมาชิกของคณะมนตรีความมั่นคงจาก 11 เป็น 15 คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจาก 18 เป็น 27 ประเทศ การแก้ไขดังกล่าวได้รับการลงมติรับรองเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1963 ในปัจจุบันนี้ ประเทศสมาชิกเป็นจำนวนมากกำลังเรียกร้องให้มีการปรับจำนวนสมาชิกถาวรของคณะ มนตรีความมั่นคงเสียใหม่ [การทูต] |
Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] |
Conselho Nacional da Resistencia Timorense (National Council of Timorese Resistance) | " เป็นองค์กรที่ต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชของชาวติมอร์ตะวันออกจาก อินโดนีเซีย โดยมีนายซานานา กุสเมา (Xanana Gusmao) เป็นผู้นำคนสำคัญ " [การทูต] |
Diplomatic Privileges and Immunities | เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตที่ได้ให้แก่เจ้า หน้าที่ทางการทูต โดยถือว่าบุคคลดังกล่าวเป็นผู้แทนส่วนตัวของประมุขของรัฐ เหตุผลที่ให้มีการคุ้มกันทางการทูต ก็เพราะถือว่ารัฐบาลหนึ่งใดก็ตามจะถูกกีดกันขัดขวางด้วยการจับกุม หรือกีดกันมิให้ผู้แทนของรัฐบาลนั้นปฏิบัติหน้าที่ในความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศนั้นมิได้ ถ้าหากเห็นว่าผู้แทนนั้นมีพฤติกรรมหรือพฤติการณ์ที่ก้าวร้าวซึ่งรัฐผู้รับ ไม่อาจรับได้ก็ชอบที่รัฐผู้รับจะขอร้องให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวผู้แทนของตนกลับ ประเทศได้ อนึ่ง การที่สถานเอกอัครราชทูตได้รับความคุ้มกันจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ เพราะต้องการให้บรรดาผู้แทนทางการทูตเหล่านั้น รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาได้มีโอกาสมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการปฏิบัติหน้าที่เป็นตัวแทนผลประโยชน์ของประเทศของเขาอนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตมีบทบัญญัตินิยามคำว่า เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตในเรื่องต่างๆ ไว้มากพอสมควร เช่น เรื่องสถานที่ของคณะผู้แทนทางการทูต รวมทั้งบรรณสารและเอกสาร เรื่องการอำนวยความสะดวกให้แก่การปฏิบัติงานของคณะผู้แทน และเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายรวมทั้งการคมนาคมติดต่อ เป็นต้น [การทูต] |
Eisenhower Doctrine | ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ [การทูต] |
Gerakan Aceh Merdeka (Free Aceh Movement) | ขบวนการอาเจห์เสรี " เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวเรียกร้องเอกราชจากอินโดนีเซีย ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2519 มี นาย Hasan Tiro เป็นหัวหน้า " [การทูต] |
Good Offices และ Mediation | วิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยฉันมิตร คำว่า Good Offices หมายถึง การช่วยเป็นสื่อกลาง ส่วน Mediation หมายถึง การไกล่เกลี่ยศัพท์ทั้งสองนี้หมายถึงวิธีการที่จะระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐ โดยฉันมิตร กล่าวคือ ในกรณีข้อพิพาทซึ่งการเจรจากันทางการทูตไม่สามารถตกลงกันได้ง่าย ๆ ดังนั้น รัฐที่สามอาจยื่นมือเข้าช่วยเป็นสื่อกลาง หน้าที่ในการนี้มิใช่ออกความเห็นหรือวินิจฉัยชี้ขาดว่าใครถูกใครผิดในกรณี ข้อพิพาท หากเป็นแต่เพียงแสวงหาลู่ทางที่จะระงับข้อพิพาทจะต้องมีให้น้อยที่สุดเท่า ที่จะทำได้ และถือว่าเป็นกาดรกระทำฉันมิตร (Friendly act) คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธข้อเสนอได้โดยไม่ถือว่าเป็นความผิดทางการ เมือง หรือคู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจขอร้องให้ช่วยเป็นสื่อกลาง หรือให้ช่วยไกล่เกลี่ย ตามธรรมดาการช่วยเป็นสื่อกลางนั้นเป็นเพียงการเข้าช่วยงานพื้นฐาน หรือให้มีการเริ่มต้นการเจรจาเท่านั้น ส่วนงานเจรจาที่จะกระทำโดยตรงกว่าจะมีลักษณะเป็นการไกล่เกลี่ย แต่ในทางปฏิบัติไม่ค่อยมีการคำนึงกันนักถึงความแตกต่างจริงๆ ระหว่างวิธีทั้งสอง คู่พิพาทฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดอาจปฏิเสธไม่ยอมรับการไกล่เกลี่ยไม่ว่าเวลาใดก็ได้ จะเห็นได้ว่า การช่วยเป็นสื่อกลางกับการไกล่เกลี่ยนั้นแตกต่างกัน คือ ในกรณีการช่วยเป็นสื่อกลาง ฝ่ายที่สามจะกระทำแต่เพียงช่วยให้มีการหันหน้าเข้าเจรจากันระหว่างคู่พิพาท ส่วนในกรณีการไกล่เกลี่ย ฝ่ายที่สามพยายามจัดให้มีการเจรจากันจริง ๆ ตามมูลฐานข้อเสนอของตน ฝ่ายที่เสนอช่วยเป็นสื่อกลางหรือช่วยไกล่เกลี่ยนั้น อาจจะมาจากประเทศที่สาม หรือจากองค์การระหว่างประเทศ หรือจากบุคคลธรรมดาคนหนึ่งก็ได้ [การทูต] |
