สลบ | (v) become unconscious, See also: lose consciousness, faint, Ant. ฟื้น, Example: นายทหารคนนั้นไม่ได้ตาย เพียงแต่สลบเท่านั้น, Thai Definition: หมดความรู้สึกตัว |
สลบไสล | (v) be unconscious, See also: lose conscious, faint, swoon, pass out, sleep like tops, be lying unconscious, Syn. แน่นิ่ง, Example: เขาพูดขณะคิดถึงตอนถูกซุงทับเท้าจนสลบไสล ไม่มีทางหลีกหนี, Thai Definition: แน่นิ่งไม่ติงกาย |
สลบไสล | (adv) (sleep) like tops, See also: unconsciously, Syn. แน่นิ่ง, Example: ผมนอนสลบไสลอยู่ที่บ้านถึง 3 วันเต็มๆ, Thai Definition: แน่นิ่งไม่ติงกาย |
กรี๊ดสลบ | (v) scream, See also: shriek, squall, Example: ผู้ประกาศเพียงแค่ประกาศชื่อศิลปินเท่านั้น ผู้ชมในสนามก็กรี๊ดสลบ, Thai Definition: อาการที่แสดงว่าถูกใจอย่างยิ่ง, Notes: (สแลง) |
สลบเหมือด | (v) become unconscious, See also: lose conscious, faint, swoon, pass out, sleep like tops, be lying unconscious, Syn. สลบไสล, Example: เขาถูกตีจนสลบเหมือด |
ยาสลบ | น. สารเคมีที่ใช้ในการแพทย์เพื่อทำให้สลบ. |
สลบ | (สะหฺลบ) ก. อาการที่หมดความรู้สึก เช่น ถูกตีหัวจนสลบ เป็นลมล้มสลบ. |
สลบแดด | ก. อาการที่ใบไม้ดอกไม้เหี่ยวหรือเฉาเมื่อถูกแดดหรือความร้อน. |
สลบไสล | (-สะไหฺล) ก. อาการที่แน่นิ่งไม่ไหวติง, อาการที่หลับใหลจนไม่รู้สึกตัว, เช่น อดนอนมาหลายวัน วันนี้เลยนอนสลบไสล. |
สลบเหมือด | ก. สลบไสล. |
เสลบรรพต | น. ภูเขาหิน. |
ขลบ | (ขฺลบ) ก. สลบ. |
ไข้ความร้อน, ไข้แดด ๑ | น. ไข้ที่ขึ้นเร็วและสูงเพราะถูกความร้อนจัด อาจมีอาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ชัก และต่อไปอาจสลบโดยไม่มีเหตุอื่นร่วม. |
ไข้แดด ๒ | น. ไข้ที่ขึ้นเร็วและสูงเพราะถูกแดดจัด อาจมีอาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ชัก และต่อไปอาจสลบโดยไม่มีเหตุอื่นร่วม. |
คลอโรฟอร์ม | (คฺลอ-) น. ของเหลวไม่มีสี ระเหยง่าย มีกลิ่นหอมหวาน มีสูตร CHCl3 ใช้เป็นยาสลบและตัวทำละลาย. |
พิสัญญี | ว. วิสัญญี, หมดความรู้สึก, สิ้นสติ, สลบ. |
ฟื้น | ก. กลับคืนมาใหม่ เช่น ฟื้นความทรงจำ ฟื้นสติ, คืนความรู้สึก เช่น ฟื้นจากสลบ, พลิกกลับขึ้นมา เช่น ฟื้นดิน |
มุจฉา | (มุด-) น. การสลบ. |
วิสัญญี | ว. หมดความรู้สึก, สิ้นสติ, สลบ, เช่น นางก็ถึงวิสัญญีสลบลงตรงหน้าฉานปานประหนึ่งว่าพุ่มฉัตรทองอันต้องสายอัสนีฟาด (ม. ร่ายยาว มัทรี). |
วิสัญญีแพทย์ | น. แพทย์ผู้เชี่ยวชาญการให้ยาชาและยาสลบ. |
วิสัญญีวิทยา | น. วิชาที่ว่าด้วยการให้ยาชาและยาสลบ. |
สิ้นฤทธิ์ | ก. หมดฤทธิ์ เช่น เสือโคร่งพอถูกยิงด้วยลูกดอกยาสลบก็สิ้นฤทธิ์, หมดพยศ เช่น เด็กทำฤทธิ์ไม่ยอมกินข้าว พอหิวก็สิ้นฤทธิ์ จึงยอมกินแต่โดยดี. |
สิ้นสติ | ก. สลบ, หมดความรู้สึก, เช่น เขาตกใจแทบสิ้นสติ เขาถูกต่อยจนสิ้นสติ. |
หมดสติ | ก. สิ้นสติ, ไม่มีความรู้สึก, สลบ. |
เหมือด ๑ | (เหฺมือด) ว. ใช้ประกอบกับคำ สลบ เป็น สลบเหมือด หมายความว่า สลบไสล, แน่นิ่งไม่ติงกาย. |
อสัญญี | ว. ไม่มีสัญญา, หมดความรู้สึก, สลบ. |
