วิศวกร | (n) engineer, See also: mechanic, Example: ปัญหาสมองไหลในสาขาขาดแคลนมิได้มีเพียงวิศวกรเท่านั้น หากสาขาสำคัญอื่นๆ ก็เริ่มจะมีมากขึ้น, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ประกอบงานวิศวกรรม |
วิศวกรรม | (n) engineering, Example: ดร. การุญได้รับการติดต่อให้ไปนั่งเป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านวิศวกรรม ของบริษัทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ(จำกัด), Thai Definition: การนำความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมาประยุกต์ใช้ |
วิศวกรโยธา | (n) civil engineer, Ant. คน, Example: พ่ออยากให้ลูกเป็นวิศวกรโยธา ทั้งๆ ที่ลูกยืนยันว่าจะเรียนสถาปัตย์ |
วิศวกรไฟฟ้า | (n) electrical engineer, Ant. คน, Example: ในเรื่องรายละเอียดนั้น คงจะต้องทิ้งให้เป็นหน้าที่ของวิศวกรไฟฟ้าที่ต้องให้ความสนใจ |
วิศวกรช่างกล | (n) mechanical engineer, Ant. คน, Example: บริษัทของเรายังต้องการวิศวกรช่างกลอีกเป็นจำนวนมาก |
วิศวกรรมเคมี | (n) chemical engineering, Example: วิศวกรรมเคมีเป็นวิชาชีพที่มีบทบาทในอุตสาหกรรมการผลิตส่วนใหญ่, Thai Definition: สาขาวิชาหนึ่งของวิศวกรรมศาสตร์ที่นำความรู้ทางเคมีมาผนวกใช้, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
วิศวกรรมโยธา | (n) civil engineering, Example: ปัจจุบันนี้มีคนเลือกเรียนวิศวกรรมโยธาน้อยลง, Thai Definition: สาขาวิชาหนึ่งของวิศวกรรมศาสตร์ |
พันธุวิศวกรรม | (n) genetic engineering, Example: ปัจจุบันความก้าวหน้าทางพันธุวิศวกรรมเกิดขึ้นกับจุลินทรีย์เป็นส่วนใหญ่ แต่ในอนาคตอันใกล้เราจะสามารถใช้ปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์ได้, Thai Definition: เทคโนโลยีที่ทำการเคลื่อนย้ายยีน จากสิ่งมีชีวิตสายพันธุ์หนึ่งไปสู่สิ่งมีชีวิตอีกสายพันธุ์หนึ่ง เพื่อสร้างสิ่งมีชีวิตรูปแบบใหม่ |
วิศวกรรมไฟฟ้า | (n) electrical engineering, Example: คณะวิศวกรรมศาสตร์แห่งนี้เปิดสอนวิศวกรรมไฟฟ้าในปี 2535 เป็นรุ่นแรก, Thai Definition: สาขาวิชาหนึ่งของวิศวกรรมศาสตร์ที่นำความรู้ทางไฟฟ้ามาผนวกใช้, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
วิศวกรรมศาสตร์ | (n) engineering, Example: ผู้ที่จะสมัครตำแหน่งนี้ต้องมีวุฒิปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ สาขาเครื่องกลหรืออุตสาหการ, Thai Definition: วิชาที่เกี่ยวกับการนำความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมาประยุกต์ใช้, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
วิศวกรรมโลหการ | (n) metallurgical engineering, Thai Definition: สาขาวิชาหนึ่งของวิศวกรรมศาสตร์ |
วิศวกรอุตสาหการ | (n) industrial engineer, Ant. คน, Example: เขาเป็นวิศวกรอุตสาหการที่ฝากชีวิตไว้กับโรงงานนี้มาเป็นเวลา 15 ปีแล้ว |
วิศวกรเหมืองแร่ | (n) mining engineer, Ant. คน, Example: ความฝันที่อยากจะเป็นวิศวกรเหมืองแร่สำเร็จไปได้ครึ่งหนึ่งแล้ว เหลือเพียงแต่รอวันที่จะจบการศึกษา |