Generalized System of Preferences | ระบบการให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป " มีที่มาจากการประชุมว่าด้วยการค้าและการพัฒนาขององค์การ สหประชาชาติ (UNCTAD) เมื่อปี พ.ศ. 2510 ภายใต้ระบบนี้ประเทศที่พัฒนาแล้วจะเปิดโอกาสให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถส่ง สินค้าไปขายแข่งขันในประเทศพัฒนา โดยการยกเว้นหรือลดหย่อนอัตราภาษีขาเข้าให้แก่สินค้าที่อยู่ในข่ายได้รับ สิทธิพิเศษ โดยไม่เรียกร้อง ผลประโยชน์ตอบแทนใด ๆ " [การทูต] |
Immunity from Jurisdiction of Diplomatic Agents | ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 31 ว่า?1. ให้ตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางอาญาของรัฐผู้รับ ตัวแทนทางการทูตยังจะได้อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่ง และทางการปกครองของรัฐผู้รับด้วย เว้นแต่ในกรณีของก) การดำเนินคดีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ที่ตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับนอกจากตัวแทนทางการทูตครอบครองไว้ในนามของ รัฐผู้ส่งเพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนข) การดำเนินคดีเกี่ยวกับการสืบมรดกซึ่งเกี่ยวพันถึงตัวแทนทางการทูตในฐานะผู้ จัดการมรดกโดยพินัยกรรม ผู้จัดการมรดกโดยศาลตั้งทายาท หรือผู้รับมรดกในฐานะเอกชน และมิใช่ในนามของรัฐผู้ส่งค) การดำเนินคดีเกี่ยวกับกิจกรรมใดในทางวิชาชีพ หรือพาณิชย์ ซึ่งตัวแทนทางการทูตได้กระทำในรัฐผู้รับ นอกเหนือจากการหน้าที่ทางการของตน 2. ตัวแทนทางการทูตไม่จำเป็นต้องให้การในฐานะพยาน 3. มาตรการบังคับคดี ไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยมีเงื่อนไขว่ามาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้โดยปราศจากการละเมิด ความละเมิดมิได้ในตัวบุคคลของตัวผู้แทนทางการทูต หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต 4. ความคุ้มกันของตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ ไม่ยกเว้นตัวแทนทางการทูตจากอำนาจศาลของรัฐผู้ส่ง?เกี่ยวกับความคุ้มกันตัว แทนทางการทูตจากขอบเขตของอำนาจศาลทางแพ่ง อาจกล่าวได้อย่างกว้างๆ ว่า ตัวแทนทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทน ทางการทูตนั้นได้รับการยกเว้นจากอำนาจของศาลแพ่งในท้องถิ่นคือตัวแทนทางการ ทูตจะถูกฟ้องมิได้ และถูกจับกุมมิได้เกี่ยวกับหนี้สิน รวมทั้งทรัพย์สินของเขา เช่น เครื่องเรือน รถยนต์ ม้า และสิ่งอื่นๆ ทำนองนั้นก็จะถูกยืดเพื่อใช้หนี้มิได้ ตัวแทนทางการทูตจะถูกกีดกันมิให้ออกไปจากรัฐผู้รับในฐานะที่ยังมิได้ชดใช้ หนี้สินของเขานั้นก็มิได้เช่นกัน อนึ่ง นักกฎมายบางกลุ่มเห็นว่า ตัวแทนทางการทูตจะถูกหมายศาลเรียกตัว (Subpoenaed) ไม่ได้ หรือแม้แต่ถูกขอร้องให้ไปปรากฎตัวเป็นพยานในศาลแพ่งหรือศาลอาญาก็ไม่ได้ อย่างไรก็ดี ถ้าหากตัวแทนทางการทูตสมัครใจที่จะไปปรากฏตัวเป็นพยานในศาล ก็ย่อมจะทำได้ แต่จะต้องขออนุมัติจากรัฐบาลในประเทศของเขาก่อน [การทูต] |
International Atomic Energy Agency | สำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ ในการประชุมระหว่างประเทศ ที่ประชุมได้รับรองกฎข้อบังคับขององค์การนี้เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1956 ณ สำนักงานใหญ่ขององค์การสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก รัฐที่ร่วมลงนามเป็นสมาชิกขององค์การอย่างน้อย 18 ประเทศ รวมทั้งประเทศดังต่อไปนี้ คือ แคนาดา ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และ สหรัฐอเมริกา อย่างน้อยสามประเทศได้มอบสัตยาบันสาร ยังผลให้กฎข้อบังคับดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1956วัตถุประสงค์ขององค์การพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ คือ1. ต้องการเร่งรัดและส่งเสริมให้พลังงานปรมาณูมีส่วนเกื้อกูลมากขึ้นต่อ สันติภาพ สุขภาพ และความไพบูลย์มั่งคั่งตลอดทั่วโลก2. ทำให้เป็นที่แน่ใจว่า ความช่วยเหลือที่องค์การจัดให้หรือตามคำขอร้องขององค์การ หรือที่อยู่ใต้ความควบคุมดูแลขององค์การนั้น จะต้องไม่ถูกนำไปใช้เพื่อส่งเสริมความมุ่งหมายทางทหารแต่อย่างใดองค์การ ดำเนินงานผ่านทางองค์กรต่าง ๆ เหล่านี้ คือ1. ที่ประชุมระหว่างประเทศ (General Conference) ประกอบด้วยสมาชิกของสำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศทั้งหมด มีการประชุมสมัยสามัญประจำปี และอาจมีการประชุมสมัยพิเศษเท่าที่จำเป็น ที่ประชุมจะพิจารณาแลกเปลี่ยนความเห็นในปัญหาต่าง ๆ ที่อยู่ภายในกรอบของกฎข้อบังคับ2. คณะผู้ว่าการ (Board of Governors) ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด 23 ประเทศ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ขององค์การ3. คณะเจ้าหน้าที่ขององค์การมีหัวหน้าเรียกว่าอธิบดี (Director General) ซึ่งคณะผู้ว่าการแต่งตั้งขึ้นตามความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ และมีอายุอยู่ในตำแหน่ง 4 ปี ตัวอธิบดีถือเป็นหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารขององค์การ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย [การทูต] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
International Labor Organization | คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] |
International Trade Organization | องค์การการค้าระหว่างประเทศ มีหน้าที่ดำเนินงานเกี่ยวกับความตกลงทั้วไปว่าด้วยภาษี ศุลกากรและการค้าระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ ต้องการขยายการค้าของโลกให้กว้างขวางขึ้น ซึ่งเป็นการช่วยให้มีมาตรฐานการครองชีพสูงขึ้น ขจัดการกีดกันการค้า หรือพยายามลดให้เหลือน้อยที่สุด เช่น การตั้งข้อจำกัดโควต้า เป็นต้น ตัดทอนภาษีศุลกากรทั่วโลกให้ต่ำลง ดูแลตลาดวัตถุดิบให้เป็นไปอย่างยุติธรรม และพยายามควบคุมด้านการค้าของการร่วมมือกันทางธุรกิจ (Cartels) จุดมุ่งหมายสำคัญที่สุดคือ ป้องกันมิให้กลับไปสู่การดำเนินการทางการค้าที่ตัดราคากันอย่างหั่นแหลก เหมือนเมื่อระยะปี ค.ศ. 1930 ถึง 1939 นั่นเองอย่างไรก็ดี ตั้งแต่มีการปฏิบัติใช้ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้ามาจนบัด นี้ ก็ได้รับผลสำเร็จตามแนววัตถุประสงค์อย่างมากมาย เช่น มีประเทศสมาชิกหลายสิบประเทศลดภาษีศุลกากรและรักษาระดับภาษีอย่างมีเสรีภาพ แต่ละปี ประเทศสมาชิกจะได้ยินได้ฟังเสียงร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการค้า ละเมิดกฎเกณฑ์ของความตกลงทั่วไป แล้วเสียงร้องเรียนดังกล่าวก็ได้รับการแก้ไขจนเป็นที่พึงพอใจของทุกฝ่าย เป็นต้น นอกจากนี้ ได้มีการปรับปรุงและดัดแปลงข้อกำหนดของความตกลงทั่วไป ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา [การทูต] |
Inviolability of the Mission Premises | คือความละเมิดมิได้จากสถานที่ของคณะผู้แทน หมายความว่า บ้านของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสถานที่อื่น ๆ ที่ใช้เพื่อจุดประสงค์ทางการทูต รวมถึงตึกรามใด ๆ ที่ผู้แทนทางการทูตใช้ดำเนินงานทางการทูตในตำแหน่งที่ของเขา ไม่ว่าสถานที่นั้น ๆ จะเป็นทรัพย์สินของรัฐบาลของเขาหรือเป็นของเขาเอง หรือแม้แต่เป็นสถานที่ที่ให้ตัวแทนทางการทูตเช่า เหล่านี้จะได้รับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งสิ้น นอกจากนี้ เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใด โดยเฉพาะเจ้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่เก็บภาษี หรือเจ้าหน้าที่ศาล จะเข้าไปในที่อยู่หรือทำเนียบของผู้แทนทางการทูตมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมให้กระทำเช่นนั้นอย่างไรก็ดี หากเกิดอาชญากรรมขึ้นภายในสถานที่ของคณะผู้แทน หรือในที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต โดยบุคคลซึ่งมิได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทูตผู้นั้นจะต้องมอบตัวอาชญากรดังกล่าวให้แก่รัฐบาลท้องถิ่นตาม ที่ขอร้อง กล่าวโดยทั่วไป ตัวแทนทางการทูตจะยอมให้ที่พักพิงในสถานทูตแก่อาชญากรใด ๆ ไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีที่เห็นว่าอาชญากรผู้นั้นตกอยู่ในอันตรายที่จะถูกฆ่าจากฝูงชน ที่ใช้ความรุนแรง ก็จะยอมให้เข้าไปพักพิงได้เป็นกรณีพิเศษในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้กล่าวไว้ในข้อ 22 ดังนี้ ?1. สถานที่ของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนของรัฐผู้รับไม่อาจเข้าไปในสถานที่นั้นได้ เว้นแต่ด้วนความยินยอมของหัวหน้าคณะผู้แทน 2. รัฐผู้รับมีหน้าที่พิเศษที่จะดำเนินการทั้งมวลที่เหมาะสม เพื่อคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทนจากการบุกรุกหรือความเสียหายใด ๆ และที่จะป้องกันการรบกวนใด ๆ ต่อความสงบสุขของคณะผู้แทน หรือการทำให้เสื่อมเสียเกียรติ 3. สถานที่ของคณะผู้แทน เครื่องตกแต่ง และทรัพย์สินอื่นของคณะผู้แทนในสถานที่นั้น ตลอดจนพาหนะในการขนส่งของคณะผู้แทน ให้ได้รับความคุ้มกันจาการค้น การเรียกเกณฑ์ การอายัด หรือการบังคับคดี ? [การทูต] |
ใบเบิกร่อง | [baiboēkrǿng] (n) EN: port clearance permit |
ใบคำร้องขอ | [bai khamrøngkhø] (n, exp) EN: application form |
บกพร่อง | [bokphrøng] (v) EN: defect ; default ; neglect ; lack ; be deficient ; be wanting ; be remiss |
บกพร่อง | [bokphrǿng] (adj) FR: défectueux ; imparfait |
บกพร่อง | [bokphrǿng] (adv) EN: defectively ; faultily |
บทร้อง | [botrøng] (n) EN: lyrics |
ชำรุดบกพร่อง | [chamrutbokphrǿng] (v) EN: have a defect |
ชำรุดบกพร่อง | [chamrutbokphrǿng] (adj) EN: defective FR: défectueuyx |
โดยไม่ทิ้งร่องรอยไว้ | [dōi mai thing rǿngrøi wai] (x) EN: without trace FR: sans laisser de trace |
ฟ้าร้อง | [fārøng] (n) EN: thunder FR: tonnerre [ m ] |
ฟ้าร้อง | [fārøng] (v) EN: thunder FR: tonner ; il y a du tonnerre |
ฟ้องร้อง | [føngrøng] (v) EN: sue ; accuse ; charge ; file ; make a prosecution ; bring charge against ; indict ; prosecute FR: mettre en accusation ; mettre en examen ; poursuivre |
หายไปโดยไม่ทิ้งร่องรอยไว้ | [hāi pai dōi mai thing rǿngrøi wai] (v, exp) EN: vanish into the air ; disappear without trace FR: disparaître sans laisser de trace |
โห่ร้อง | [hōrøng] (v) EN: acclaim ; cheer ; hail ; clamour ; applaud FR: acclamer ; pousser des vivats |
โห่ร้องยินดี | [hōrøng yindī] (v, exp) EN: acclaim |
จดหมายร้องเรียน | [jotmāi røngrīen] (n, exp) EN: complaint letter |
จุดบกพร่อง | [jut bokphrǿng] (n, exp) EN: error |
แก้ข้อบกพร่อง | [kaē khø bokphrǿng] (v, exp) EN: repair a defect |
การฟ้องร้อง | [kān føngrøng] (n) EN: accusation ; prosecution ; charge ; suit ; informing against ; suing ; filing of an action ; bringing a suit against ; filing a suit against |
การโห่ร้อง | [kān hōrøng] (n) FR: acclamation [ f ] |
การประกวดร้องเพลง | [kān prakūat røngphlēng] (n, exp) FR: concours de chant [ m ] |
การเรียกร้อง | [kān rīekrøng] (n) EN: claim |
การเรียกร้องค่าเสียหาย | [kān rīekrøng khāsīahāi] (n, exp) EN: claim for damages |
การร้องเจี๊ยบ ๆ | [kān røng jīep-jīep] (n, exp) FR: piaulement [ m ] |
การร้องเพลง | [kān røng phlēng] (n) EN: song ; singing FR: chanson [ f ] ; chant [ m ] |
การร้องเรียน | [kān røngrīen] (n) EN: complaint |
การสละสิทธิ์เรียกร้อง | [kān sala sit rīekrøng] (n, exp) EN: waiver of claims |
การศึกษานำร่อง | [kānseuksā namrǿng] (n, exp) EN: pilot study FR: étude pilote [ f ] |
การยื่นคำร้อง | [kān yeūn khamrøng] (n, exp) EN: filing a petition |
กะหร่อง | [karǿng] (adj) EN: emaciated ; lean ; thin ; spare ; skinny |
กะหร่องก่อง | [karǿngkǿng] (adj) EN: emaciated ; lean ; thin ; spare ; skinny |
กะหร่องเทศ | [karǿngthēt] (adj) EN: thin ; emaciated ; sickly |
คำขอร้อง | [khamkhørøng] (n) EN: request ; application |
คำเรียกร้อง | [kham rīek-røng] (n) EN: request ; claim ; demand ; call ; appeal FR: requête [ f ] |