อีเทอร์ | น. สารประกอบอินทรีย์ประเภทหนึ่ง มีสูตรทั่วไปเป็น R–O–R โดยทั่วไปมักหมายถึง ไดเอทิลอีเทอร์ ซึ่งมีสูตร C2H5–O–C2H5 ลักษณะเป็นของเหลว ใส ไม่มีสี มีจุดเดือด ๓๔.๖ ํซ. ไวไฟมาก ใช้ประโยชน์เป็นยาดมสลบ เป็นตัวทำละลาย และใช้นำไปเตรียมสารเคมีอื่น. |
โอด | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ ใช้บรรเลงประกอบกิริยาร้องไห้ สลบ หรือตาย. |
prenarcosis | ระยะนำสลบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
prenarcotic | -ก่อนสลบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
preanaesthetic; preanesthetic | -ก่อนให้ยาสลบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
preanesthetic; preanaesthetic | -ก่อนให้ยาสลบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phlebonarcosis | การบริหารยาสลบทางหลอดเลือดดำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
shock, anaesthesia; shock, anesthesia | ช็อกเหตุยาสลบเกิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
shock, anesthesia; shock, anaesthesia | ช็อกเหตุยาสลบเกิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
anaesthetic, general | ยาสลบ, ยาระงับความรู้สึกทั้งตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
anaesthesia shock; shock, anesthesia | ช็อกเหตุยาสลบเกิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
anaesthesia, general | อาการสลบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
anesthesia shock; shock, anaesthesia | ช็อกเหตุยาสลบเกิน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
general anaesthesia | อาการสลบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
general anaesthetic | ยาสลบ, ยาระงับความรู้สึกทั้งตัว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
galvanonarcosis; electronarcosis | การทำสลบด้วยไฟฟ้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
electronarcosis; galvanonarcosis | การทำสลบด้วยไฟฟ้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Animal anesthesia | การวางยาสลบสัตว์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Animal anesthesia | การวางยาสลบสัตว์ [TU Subject Heading] |
Anesthesia | การระงับความรู้สึก, ระงับความรู้สึก, การไม่รู้สึก, การไม่รู้สึกปวด, การสูญเสียความรู้สึก, การใช้ยาระงับความรู้สึก, ชา, ยาระงับความรู้สึก, ยาสลบ, ไม่มีความรู้สึก, อาการชา [การแพทย์] |
Anesthesia, General | ยาสลบ, การดมยาสลบ, ยาสลบชนิดออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย, การเจ็บปวดทั้งในเวลาหลับ, วิธีดมยา, ระงับความรู้สึกทั่วไป, การให้ยาดมสลบ, การระงับความรู้สึกทั่วไป [การแพทย์] |
Anesthesia, Spinal, High | การวางยาสลบทางไขสันหลังในระดับสูงเกินไป [การแพทย์] |
Anesthetic Agents | ยาสลบ, ยาชา [การแพทย์] |
Anesthetic Machines | เครื่องให้ยาสลบ [การแพทย์] |
