กลองสองหน้า | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง ลักษณะคล้ายเปิงมาง แต่ขนาดใหญ่และยาวกว่า ใช้ใบเดียวตีกำกับจังหวะในวงปี่พาทย์ไม้แข็ง เสภา และกำกับการบรรเลงเพลงเดี่ยวเครื่องดนตรีของวงปี่พาทย์. |
ตีสองหน้า | ก. ทำให้ทั้ง ๒ ฝ่ายต่างเข้าใจว่าเป็นพวกตน. |
สองหน้า ๑ | ดู กลองสองหน้า. |
สองหน้า ๒ | ว. ที่ทำตัวให้ทั้ง ๒ ฝ่ายต่างเข้าใจผิดกัน โดยหวังประโยชน์เพื่อตน เช่น เขาเป็นคนสองหน้า อย่าไว้ใจเขานักนะ. |
กระบิ ๒ | น. หญ้าที่ซับซ้อนกันอยู่ในที่ลุ่มหรือในหนอง เช่น ตัดกระบิในหนองเป็นสองหน (ไกรทอง). |
กลองโมงครุ่ม | น. ชื่อกลองชนิดหนึ่ง รูปร่างลักษณะอย่างเดียวกับกลองทัด แต่ใหญ่กว่า ขึ้นหนัง ๒ หน้า ตีทั้งสองหน้าโดยใช้ไม้กำพดตี ใช้ตีในการละเล่นสมัยโบราณ. |
ชนะ ๒ | น. ชื่อกลองสองหน้า ลักษณะคล้ายกลองแขกหรือกลองมลายู ตีด้วยไม้ปลายงอ เป็นเครื่องประโคมของหลวง มีกลองชนะทอง เงิน เขียว หรือแดง ใช้ตีตามลำดับอิสริยยศและบรรดาศักดิ์. |
ช่างกระไร | คำกล่าวติเตียน ตัดพ้อ หรือผิดหวัง เช่น เมียเจ้ารูปทองสิบสองหนัก ยศศักดิ์ปึ่งชาจะหาไหน พี่น้องพร้อมพรั่งช่างกระไร แต่จะยกมือไหว้ก็ไม่มี (สังข์ทอง), คำกล่าวแสดงความตื่นเต้น เช่น น้องเอ๋ยรูปร่างช่างกระไร นางในกรุงศรีไม่มีเทียม (ขุนช้างขุนแผน). |
ตะโพน | น. ชื่อกลองสองหน้าชนิดหนึ่ง หัวสอบท้ายสอบกลางป่อง มีขารอง ตีด้วยมือ ใช้บรรเลงกำกับจังหวะหน้าทับในวงปี่พาทย์. |
ตะโล้ดโป๊ด | น. ชื่อกลองสองหน้าชนิดหนึ่ง ยาวประมาณ ๘๐ เซนติเมตร หน้ากว้างประมาณ ๒๐ เซนติเมตร ใช้ตีประกอบการฟ้อนและการเล่นพื้นเมืองทางภาคเหนือ, ใช้ตีคู่กับ กลองแอว. |
ทะแยกลองโยน | น. ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงหน้าพาทย์ ใช้ทำนองเพลงทะแย อัตรา ๒ ชั้น มาบรรเลง และตีกลองสองหน้า หน้าทับกลองโยน เลียนวิธีการตีกลองชนะในกระบวนแห่ในการเสด็จพระราชดำเนินโดยกระบวนพยุหยาตราสถลมารค ปี่ชวามักเป่าเพลงทะแยกลองโยนเข้ากับกลองชนะในกระบวนเสด็จ, ในการเทศน์มหาชาติใช้บรรเลงเป็นเพลงประจำกัณฑ์นครกัณฑ์, เรียกสั้น ๆ ว่า กลองโยน. |
บัณเฑาะว์ | (บันเดาะ) น. กลองสองหน้าขนาดเล็กชนิดหนึ่งมีหลักอยู่ตอนบน ผูกตุ้มห้อยลงมาทางหน้ากลอง ใช้ไกวให้ตุ้มแกว่งกระทบหน้ากลองทั้ง ๒ ข้าง. |
ปงปัง | น. กลองสองหน้าขนาดเล็ก หน้ากลองกว้างประมาณ ๘ นิ้ว มีด้ามถือสำหรับกวัดแกว่งให้ลูกตุ้มกระทบหน้ากลองให้เกิดเสียง. |