คำร้อง | [khamrøng] (n) EN: petition; request ; appeal ; complaint ; entreaty ; application ; motion FR: pétition [ f ] ; requête [ f ] ; plainte [ f ] |
คำร้องขอ | [khamrøngkhø] (n) EN: petition ; appeal ; entreaty ; application ; request FR: requête [ f ] ; demande [ f ] |
คำร้องขอให้ส่งผู้ร้ายข้ามแดน | [khamrøngkhø hai song phūrāi khām daēn] (n, exp) EN: extradition request |
คำร้องขอวีซ่า | [khamrøngkhø wīsā] (n, exp) EN: application for a visa FR: demande de visa [ f ] |
คำร้องเรียน | [kham røngrīen] (n, exp) EN: complaint ; case ; suit |
คำร้องทุกข์ | [khamrøngthuk] (n) EN: petition ; appeal ; request ; supplication ; entreaty ; plea ; suit FR: requête [ f ] |
คำร้องตกไป | [khamrøng tokpai] (n, exp) EN: application turned down |
ข้อบกพร่อง | [khø bokphrǿng] (n, exp) EN: fault ; flaw ; error ; blunder ; defect ; weakness ; drawback ; shortcoming |
ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นประจำ | [khø bokphrǿng thī koētkheun prajam] (n, exp) EN: typical mistake |
คนนำร่อง | [khon namrǿng] (n) EN: pilot FR: pilote [ m ] |
ข้อเรียกร้อง | [khørīekrøng] (n) EN: demand ; claim |
ข้อเรียกร้องที่ไม่มีเหตุผล | [khørīekrøng thī mai mī hētphon] (n, exp) EN: unfounded claim |
ขอร้อง | [khørøng] (v) EN: ask ; request ; implore ; beg FR: demander ; solliciter ; faire appel à ; quémander |
ข้อร้องทุกข์ | [khø røngthuk] (n) EN: grievance |
โครงการนำร่อง | [khrōngkān namrǿng] (n, exp) EN: pilot project FR: projet pilote [ m ] ; projet-pilote [ m ] |
ความชำรุดบกพร่อง | [khwām chamrutbokphrǿng] (n) EN: defect |
acclaim | (n) เสียงโห่ร้อง, See also: เสียงแซ่ซ้อง, เสียงตะโกนด้วยความชื่นชม |
acclaim | (vt) โห่ร้อง, See also: เปล่งเสียงแสดง, ตะโกน, ปรบมือให้, โห่ร้องต้อนรับ |
accuse | (vt) ฟ้องร้อง, See also: ฟ้องศาล, Syn. charge |
accused | (adj) ซึ่งถูกกล่าวหาหรือฟ้องร้อง, Syn. arraigned, indicted, blamed |
accuser | (n) ผู้กล่าวหา, See also: โจทก์, ผู้ฟ้อง, ผู้ฟ้องร้อง, Syn. prosecutor, plaintiff, objector |
actionable | (adj) ซึ่งฟ้องร้องได้ |
adjure | (vt) อ้อนวอน, See also: ร้องขอ |
alto | (n) เสียงร้องเพลงระดับต่ำที่สุดของผู้หญิง |
antiphon | (n) เพลงที่ร้องโต้ตอบ |
appeal | (n) คำขอร้อง |
appeal | (vi) ร้องขอ, See also: อ้อนวอน, Syn. entreat, request, beg |
ask | (vi) ขอร้อง, See also: ขอ, Syn. request, beg |
ask | (vt) ขอร้อง, See also: ขอ |
agitate for | (phrv) เรียกร้อง, See also: ปลุกระดมให้มี, Syn. campaign for |
air one's grievances | (idm) ร้องเรียน |
at someone's request | (idm) ตามคำขอร้องของ |
backdown | (n) การยกเลิกข้อเรียกร้อง, See also: การเปลี่ยนแปลงข้อเสนอดั้งเดิม, Syn. retraction |
banshee | (n) วิญญาณหญิงที่ร้องครวญครางเตือนว่าคนในบ้านกำลังจะตาย |
baritone | (n) น้ำเสียงร้องของผู้ชาย, Syn. brass |
bark | (vi) ทำเสียงร้องคล้ายเสียงสุนัข |
barker | (n) คนร้องเรียกผู้ชม (ให้เข้าชมการแสดง), Syn. tout |
bass | (n) เสียงร้องต่ำ, See also: เสียงร้องต่ำที่สุด, Syn. basso, Ant. tenor |
basso | (n) นักร้องเสียงเบส, See also: นักร้องโอเปร่าเสียงเบส, Syn. bass, Ant. toner |
bawl | (vt) ตะโกนหรือร้องเสียงดัง, See also: ตะคอก, ตวาด, Syn. shout, yell, Ant. whisper |
bawl | (n) ตะโกนหรือร้องเสียงดัง, See also: ตะคอก, ตวาด, Syn. yell |
beg | (vt) ขอร้อง, See also: อ้อนวอน |
begone | (int) คำร้องบอกให้ไปให้พ้นทันที |
bell | (n) เสียงร้องหรือเสียงหอนของสุนัขล่าเนื้อ |
bell | (vi) ร้องหรือหอน |
bellow | (vt) แผดเสียง, See also: ร้อง, ตะโกน, ตวาด, คำราม, ตะคอก, ตะเบ็ง, Syn. howl, yell, Ant. whisper |
bemoan | (vt) ร้องคร่ำครวญ, See also: รำพัน, ครวญคราง, โอดครวญ, Syn. bewail, cry |
beseech | (vt) ขอความกรุณา, See also: ขอร้อง, อ้อนวอน, วิงวอน, Syn. beg, ask |