Anesthetics | ยาระงับความรู้สึก, ยาสลบ, ยาชา [การแพทย์] |
Anesthetics, General | ยาสลบ [การแพทย์] |
Asphyxia | อาการหายใจไม่ออก, อัสฟีย์กซิอา, การขาดออกซิเจน, การหายใจไม่ออก, การขาดออกซิเจน, ภาวะขาดออกซิเจน, ขาดออกซิเจน, การสลบ, การขาดอ๊อกซิเจน, แอสฟิกเซีย, แอสฟิคเซีย, การขาดออกซิเจน, หายใจไม่ออก, ภาวะขาดออกซิเจน, ตัวซีดอ่อนปวกเปียกและเขียว, หายใจลำบาก [การแพทย์] |
Barbiturates | บาร์บิตุเรต;ยานอนหลับ;ยาสลบ;บาร์บิจูเรท;บาบิทูเรต;บาร์บิทูเรท;สารพวกบาร์บิทูเรทส์;บาร์บิทูเรต;บาร์บิทูเรท;บาร์บิตุเรต, ยา [การแพทย์] |
Cyclopropanes | ไซโคลโพรเพนยาสลบพวกซัยโคลโปรเปน [การแพทย์] |
Electronarcosis | การทำให้สลบด้วยไฟฟ้า, ไฟฟ้า, การทำให้สลบ [การแพทย์] |
ether | อีเทอร์, สารอินทรีย์ซึ่งมีสูตรโครงสร้างทั่วไป คือ R - O - R´ เช่น ไดเอทิลอีเธอร์(C2H5 - O - C2H5) เป็นของเหลวไม่มีสี ใช้เป็นยาสลบและตัวทำละลาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Induction Agents | ยานำสลบ [การแพทย์] |
Manipulation under Anesthesia | ดัดดึงในขณะที่ผู้ป่วยถูกวางยาสลบ [การแพทย์] |
anesthesiologist | (n) แพทย์ผู้ชำนาญการวางยาสลบหรือยาชา |
anesthesiology | (n) วิชาเกี่ยวกับการวางยาสลบหรือยาชา |
black out | (phrv) เป็นลม, See also: สลบ, ไม่รู้สึกตัว, Syn. blacken out, pass out |
blacken out | (phrv) เป็นลม, See also: สลบ, ไม่รู้สึกตัว, Syn. black out |
comatose | (adj) ที่อยู่ในสภาพไม่รู้สึกตัว, See also: ไร้การตอบสนอง, สลบ, ไม่รู้สึกตัว, Syn. insensible, unconscious, semiconscious, asleep, numb, unwitting |
play possum | (idm) แกล้งตาย, See also: แกล้งสลบ, แกล้งหลับ |
laughing gas | (n) ก๊าซชนิดหนึ่งใช้เป็นยาสลบ, Syn. nitrous oxide |
sopor | (n) การสลบไสล, See also: การไม่รู้สึกตัว |
stun | (vt) ทำให้สลบ, See also: ทำให้สิ้นสติ, ทำให้หมดความรู้สึก, Syn. anesthetize, deaden |
stunner | (n) ผู้ทำให้สลบ, See also: สิ่งที่ทำให้สลบ |
stupefy | (vt) ทำให้มึนงง, See also: ทำให้กึ่งสลบ, Syn. dull, fuddle, numb |
stupid | (adj) มึนงง, See also: งงงวย, กึ่งสลบ, Syn. dazed, groggy, semiconscious |
stupor | (n) อาการกึ่งสลบ, See also: อาการหมดสติ, Syn. coma, insensibility, unconsciousness |
swoon | (vi) เป็นลม, See also: สลบ, Syn. faint, lost consciousness |
swoon | (n) การเป็นลม, See also: การสลบ, Syn. faint, insensibility, unconsciousness |
anesthesiologist | (แอนเนสธีซิออล' โลจิสทฺ) n. แพทย์ผู้ชำนาญการวางยาสลบหรือชา, วิสัญญีแพทย์, Syn. anaesthe- siologist |
anesthesiology | (แอนเนสธีซิออล' โลจี) n. วิชาเกี่ยวกับการวางยาสลบหรือยาชา, วิสัญญีวิทยา, Syn. anaesthesiology |
anesthetic | (แอนเนสเธท' ทิค) n., adj. เกี่ยวกับหรือสามารถทำให้เกิดการชาหรือไม่รู้สึกตัว, ยาชา, ยาระงับความรู้สึก, ยาสลบ, Syn. anodyne, analgesic |
anesthetist | (อะเนส' ธีทิสทฺ) n. ผู้วางยาชาหรือยาสลบ. |
chloroform | n. ยาสลบหรือระงับความรู้สึกชนิดหนึ่ง |