ปึ่งชา | ว. ทำทีเฉยแสดงอาการคล้ายกับโกรธ, วางท่าเฉยเมยอย่างไว้ยศ, เช่น เมียเจ้ารูปทองสิบสองหนัก ยศศักดิ์ปึ่งชาหาน้อยไม่ (สังข์ทอง), ปึ่ง ก็ว่า. |
แปด ๑ | ชื่อเดือนจันทรคติ เรียกว่าเดือน ๘ ตกในราวเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม, ถ้าปีใดมีอธิกมาส คือ มีเดือน ๘ สองหน เรียกว่า เดือน ๘ แรก และ ๘ หลัง. |
พิณพาทย์ | น. ชื่อเรียกวงดนตรีไทยโบราณ ประกอบด้วยเครื่องดีด คือ พิณ ผสมกับเครื่องตี ได้แก่ ระนาดและฆ้องวงชนิดต่าง ๆ เป็นหลัก และเครื่องกำกับจังหวะ เช่น ฉิ่ง ฉาบ กรับ โหม่ง ตะโพน กลองทัด กลองแขก และกลองสองหน้า ต่อมาเปลี่ยนพิณ เป็น ปี่ จึงเปลี่ยนชื่อเป็น ปี่พาทย์. |
มุติงค์ | น. กลองสองหน้า, ตะโพน. |
มุทิงค์ | น. กลองสองหน้า, ตะโพน. |
ยี่สิบ | ว. จำนวน ๑๐ สองหนรวมกัน. |
สับ ๓ | ว. ถ้วน, พอดี, เช่น ห้าสองหนเป็นสิบสับ (มูลบทบรรพกิจ). |
หนังเรียด | น. หนังที่ทำเป็นเส้นแบน ๆ เล็ก ๆ สำหรับใช้โยงเร่งเสียง โดยสอดเข้าไปกับไส้ละมานที่ถักไว้รอบ ๆ ขอบหนังทั้ง ๒ หน้าของตะโพน เปิงมาง กลองสองหน้า เป็นต้น มักร้อยถี่จนมองแทบไม่เห็นตัวหุ่นกลอง ถ้าเร่งหนังเรียดให้ตึงขึ้นเท่าใด หน้ากลองก็ยิ่งตึงขึ้นเท่านั้น. |
อธิกมาส | (-มาด) น. เดือนที่เพิ่มขึ้นในปีจันทรคติ คือ ในปีนั้นมี ๑๓ เดือน มีเดือน ๘ สองหน เรียกว่า เดือน ๘ สอง ๘. |
hypocritical | (adj) เจ้าเล่ห์, See also: หน้าไหว้หลังหลอก, ตีสองหน้า |
semiannual | (adj) ทุกครึ่งปี, See also: ปีละสองหน, ครึ่งปี, ทุกหกเดือน, Syn. twice a year, semiyearly, biannual |
tabor | (n) ีกลองตะโพน, See also: กลองสองหน้า, Syn. tabour |
tabor | (n) ตะโพน, See also: กลองสองหน้า |
tabour | (n) ีกลองตะโพน, See also: กลองสองหน้า, กลองเล็กซึ่งตีประกอบการเป่าขลุ่ย, Syn. tabor |
twelfth | (adj) ที่เป็นหนึ่งในจำนวนสิบสองหน่วย |
twice | (adv) สองครั้ง, See also: สองหน, สองวาระ |
two-faced | (adj) ซึ่งมีสองหน้า, See also: ซึ่งตีสองหน้า, ซึ่งหลอกลวง, Syn. deceitful, cavilling, treacherous |
two-faced | (adj) ที่มีสองหน้า |
two-facedly | (adv) อย่างมีสองหน้า |
two-facedness | (n) การตีสองหน้า, See also: การหลอกลวง, การโกง |
twosome | (adj) ที่เป็นสองเท่า, See also: สองหน |