bewail | (vt) เศร้าโศกเสียใจ, See also: เสียใจ, ร้องไห้, โศกเศร้าถึง, คร่ำครวญ, Syn. grieve, lament, mourn |
birdsong | (n) เสียงร้องเป็นเพลงของนก |
bleat | (n) เสียงร้องของแพะ, แกะหรือลูกวัว |
bleat | (vi) (แพะ, แกะ)ทำเสียงร้อง |
blubber | (vi) ร้องไห้ฟูมฟาย, Syn. sob |
blubber | (vt) พูดขณะร้องไห้ ทำให้คำพูดขาดเป็นช่วงๆ |
boo | (int) เสียงร้องแสดงความตกใจหรือประหลาดใจ |
boohoo | (int) คำแทนเสียงร้องในภาษาเขียน |
breathy | (adj) ซึ่งร้องเพลงหรือพูดมีเสียงลมหายใจ |
burden of a song | (n) การร้องประสานเสียง |
buzz | (n) เสียงเหมือนผึ้งร้องหึ่งๆ, See also: กระซิบกระซาบ, เสียงพึมพำ, Syn. bumble |
bye | (int) บ๊ายบาย, See also: เสียงร้องอำลา, คำลาก่อน, Syn. cheerio, farewell |
bark out | (phrv) ตะโกน, See also: ร้องสั่ง, ร้องถาม |
bawl out | (phrv) ตะโกนใส่, See also: ร้องใส่, ร้องออกมา |
be onto | (phrv) เฝ้าบอก, See also: คอยบอก, ขอร้อง, Syn. go on at |
beg for | (phrv) ร้องขอ (บางสิ่ง), See also: ขอ, อ้อนวอน, อุทธรณ์, Syn. appeal for |
beg of | (phrv) ขอร้อง (อย่างสุภาพ), See also: วิงวอน |
bellow out | (phrv) ส่งเสียงร้อง (เฉพาะสัตว์), See also: ส่งเสียงคำราม, คำราม |
acclaim | (อะเคลม') vt., n. เปล่งเสียงด้วยความ ยินดี, โห่ร้องต้อนรับ, สนับสนุนด้วยการโห่ร้อง, เสียงไชโยโห่ร้อง -acclamation n., Syn. hail |
accompaniment | (อะคอม' พะนิเมินทฺ) n. สิ่งเสริม, สิ่งที่ตามมา, สิ่งประกอบ, ร้องตาม, ร้องร่วม, คลอเสียง, Syn. supplement |
accompanist | (อะคัม' พะนิสทฺ) n. ผู้ร้องร่วม, ผู้ร้องตาม, Syn. accompanyist |
accusatory | (อะคิว' ซะโทรี) adj. ซึ่งกล่าวหา, ซึ่งฟ้องร้อง, Syn. accusing, accusative |
accused | (อะคิวซดฺ') adj., n. ซึ่งถูกกล่าวหาหรือฟ้องร้อง, ผู้ถูกกล่าวหาหรือฟ้องร้อง |
action | (แอค' เชิน) n. การกระทำ, การปฏิบัติ, การดำเนินการ, ท่าทาง, ขั้นตอน, การฟ้องร้อง, ฤทธิ์, อำนาจ, เหตุการณ์, การใช้กำลัง, การเดิน, การเคลื่อนไหว, การรบ, การพนัน, การกระทำที่ตื่นเต้น. -actions ความประพฤติ |
actionable | (แอค' เชินนะเบิล) adj.ซึ่งฟ้องร้องได้ |
adjure | (อะจัวร์') vt. ให้สาบาน, ขอร้อง, อ ้อนวอน. -adjuration n., -adjuratory adj. |
ahoy | (อะฮอย') interj. เสียงร้องเรียกเรือ |
alto | (แอล' โท) n., (pl. -tos) เสียงร้องเพลงระดับต่ำที่สุดของผู้หญิง, เสียงสูงสุดของชาย, นักร้องหญิงเสียงต่ำ, ส่วนของเสียงทุ้ม, ไวโอลินเสียงทุ้ม. -adj. มีเสียงทุ้ม, เกี่ยวกับเครื่องดนตรีที่มีเสียงสูงสุดเป็นสอง |
anthem | (แอน' เธม) n. เพลงสดุดี, เพลงสวด, เพลงชาติ, เพลงสรรเสริญพระบารมี, เพลงสรรเสริญที่ร้องโดยคนหลายคน. -vt. สดุดีด้วยเพลงดังกล่าว, Syn. hymn, song, psalm, chant |
antiphon | (แอน' ทิฟอน) n. เพลงหรือโคลงกลอนที่ร้องตอบ, เพลงสวด หรือโคลงสรรเสริญที่ร้องตอบโต้ลับกัน, โคลงกลอนนำหรือส่งท้าย (chant) |
antiphony | (แอนทิฟ' โฟนี) n. การขับร้องสลับกันในหมู่นักร้อง, โคลงกลอนที่ร้องสลับกัน, antiphon, การขับร้องตอบโต้กัน. -antiphonic (al) adj. (singing, antiphon) |
appeal | (อะพีล') n., vi. อุทธรณ์, ร้องขอ, อ้อนวอน, เรียกร้อง, ใช้, อาศัย, ดึงดูดใจ, ซาบซึ้ง. -appealer n., Syn. request, call |
appellant | (อะเพล'เลินทฺ) n. ผู้อุทธรณ์, ผู้ร้องขอ, ผู้อ้อนวอน |
application | (แอพพลิเค'เชิน) n. การสมัคร, ความเกี่ยวข้อง, ความมีประโยชน์, การใช้, การร้องขอ, คำร้องขอ, ใบสมัคร, ความสนใจอย่างใกล้ชิด, การประยุกต์, โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับรูปแบบหนึ่งรูปแบบใด, Syn. administration, utility, request |
apply | (อะไพล') vt., vi. ใช้, ใช้เป็นประโยชน์, ประยุกต์, แผ่บน, สมัคร, ขอ, ร้องเรียน, บอกกล่าว, |
arf | (อาร์ฟ) interj. เสียงร้องของสุนัข abbr. acute renal failure |
askrask | (อาสคฺ) vt., vi. ถาม, ถามข่าว, ขอร้อง, ขอ, เชื้อเชิญ, ซักถาม, Syn. entreat, crave |
baritone | (บาร์'ริโทน) n. เสียงทุ้มของนักร้องชาย, นักร้องที่มีเสียงดังกล่าว, เครื่องดนตรีขนาดใหญ่รูปร่างคล้าย trumpet. adj. เกี่ยวกับ baritone |