วิศวกรรมแหล่งน้ำ | (n) water resources engineering, Thai Definition: สาขาวิชาหนึ่งของวิศวกรรมศาสตร์ |
คณะวิศวกรรมศาสตร์ | (n) Faculty of Engineering, Example: คณะวิศวกรรมศาสตร์เปิดรับสมัครสอบคัดเลือกศึกษาต่อโครงการปริญญาโทภาคพิเศษ, Count Unit: คณะ, Thai Definition: ภาควิชาที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับการนำความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมาประยุกต์ใช้ มีหลายสาขา เช่น วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมเครื่องกล |
วิศวกรรมอุตสาหการ | (n) industrial engineering, Example: เขาได้รับทุนการศึกษาไปเรียนต่อปริญญาเอกด้านวิศวกรรมอุตสาหการ, Thai Definition: สาขาวิชาหนึ่งของวิศวกรรมศาสตร์ |
วิศวกรรมเครื่องกล | (n) mechanical engineering, Example: น้องของเขาจบวิศวกรรมเครื่องกลมาจึงไปทำงานในโรงงาน, Thai Definition: สาขาวิชาหนึ่งของวิศวกรรมศาสตร์ |
วิศวกรรมศาตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Engineering, See also: B.Eng., Syn. วศ.บ. |
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Science in Engineering, Example: พี่ยอดจบการศึกษาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เมื่อปี 2533 |
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Engineering, See also: B.Eng., Syn. วศ.บ. |
วิศวกรรมศาตรมหาบัณฑิต | (n) Master of Engineering, See also: M.Eng., Syn. วศ.ม. |
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | (n) Master of Engineering, See also: M. ENG., Syn. วศ.ม. |
วิศวกรรมศาตรดุษฎีบัณฑิต | (n) Doctor of Engineering, See also: D.Eng., Syn. วศ.ด. |
วิศวกร | (วิดสะวะกอน) น. ผู้ประกอบงานวิศวกรรม. |
วิศวกรรม | (วิดสะวะกำ) น. ชื่อเทวดาตนหนึ่ง ผู้ชำนาญในการช่างทั้งปวง, วิษณุกรรม วิสสุกรรม เวสสุกรรม หรือ เพชฉลูกรรม ก็เรียก. (ส.; ป. วิสฺสกมฺม, วิสฺสุกมฺม) |
วิศวกรรม | การนำความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมาประยุกต์ใช้. |
วิศวกรรมศาสตร์ | (วิดสะวะกำมะสาด) น. วิชาที่เกี่ยวกับการนำความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมาประยุกต์ใช้ มีหลายสาขา เช่น วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมเครื่องกล. |
เพชฉลูกรรม | (เพ็ดฉะหฺลูกำ) น. พระวิศวกรรม. |
รังสีเอกซ์ | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นอยู่ประมาณระหว่าง ๕ x ๑๐–๙ เมตร ถึง ๖ x ๑๐–๑๒ เมตร ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์ ทางวิศวกรรม เป็นต้น, รังสีเรินต์เกน หรือ เอกซเรย์ ก็เรียก |
วิทยาศาสตร์ประยุกต์ | น. วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่าง ๆ ที่มุ่งประโยชน์ในทางปฏิบัติยิ่งกว่าทางทฤษฎี เช่น แพทยศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์. |
วิษณุกรรม | น. พระวิศวกรรม, วิสสุกรรม เวสสุกรรม หรือ เพชฉลูกรรม ก็เรียก. |
วิสสุกรรม | น. พระวิศวกรรม, วิษณุกรรม เวสสุกรรม หรือ เพชฉลูกรรม ก็เรียก. |