comatose | (คอม'มะโทส) adj. หมดสติ, สลบ, ไม่รู้สึกตัว, โคม่า, เฉื่อยชา, ไร้พลัง, ขาดความว่องไว, Syn. unconscious |
conk out | n. (เครืองยนต์) เสีย, สลบ, เป็นลม |
insensible | (อินเซน'ซะเบิล) adj. ไม่มีความรู้สึก, ไม่รู้สึกตัว, สลบ, ตายด้าน., See also: insensibly adv., Syn. unconscious |
out | (เอาทฺ) adv., adj. ออกไป, ออก, ข้างนอก, ออกหมด, หมด, หมดสิ้น, ห่างไกลกัน, พ้น, พ้นสมัย, ขาด, ผิด, ขาด, ตก, สลบไป, หมดสติ -Phr. (all out เต็มที่, พยายามเต็มที่) -Phr. (out from under ออกจากสภาวะที่ลำบาก) n. ภายนอก, ส่วนไม่ดี prep. ไปข้างนอก, ...ไปตาม. interj. ไปให้พ้น!, ออกไป |
premedication | การให้ยาก่อนให้ยาสลบ |
sense | (เซนซฺ) n. ความรู้สึก, ไหวพริบ, ประสาททั้งห้า, ประสาทสัมผัส, อินทรีย์สัมผัส, เหตุผล, ความสามารถในการพินิจพิเคราะห์, สติสัมปชัญญะ, ความฉลาด, ความสังหรณ์, ความหมาย, นัย, แนวทาง, ทิศทาง vt. รู้สึก, ตระหนัก, เข้าใจความหมาย, เข้าใจ, ฟื้นขึ้น (จากการสลบ) , สำนึก, สังหรณ์, ตื่นตัว. - |
stun | (สทัน) vt. ทำให้สลบ, ทำให้งงงวย, ทำให้ประหลาดใจ, ทำให้หูอื้อ. n. การทำให้สลบ (งงงวย, ประหลาดใจ, หูอื้อ) , การถูกทำให้สลบ, ความงงงวย, ความรู้สึกประหลาดใจ, เหตุการณ์ที่ทำให้งงงวย |
stupefaction | (สทูพะแฟค'เชิน) n. การทำให้มึนงง, ความมึนงง, ความไม่รู้สึก, ความงงงวย, ความประหลาดใจอย่างที่สุด, ภาวะที่กึ่งสลบ. |
stupefactive | (สทูพะแฟค'ทิฟว) adj. ทำให้มึนงง, ทำให้ไม่มีความรู้สึก, ทำให้กึ่งสลบ, ทำให้ประหลาดใจเป็นที่สุด |
stupefy | (สทู'พะไฟ) vt. ทำให้มึนงง, ทำให้ไม่มีความรู้สึก, ทำให้กึ่งสลบ, ทำให้ประหลาดใจที่สุด, ทำให้ตะลึงงัน., See also: stupefyingly adv., Syn. stun |
stupor | (สทิว'เพอะ) n. อาการกึ่งสลบหรือเกือบสลบ, อาการมึนงง, อาการไม่รู้สึก., See also: stuporous adj., Syn. lethargy, insensibility, apathy |
swoon | (สวน) vi. สลบ, เป็นลม n. การสลบ, การเป็นลม, จิตที่เคลิบเคลิ้ม., Syn. swound, faint |
unconscious | (อันคอน'เชิส) adj. ไม่ได้สติ, ไม่รู้สึกตัว, สลบ, ไม่รู้, n. ส่วนของจิตที่ขาดจิตสำนึก, See also: unconsciously adv. unconsciousness n. |
anaesthetic | (n) ยาชา, ยาสลบ |
anaesthetic | (n) ยาสลบ, ยาชา |
anesthetic | (n) ยาสลบ, ยาชา |
chloral | (n) ยาชา, ยาสลบ, ยานอนหลับ |
chloroform | (n) ยาสลบ |
chloroform | (vt) วางยาสลบ, โปะยาสลบ |
coma | (n) ความไม่รู้สึกตัว, อาการสลบ, อาการหมดสติ, อาการโคม่า |
faint | (vi) วิงเวียน, เป็นลม, สลบ, สิ้นสติ, อ่อนกำลัง, หน้ามืด |
insensible | (adj) หมดความรู้สึก, สลบ, หาเหตุผลไม่ได้ |
lethargic | (adj) ซบเซา, เซื่องซึม, ง่วง, สลบไสล, เกียจคร้าน, เฉื่อยชา |
stun | (vt) ทำให้สลบ, ทำให้มึนงง, ทำให้หูอื้อ, ทำให้งง |
swoon | (n) การสลบ, การเป็นลม, การหมดสติ |
swoon | (vi) สลบ, เป็นลม, หมดสติ |
unconscious | (adj) ไม่รู้สึก, สลบ, ไม่ได้สติ, ไม่ได้ตั้งใจ |
unconsciousness | (n) การหมดสติ, การสลบ, ความไม่รู้สึกตัว |