bark | (บาร์ค) { barked, barking, barks } n. เปลือกไม้ vt. ลอกหนัง, ลอกเปลือก, ลอกผิว, แช่เปลือกในสารละลายฟอกเปลือกไม้ , เห่า, ลั่น (ปืน) , ดัง, ร้อง |
barytone | (บาร์'ริโทน) n. เสียงทุ้มของนักร้องชาย, นักร้องที่มีเสียงดังกล่าว, เครื่องดนตรีขนาดใหญ่รูปร่างคล้าย trumpet. adj. เกี่ยวกับ baritone |
bass | (เบส) n. เสียงต่ำของผู้ชาย, ท่วงทำนองเสียงต่ำ, นักร้องเสียงต่ำ, ดนตรีเสียงต่ำ adj. เกี่ยวกับเสียงต่ำ, See also: bassdrum n. กลองใหญ่ |
bawl | (บอล) vt., vi. ตะโกน, ตะคอก, ตวาด, ร้องเสียงดัง n. เสียงตะโกน, Syn. roar, bellow |
behest | (บิเฮสทฺ') n. คำสั่ง, คำขอร้อง, พระบรมราชโองการ, Syn. command |
bell | (เบล) { belled, belling, bells } n. ระฆัง, กระดิ่ง, เสียงระฆัง vt. ทำให้บวมคล้ายระฆัง, ติดระฆัง vi. มีรูปร่างคล้ายระฆัง, ดังสนั่นหวั่นไหว, ร้องตะโกน -Conf. belle |
bellow | (เบล'โล) { bellowed, bellowing, bellows } vi. คำราม, ตะโกน, แผดเสียงร้อง, ดังสนั่นหวั่นไหว, See also: bellower n. |
belt | (เบลทฺ) { belted, belting, belts } n. เข็มขัด, สายคาดเอว, สาย, ทางโค้ง, ทางรถไฟฟ้า, ดื่มอึกใหญ่, การโจมตี, แนว, เทือก vt. รัดเข็มขัด, คาดสาย, ใช้สายคาด, ใช้เข็มขัดหรือสายคาดตี, ตี, ร้อง (เพลง) เสียงดัง, Syn. girdle |
bemoan | (บิโมน') { bemoaned, bemoaning, bemoans } v. คร่ำครวญ, ร้องไห้สะอึกสะอื้น แสดงความสงสารต่อ, Syn. weep, Ant. rejoice |
beseech | (บิซีช') { besought/beseeched, besought/beseeched, beseeching, beseeches } vt., vi. อ้อนวอน, ขอร้อง, ขอความกรุณา, See also: beseecher n., Syn. solicit |
bespeak | (บิสพีค') { bespoke, bespoke, bespeaking, bespeaks } vt., n. (การ) ถามหา, กล่าว, ว่า, แสดงให้เห็น, บอกล่วงหน้า, จองล่วงหน้า, ขอร้อง, Syn. indicate, Ant. negate |
bewail | (บีเวล') { bewailed, bewailing, bewails } vt. แสดงความเสียใจต่อ, คร่ำครวญ, ร้องไห้, ระทมทุกข์กับ, See also: bewailment n. ดูbewail, Syn. lament, Ant. rejoice |
bleat | (บลีท) { bleated, bleating, bleats } n., v. (ร้อง) เสียงร้องแพะ ๆ (แพะ, แกะ, ลูกวัว) , ร้องคร่ำครวญ, การพูดโง่ ๆ, See also: bleater n. ดูbleat |
blubber | (บลับ'เบอะ) n. เปลวไขมันระหว่างผิวหนังและกล้ามเนื้อของปลาวาฬ, การร้องไห้สะอึกสะอื้น vi. ร้องไห้สะอึกสะอื้น adj. บวม, โป่งออก, เป็นมัน, See also: blubberer n., Syn. weep |
boo | (บู) { booed, booing, boos } interj., n. (การ) คำอุทานแสดงการเหยียดหยามการไม่เห็นด้วย, โห่ฮิ้ว vt. ร้องเสียงอุทานดังกล่าว |
boohoo | (บูฮู') { boohooed, boohooing, boohoos } vi. ร้องสะอึกสะอื้น -n. เสียงร้องสะอึกสะอื้น book (บุค) n. หนังสือ, ตำรา, หนังสืออ้างอิง, คัมภีร์, ภาค, เล่ม, แบบ, สมุดบัญชี, เนื้อเพลง, บทละคร, ถ้อยคำ, สมุดเช็ค, สมุดแสตมป์, สมุดรายชื่อ, สมุดบันทึก, บัญชี, บันทึก, บัญชีพนัน vt. ลงบัญช |
boon | (บูน) n. ผลประโยชน์ที่ได้รับ, บุญคุณ, คุณานุปการ, สิ่งที่เรียกร้องหรือต้องการ, เพื่อนร่วมสนุก adj. สนุกสนาน, สนุกเฮฮา, กรุณา, โอบอ้อมอารี, Syn. windfall, blessing |
bray | (เบร) { brayed, braying, brays } n. เสียงลาร้อง, เสียงแตรเป่า vt. ออกเสียงคล้ายลาร้อง, บดละเอียด, ทุบแตกละเอียด, ทาบาง |
bulbul | (บูล'บูล) n. นกร้องจำพวกไนติงเกล, |
buzz | (บัซ) { buzzed, buzzing, buzzes } n. เสียงผึ้งร้องหึ่ง, เสียงเครื่องบิน, เสียงพึมพำ, ข่าวลือ, รายงาน, เสียงกระซิบกระซาบ, เสียงโทรศัพท์ vi., vt. ทำเสียงหึ่ง, ร้องเสียงหึ่ง, กระซิบกระซาบ, โทรศัพท์, บินต่ำ |
cackle | (แคค'เคิล) { cackled, cackling, cackles } vi., n. (การ) ร้องเสียงกะต๊ากหรือกุ๊ก ๆ (ไก่) , หัวเราะกั๊กกั๊ก, พูดเสียงอึกทึก, ร้องเสียงที่แสดงการไม่เห็นด้วย, คำพูดเหลวไหล, See also: cackler n., Syn. cluck |
call | (คอล) { called, calling, calls } vt., vi., n. (การ) เรียก, ร้องเรียก, ร้องขอ, เรียกให้ตื่น, อ่านออกเสียง, เข้าใจว่า, ถือว่า, ให้ชื่อ, มีชื่อ, มีนามว่า, เรียกไพ่, โทรศัพท์, สั่ง, ออกคำสั่ง, ไปเยี่ยม, แวะรับ, ตำหนิ, เลียนแบบ, Syn. exclaim เรียกเป็นคำสั่งที่ใช้ในโปรแกรม หมายถึง การสั่งให้โอนย้ายการทำงานชั่วคราวจากโปรแกรมหลัก main program ที่ทำอยู่ ไปทำงานที่โปรแกรมย่อย subprogram เป็นการชั่วคราว เมื่อทำงาน ในโปรแกรมย่อยเสร็จแล้ว ก็จะส่งผลที่ได้กลับไปทำในโปรแกรมหลักต่อ โดยจะกลับไปเริ่มที่คำสั่งถัดจากคำสั่ง "call" นั้น |