เวสสุกรรม | น. พระวิศวกรรม, วิษณุกรรม วิสสุกรรม หรือ เพชฉลูกรรม ก็เรียก. |
เอกซเรย์ | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นอยู่ระหว่างประมาณ ๕ x ๑๐-๙ เมตร ถึง ๖ x ๑๐-๑๒ เมตร ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์ ทางวิศวกรรม เป็นต้น, รังสีเรินต์เกน หรือ รังสีเอกซ์ ก็เรียก |
วิศวกรรม | [witsawakam] (n) EN: engineering FR: ingénierie [ f ] ; génie civil [ m ] |
วิศวกรรมบัณฑิต | [witsawakam bandit] (n, exp) EN: bachelor of engineering |
วิศวกรรมไฟฟ้า | [witsawakam faifā] (n, exp) EN: electrical engineering FR: ingénierie électrique [ f ] |
วิศวกรรมการกีฬา | [witsawakam kānkīlā] (n, exp) EN: sport engineering |
วิศวกรรมการผลิต | [witsawakam kān phalit] (n, exp) EN: production engineering |
วิศวกรรมเคมี | [witsawakam khēmī] (n, exp) EN: chemical engineering FR: ingénierie chimique [ f ] ; génie chimique [ m ] |
วิศวกรรมเครื่องกล | [witsawakam khreūang kon] (n, exp) EN: mechanical engineering FR: ingénierie mécanique [ f ] |
วิศวกรรมศาสตร์ | [witsawakamsāt] (n) EN: engineering FR: ingénierie [ f ] |
วิศวกรรมอุตสาหการ | [witsawakam utsāhakān] (n, exp) EN: industrial engineering FR: ingénierie industrielle [ f ] |
วิศวกรรมโยธา | [witsawakam yōthā] (n, exp) EN: civil engineering FR: génie civil [ m ] |
วิศวกร | [witsawakøn] (n) EN: engineer ; mechanic FR: ingénieur [ m ] |
วิศวกรช่างกล | [witsawakøn chang kon] (n, exp) EN: mechanical engineer FR: ingénieur mécanicien [ m ] ; ingénieur en mécanique [ m ] |
วิศวกรชีวภาพ | [witsawakøn chīwaphāp] (n, exp) EN: bio-engineer FR: bioingénieur [ m ] |
วิศวกรไฟฟ้า | [witsawakøn faifā] (n, exp) EN: electrical engineer FR: ingénieur électricien [ m ] ; ingénieur en électricité [ m ] |
วิศวกรจราจร | [witsawakøn jarājøn] (n, exp) EN: traffic engineer |
วิศวกรเคมี | [witsawakøn khēmī] (n, exp) EN: chemical engineer FR: ingénieur chimiste [ m ] |
วิศวกรเครื่องกล | [witsawakøn khreūang kon] (n, exp) EN: mechanical engineer FR: ingénieur mécanicien [ m ] ; ingénieur en mécanique [ m ] |
วิศวกรโครงการ | [witsawakøn khrōngkān] (n, exp) EN: project engineer |
วิศวกรคุณภาพ | [witsawakøn khunnaphāp] (n, exp) EN: quality engineer |
วิศวกรความปลอดภัย | [witsawakøn khwām pløtphai] (n, exp) EN: safety engineer |
วิศวกรรถไฟ | [witsawakøn rotfai] (n, exp) EN: railway engineer |
วิศวกรอุตสาหการ | [witsawakøn utsāhakān] (n, exp) EN: industrial engineer FR: ingénieur industriel [ m ] |
วิศวกรโยธา | [witsawakøn yōthā] (n, exp) EN: civil engineer FR: ingénieur civil [ m ] |
agma | (แอก' มา) n. เครื่องจักร, วิศวกรรม, วิศกร |
cae | (ซีเออี) ย่อมาจาก computer-aided engineering (งานวิศวกรรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) หมายถึง การออกแบบคำนวณเชิงวิศวกรรมนั้น สามารถทำได้โดยอาศัยคอมพิวเตอร์กำหนดสูตรสำเร็จ และจะเปลี่ยนแปลงความต้องการได้เมื่อเปลี่ยนข้อมูล |
ce | (ซีอี) ย่อมาจาก customer engineer หมายถึง วิศวกรที่บริษัทที่ขายเครื่องคอมพิวเตอร์มักจัดไว้ให้บริการ หรือคำแนะนำในการใช้เครื่อง แก่ลูกค้า |
civil engineer | n. วิศวกรโยธา, See also: civil-engineering n. ดูcivil engineer |
computer aided engineerin | งานวิศวกรรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAE (อ่านว่า ซีเออี) หมายถึง การออกแบบคำนวณเชิงวิศวกรรมนั้น สามารถทำได้โดยอาศัยคอมพิวเตอร์กำหนดสูตรสำเร็จ และจะเปลี่ยนแปลงความต้องการได้เมื่อเปลี่ยนข้อมูล |
computer aided software e | วิศวกรรมซอฟต์แวร์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CASE (อ่านว่าเคส) หมายความถึง การนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการทำซอฟต์แวร์ |
computer aided system eng | วิศวกรรมระบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CASE (อ่านว่าเคส) หมายความถึง การสร้างโปรแกรมระบบโดอาศัยคอมพิวเตอร์ช่วย |
computer engineering | วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาหนึ่งในการศึกษาวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ โดยจะเน้นหนักในเรื่องของฮาร์ดแวร์ (hard ware) หรือส่วนตัวเครื่อง และระบบการทำงานภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น แผ่นวงจร (card) หน่วยประมวลผล หน่วยบันทึก ฯดู computer science เปรียบเทียบ |
computer personnel | บุคลากรคอมพิวเตอร์หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ หรือทำงานในศูนย์คอมพิวเตอร์ทั้งหมด เริ่มตั้งแต่ผู้จัดการ นักวิเคราะห์ระบบ วิศวกรคอมพิวเตอร์ นักเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง ผู้ควบคุมเครื่อง พนักงานเตรียมข้อมูล ๆ บางทีเรียกรวม ๆ ว่า นักคอมพิวเตอร์ (computerese) หรือ peoplewareมีความหมายเหมือน liveware |
customer engineer | วิศวกรประจำเครื่องใช้ตัวย่อว่า CE หมายถึงวิศวกรที่บริษัทที่ขายเครื่องคอมพิวเตอร์มักจัดไว้ให้บริการ หรือคำแนะนำในการใช้เครื่อง แก่ลูกค้า |
decryption | การถอดรหัสลับหมายถึงการถอดรหัส หรือแปลความของรหัส ให้เป็นข้อความที่เข้าใจได้ เช่นรหัส 3716543 มีความหมายว่า เป็นเลขประจำตัวของนักศึกษาที่เริ่มเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2537 อยู่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ฯ ดู encryption ประกอบ |
engineer | (เอนจินเนียร์') n. วิศวกร, นายช่าง, คนขับ, รถไฟ, ผู้สร้างเครื่องจักร, ทหารช่าง, ผู้จัดการ, ผู้มีความชำนาญ -vt. วางแผน, สร้าง, จัดการ, ควบคุม, See also: engineery n. ดูengineer, Syn. inventor |
engineering | (เอนจินเนีย'ริง) n. วิศวกรรม, การช่าง, การจัดการ, การวางแผนและควบคุมอย่างชำนิชำนาญ, Syn. maneuvering |
ieee | (ไอทริพเพิลอี) ย่อมาจาก Institute of Electrical and Electronic Engineers แปลว่า สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลdเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐานต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป |
institute of electrical a | สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัวย่อว่า IEEE (อ่านว่า ไอทริพเพิลอี) เป็นสถาบันที่ทำการศึกษาวิชาการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ซึ่งมีวิชาการด้านคอมพิวเตอร์รวมอยู่ด้วย เน้นในเรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีและการประมวลผลข้อมูลเพื่อการแลกเปลี่ยนสารสนเทศ และความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเป็นผู้กำหนดมาตรฐาน ต่าง ๆ ให้ สถาบันนี้เป็นที่รู้จักและยอมรับในวงการทั่วไป |
liveware | หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เป็นต้นว่า1. วิศวกรคอมพิวเตอร์ (computer engineer) ซึ่งมีหน้าที่ดูแลเรื่องการบำรุงรักษาตัวเครื่อง หรือเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับส่วนตัวเครื่อง (hardware) 2. นักวิเคราะห์ระบบ (system analyst) คือ ผู้ที่จะวิเคราะห์ระบบงานที่จะใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผล3. นักเขียนชุดคำสั่งหรือผู้ทำโปรแกรม (programmer) คือผู้ที่จะเขียนคำสั่งต่าง ๆ ให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตาม4. ผู้ควบคุมเครื่อง (operator) คือผู้ที่จะบังคับควบคุมคอมพิวเตอร์ ด้วยการกดปุ่มบนแผงหน้าปัด ให้ทำงานตามคำสั่ง5. ผู้เตรียมข้อมูล (data entry operator) หมายถึงผู้ที่นำข้อมูลลงในสื่อชนิดใดชนิดหนึ่ง เช่น แถบบันทึก จานบันทึกมีความหมายเหมือน peopleware |
peopleware | ส่วนบุคลากรในวงการคอมพิวเตอร์ หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ทั้งหมดไม่ว่าจะเป็น นักเขียนโปรแกรม (programmer) นักวิเคราะห์ระบบ (systems analyst) วิศวกร (engineer) ผู้เตรียมข้อมูล (data entry) รวมไปถึงผู้ควบคุมเครื่อง (operator) อย่างไรก็ตาม สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์แล้ว คำว่า "ผู้ใช้เครื่อง" (user) จะถูกรวมอยู่ในบุคลากรคอมพิวเตอร์ด้วย |
portable operating system | ใช้ตัวย่อว่า POSIX (อ่านว่า โพสซิกส์) เป็นระบบปฏิบัติการ UNIX รุ่นหนึ่ง ที่สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (IEEE) เป็นผู้พัฒนาขึ้น |
posix | (โพสซิกส์) ย่อมาจาก portable operating system interface for UNIX เป็นระบบปฏิบัติการ UNIX รุ่นหนึ่ง ที่สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (IEEE) เป็นผู้พัฒนาขึ้น |
reverse engineer | วิศวกรรมย้อนกลับหมายถึง กระบวนการถอดรหัสโปรแกรม โดยไม่ต้องดูรหัสที่โปรแกรมนั้นใช้อยู่ แต่ถอดจากการวิเคราะห์แยกแยะว่าโปรแกรมนั้น ๆ มีผลกระทบทางด้านฮาร์ดแวร์อย่างไร ทำงานอย่างไร |