ambidextrous | (แอมบิเดค' เทริส) adj. ใช้มือได้ดีทั้งสองข้าง, คล่องแคล่ว, ชำนาญมาก, ตีสองหน้า, หลอกลวง. -ambidextrousness n., Syn. facile, skilled, Ant. clumsy |
biennial | (ไบเอน'เนียล) adj. อยู่ได้สองปี, ทุกสองปี, ปีละสองหน n. พืชที่มีอายุเพียง 2 ปี |
c: | หน่วยบันทึกซีหมายถึง ชื่อหน่วยบันทึกแข็งที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ตระกูลไอบีเอ็ม หรือเครื่องเลียนแบบ (compatibles) เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ในปัจจุบัน มักจะมีหน่วยบันทึกอย่างน้อยสองหน่วย คือ หน่วยบันทึกA: และหน่วยบันทึก C: หน่วยบันทึก C: มักนิยมใช้เรียกฮาร์ดดิสก์ซึ่งจะมีความจุมากกว่าหน่วยบันทึก A: มาก จึงมักใช้ C: เป็นที่เก็บโปรแกรมต่าง ๆ ตั้งแต่โปรแกรมระบบจนถึงโปรแกรมสำเร็จ (เวลาเขียน ต้องมีเครื่องหมาย : ตามหลังตัว C เสมอ จึงจะหมายถึงหน่วยบันทึก) |
disk pack | ชุดจานชุดจานบันทึกจานบันทึกที่ใช้กับเมนเฟรมมักจะมาเป็นชุด ๆ ละ 5-10 แผ่น มีแกนยึดให้ติดกันอยู่ตรงกลาง ชนิด (ที่เป็นแผ่นเดียวก็มี เรียกว่า disk cartridge) จานนี้ใช้เป็นสื่อเก็บข้อมูล ที่มีประสิทธิภาพมาก โดยปกติ จานบันทึกแต่ละชุดจะบรรจุข้อมูลได้ทั้งสองหน้า ยกเว้นจานแรกและจานสุดท้าย |
diskette | แผ่นบันทึกหมายถึง จานบันทึกขนาดเล็ก เฉพาะที่ใช้กับไมโครคอมพิวเตอร์ มีลักษณะอ่อน จึงเรียกว่า แผ่นบันทึก บรรจุไว้ในซองกระดาษ ใช้เป็นที่เก็บข้อมูล เช่นเดียวกับจานบันทึกแม่เหล็ก ที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน มีขนาด 5.25x5.25 นิ้ว มีความจุประมาณ 360 เคไบต์ (K byte) หรือ 360, 000 ตัวอักษร และ 1.2 เมกะไบต์ หรือ หนึ่งล้านสองแสนตัวอักษร บางทีเรียกกันว่า floppy disk นอกจากนั้น มีขนาด 3.5x3.5 นิ้ว บรรจุอยู่ในซองที่แข็งกว่า มีความจุประมาณ 720 เคไบต์ และ 1.44 เมกะไบต์ หรือ หนึ่งล้านสี่แสนตัวอักษร ในปัจจุบัน อาจใช้เก็บข้อมูลได้ทั้งสองหน้า ทำให้บรรจุข้อมูลได้มาก (เดิมบรรจุข้อมูลได้หน้าเดียว) หรือบางทีอาจทำให้ข้อมูลเบียดอัดมากขึ้น เรียกว่า double density (DD) ชนิดธรรมดาเรียกว่า single density (เดี๋ยวนี้ไม่มีแล้ว) และหากเก็บข้อมูลได้หน้าเดียว เรียกว่า single sided (SS) ซึ่งเดี๋ยวนี้ไม่มีแล้ว หากเก็บข้อมูลได้ทั้งสองหน้า เรียกว่า double sided (DS) แผ่นบันทึกชนิดที่มีความจุพิเศษ คือจุได้ถึง 1.2 ล้านตัวอักษรสำหรับแผ่น 5.25 นิ้ว และจุได้ 1.44ล้านตัวอักษรสำหรับแผ่น 3.5 นิ้ว เรียกว่า high density (HD) ดู disk ประกอบ |