caller | (คอล'เลอะ) n. คนร้องเรียก, สิ่งเรียก, สิ่งที่เรียกร้อง, ผู้ไปเยี่ยม, ผู้โทรศัพท์, ผู้เรียกประชุม |
calling | (คอล'ลิง) n. การเรียกร้อง, อาชีพ, การเยี่ยม, สิ่งดลใจ, การประชุม, Syn. vocation |
cantata | n. การร้องประสานเสียง |
cantatrice | (คานทะทรี'ชี) n. นักร้องอาชีพที่เป็นหญิง |
carol | (แคร์'รอล) { carolled, carolling, carols } n., v. (ร้อง) เพลง, เพลงคริสต์มาส, เพลงสดุดี, See also: carol l er n., Syn. sing |
case | (เคส) { cased, casing, cases } n. เรื่อง, กรณี, สภาพ, ข้อเท็จจริง, หลักฐานพยาน, ตัวอย่างที่เป็นจริง, รูปการ, โรค, คนไข้, ราย, ข้อสนับสนุน, การฟ้องร้อง, คดี, กล่อง, ลัง, หีบ, ปลอกหุ้ม, ปลอก, ซอง, อุปกรณ์บรรจุ, ถาดซองตัวพิมพ์ vt. บรรจุในกล่อง (ลัง, หีบ ฯลฯ) ห่อหุ้ม, ล้อม, ตรวจสอบดู - |
caterwaul | vi. ร้องเสียงคล้ายเสียงแมวที่ร้องหาคู่ |
caw | (คอ) n. เสียงร้องของอีกา vi. ร้องเสียงกา ๆ |
acclaim | (n) การโห่ร้อง, เสียงไชโยโห่ร้อง |
acclaim | (vi, vt) ร้องไชโย, โห่ร้อง |
acclamation | (n) การโห่ร้อง, เสียงไชโยโห่ร้อง |
accuser | (n) โจทก์, ผู้ฟ้องร้อง |
actionable | (adj) ซึ่งฟ้องร้องได้ |
adjuration | (n) การขอร้อง, การอ้อนวอน, การให้คำสัตย์, คำสั่ง |
adjure | (vt) อ้อนวอน, ขอร้อง, ให้คำสัตย์, สาบาน, สั่ง |
alto | (n) ระดับเสียงของนักร้อง |
appeal | (vt) ขอร้อง, อ้อนวอน, ร้องเรียน, อุทธรณ์, เรียกร้อง, ดึงดูดความสนใจ |
appellant | (adj) ซึ่งร้องเรียน, ซึ่งอุทธรณ์, ซึ่งอ้อนวอน |
appellant | (n) ผู้ร้องเรียน, ผู้อุทธรณ์, ผู้อ้อนวอน |
application | (n) ใบสมัครงาน, การสมัครงาน, คำร้องขอ, การแสดงความจำนง |
apply | (vi) สมัครงาน, ร้องเรียน, ขอ, ร้องขอ, บอกกล่าว |
arraign | (vt) ออกหมายเรียกตัว, กล่าวหา, นำตัวมาขึ้นศาล, ฟ้องร้อง |
arraignment | (n) การออกหมายเรียกตัว, การฟ้องร้อง, การกล่าวหา |
ask | (vi, vt) ถาม, ขอ, ขอร้อง, เชื้อเชิญ |
baritone | (n) เสียงนักร้องชาย |
bark | (vi) เห่า, ร้อง |
beg | (vt) ขอร้อง, ขอ, อ้อนวอน, ขอความกรุณา |
bellow | (vi) ตะโกน, คำราม, ร้องเหมือนวัว, แผดเสียง |
bemoan | (vt) ร้องคร่ำครวญ, ร้องครวญคราง |
beseech | (vt) อ้อนวอน, ขอร้อง, ขอความกรุณา |
bleat | (n) เสียงร้องอย่างแกะหรือแพะ |
bleat | (vi) ร้องอย่างแกะ, ร้องอย่างแพะ |
blubber | (n) การร้องไห้, การสะอึกสะอื้น, เปลวไขมันของปลาวาฬ |
bray | (n) เสียงลาร้อง, เสียงแตร |
bray | (vi) ร้อง(ลา), เป่าแตร |
cackle | (n) เสียงร้องของไก่ |
call | (vt) ร้อง, ร้องเรียก, เรียกหา, มาหา, เยี่ยมเยียน, โทรศัพท์ |
calling | (n) อาชีพ, การเรียกร้อง, การเยี่ยมเยียน, การไปมาหาสู่ |
carol | (vi) ร้องเพลงสดุดี, ร้องเพลงสรรเสริญ |
caw | (n) เสียงการ้อง |
caw | (vi) เสียงร้องของกา |
challenge | (n) การท้าทาย, คำท้า, การขอดวล, การร้องถาม |
challenge | (vt) ท้าทาย, ท้าดวล, เรียกร้อง |
chant | (n) การร้องเพลงในศาสนา, การสวดมนต์ |
chant | (vi) ร้องเพลง, สวดมนต์ |
charge | (n) หน้าที่, ความรับผิดชอบ, ภาระ, ค่าธรรมเนียม, มูลค่า, การฟ้องร้อง |
charger | (n) ม้าศึก, เครื่องอัดไฟ, ผู้กล่าวหา, ผู้ฟ้องร้อง, ผู้เรียกเก็บเงิน |
cheer | (n) การโห่ร้อง, ความยินดี, ความเบิกบาน, ความชื่นบาน |
cheer | (vi, vt) โห่ร้องยินดี, ทำให้ยินดี, ทำให้ชื่นบาน, ทำให้เบิกบาน |
chime | (vi) ร้องประสานเสียง |
chirp | (n) เสียงร้อง(นกหรือแมลง) |
choir | (n) คณะนักร้องประสานเสียงในโบสถ์ |
choral | (adj) เกี่ยวกับการร้องประสานเสียงในโบสถ์ |
chorister | (n) นักร้องประสานเสียงในโบสถ์ |
chorus | (n) การร้องประสานเสียง, ลูกคู่, นักร้องประสาน, คอรัส |
chorus | (vi) ร้องประสานเสียง |
claim | (n) สิทธิ, คำร้อง, การเรียกร้องสิทธิ์, การอ้างสิทธิ |
claim | (vt) อ้างสิทธิ, เรียกร้องสิทธิ์, ยืนยัน |