software engineering | วิศวกรรมซอฟต์แวร์เป็นศัพท์ที่เพิ่งนำมาใช้เมื่อไม่นานมานี้ โดยกำหนดให้ถือว่า วิศวกรรมซอฟต์แวร์เป็นส่วนหนึ่งของวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (computer engineering) วิศวกรรมซอฟต์แวร์ นั้นจะเน้นเรื่องการพัฒนาซอฟต์แวร์ และการนำซอฟต์แวร์นั้น ๆ ไปทดลองใช้ มุ่งให้ความสำคัญในเรื่องการผลิตซอฟต์แวร์สำหรับคอมพิวเตอร์ชั้นดี รวมทั้งระเบียบวิธีการเขียนโปรแกรม และการบริหารโครงการต่าง ๆ เกี่ยวกับซอฟต์แวร์ |
system engineer | วิศวกรระบบหมายถึง วิศวกรที่มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์อาจมีหน้าที่ออกแบบ หรือวางข้อกำหนดในการซื้อหรือหาเครื่องให้เหมาะสมกับงานที่จะใช้คอมพิวเตอร์ ชี้แนะจุดผิดพลาดกว้าง ๆ เมื่อเครื่องทำงานผิดวัตถุประสงค์ รวมทั้งชี้แนะว่า ควรใช้เครื่องมากน้อยอย่างใดจึงจะคุ้มค่า หรืออาจหมายถึง การชี้แนะในเรื่องการจัดหาอุปกรณ์บางชนิดเพิ่มเติม เพื่อให้การทำงานเฉพาะอย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น |
technology | (เทคนอล'โลจี) n. วิชาที่เกี่ยวกับศิลปของอุตสาหกรรมวิทยาศาสตร์ประยุกต์วิศวกรรมศาสตร์และอื่น ๆ , ประยุกต์วิทยา, วิชาการ, เทคโนโลยี, See also: technologist n. |
virtual machine | เครื่องเสมือนหมายถึง ระบบปฏิบัติการที่ทำให้สามารถใช้ซอฟต์แวร์จำลองการทำงานของคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นได้ มักใช้สำหรับเป็นตัวทดสอบโปรแกรมซอฟต์แวร์ต่าง ๆ เช่นวิศวกรอาจคิดสร้างคอมพิวเตอร์ขึ้นมาใหม่ แล้วใช้ซอฟต์แวร์จำลองดูการทำงานของเครื่องใหม่นี้ (กำหนดให้เครื่องเสมือนนี้ลองทำโปรแกรมดู) เพื่อดูว่ามีปัญหาอย่างไรหรือไม่ ถ้ามี ก็จะได้จัดการแก้ไขปัญหาเหล่านั้น เสียก่อนที่จะลงมือผลิตเครื่องออกมาจริง ๆ |
理工学部 | [りこうがくぶ, rikougakubu] (phrase) คณะวิศวกรรมศาสตร์-วิทยาศาสตร์ |
工学士 | [こうがくし, kougakushi] (n) วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต |
工学科 | [こうがくか, kougakuka] (n) ภาควิชาวิศวกรรมศาสตร์ |
工学部 | [こうがくぶ, kougakubu] (n) คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
工学部 | [こうがくぶ, kougakubu] (n) คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
知識工学 | [ちしきこうがく, chishikikougaku] (n) วิศวกรรมข้อมูลความรู้ วิศวกรรมสารสนเทศ |
通信工学 | [つうしんこうがく, tsuushinkougaku] (n) วิศวกรรมสื่อสาร |
電気工学 | [でんきこうがく, denkikougaku] (n) วิศวกรรมไฟฟ้า |
電子工学者 | [でんしこうがくしゃ, denshikougakusha] (n) วิศวกรไฟฟ้า |
土木工学 | [どぼくこうがく, dobokukougaku] วิศวกรรมโยธา |
土木工学 | [どぼくこうがく, dobokukougaku] (n) วิศวกรรมโยธา |
土木工学者 | [どぼくこうがくしゃ, dobokukougakusha] (n) วิศวกรโยธา |
無線工学 | [むせんこうがく, musenkougaku] (n) วิศวกรรมวิทยุไร้สาย |
ロボット工学 | [ロボットこうがく, robotto kougaku] (n) วิศวกรรมหุ่นยนต์ |
遺伝子工学 | [いでんしこうがく, idenshikougaku] (n) วิศวกรรมพันธุศาสตร์ |
宇宙工学 | [うちゅうこうがく, uchuukougaku] (n) วิศวกรรมอวกาศ |
化学工学 | [かがくこうがく, kagakukougaku] (n) วิศวกรรมเคมี |
機械工学 | [きかいこうがく, kikaikougaku] (n) วิศวกรรมเครื่องกล |
経営工学 | [けいえいこうがく, keieikougaku] (n) วิศวกรรมการบริหาร |
エンジニア | [えんじにあ, enjinia, enjinia , enjinia] (n) วิศวกรรม |