double | (ดับ'เบิล) { doubled, doubling, doubles } adj. คู่, สองเท่า, สองหน, ทวี, ซ้ำ, สองชั้น n. สิ่งที่เป็น2 เท่า, สองเท่า, ห้องเตียงคู่, พับสองทบ, การอ้อมกลับ, การกลับ, เล่ห์อุบาย, กลลวง, , See also: doubles n. กีฬาที่เล่นข้างละคู่ เช่นกีฬาเทนนิส, การโยนลูกโบว์ลิ่งทั้งห |
double sided double densi | จานบันทึกสองหน้าและจุสองเท่าใช้ตัวย่อว่า DS/DD หมายถึงจานบันทึกข้อมูลที่ใช้บันทึกได้ทั้งสองหน้าและมีความจุสองเท่า ดู DS/DD |
ds/dd | (ดีเอส /ดีดี) ย่อมาจาก double-sided/double density (แปลว่า บันทึกสองหน้าและจุสองเท่า) ใช้บอกคุณสมบัติในการเก็บข้อมูลของจานบันทึกว่า สามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งสองหน้าและมีความจุเป็นสองเท่า |
duplicity | (ดิวพลิส'ซิที) n. การตีสองหน้า, การหลอกลวง, ความไม่ซื่อตรง, การมีลักษณะคู่, การซ้ำกัน, See also: dealing, Syn. double |
facing pages | แสดงพร้อมกัน 2 หน้าหมายถึง การสั่งให้จอภาพแสดงสองหน้าพร้อมกัน โดย ปกติ จะแสดงหน้าที่เป็นเลขคี่ทางขวา หน้าที่เป็นเลขคู่ทาง ซ้าย เช่น จะแสดงหน้า 2 ทางซ้าย หน้า 3ทางขวาพร้อม ๆ กัน หน้า 4 ทางซ้าย หน้า 5 ทางขวาพร้อม ๆ กัน เป็นต้น (จะสั่งให้แสดงหน้า 1 ทางซ้ายและหน้า 2 ทางขวาพร้อมกัน ไม่ได้) โปรแกรมประเภทประมวลผลคำ (word processing) หรือโปรแกรมการจัดพิมพ์ (desktop publishing) จะมีคำสั่ง facing pages นี้ไว้ให้เลือก เพราะจะทำให้ดูการจัดหน้า ซ้ายและหน้าขวาพร้อม ๆ กันได้ |
janiform | adj. ตีสองหน้า, หลอกลวง. |
janus-faced | adj. ตีสองหน้า, หลอกลวง, มีลักษณะที่ตรงกันข้าม |
semi-annual | (เซมมิแอน'นวล) adj. ทุกครึ่งปี, ปีละสองหน, ครึ่งปี, อยู่ได้ครึ่งปี |
trim | (ทริม) vt. เล็ม, ขริบ, ตัดแต่ง, ทำให้เสมอกัน, ตีสองหน้า, เลียบฝั่ง, ประดับ, ดุ, ด่า, ตี, เฆี่ยน, ทำให้แพ้. vi. เดินสายกลาง, ทำให้เรือทรงตัว, ปรับใบเรือ, ปรับนโยบาย. n. การเล็ม, การขริบ, การปรับ, การทรงตัวของเรือ, อุปกรณ์, เครื่องแต่งตัว (หรูหรา) , ของกระจุกกระจิก |
twice | (ไวซฺ) adv. สองครั้ง, สองหน, สองวาระ |