สันตะปาปา | (n) pope, See also: pontiff, Example: องค์สันตะปาปาจะเสด็จเยือนประเทศไทยกลางเดือนสิงหาคมนี้, Count Unit: องค์, Thai Definition: ผู้เป็นประมุขคริสต์ศาสนา นิกายโรมันคาทอลิก |
สันตะปาปา | น. ผู้เป็นประมุขคริสต์ศาสนา นิกายโรมันคาทอลิก, โป๊ป ก็เรียก. |
คาทอลิก | น. ชื่อนิกายหนึ่งของคริสต์ศาสนา มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข เชื่อถือในตรีเอกภาพ คือถือว่า พระบิดา พระบุตร และพระจิต เป็นพระเป็นเจ้าองค์เดียวกัน พระเยซูมี ๒ สภาวะ คือ สภาวะพระเป็นเจ้า กับ สภาวะมนุษย์ ยกย่องแม่พระและนักบุญ มีนักบวชเรียกว่า บาทหลวง, เรียกเต็มว่า โรมันคาทอลิก. |
โป๊ป | น. สันตะปาปา. |
โรมันคาทอลิก | น. ชื่อนิกายหนึ่งในคริสต์ศาสนา มีสันตะปาปาเป็นประมุข, นักบวชในนิกายนี้ เรียกว่า บาทหลวง. |
อัครสมณทูต | (-สะมะนะทูด) น. ทูตที่สันตะปาปาทรงแต่งตั้งไปประจำสำนักประมุขของอีกรัฐหนึ่งในกรณีที่ไม่มีการแต่งตั้งเอกอัครสมณทูต มีฐานะระดับเดียวกับรัฐทูต. |
เอกอัครสมณทูต | (เอกอักคฺระ-) น. สมณทูตอันดับหนึ่งที่สันตะปาปาทรงแต่งตั้งไปประจำสำนักของประมุขของอีกรัฐหนึ่ง เพื่อเป็นตัวแทนทางการทูต รวมทั้งทำหน้าที่ดูแลและประสานงานกับคริสต์ศาสนิกชนนิกายโรมันคาทอลิกในส่วนที่เกี่ยวกับศาสนา มีฐานะระดับเดียวกับเอกอัครราชทูต. |
papal encyclical | สารสันตะปาปา (ใช้ในวงการศาสนา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
concordat (Fr.) | ความตกลงระหว่างสันตะปาปากับรัฐบาล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
conclave | ที่ประชุมเลือกตั้งสันตะปาปา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
concordat (Fr.) | ๑. ข้อตกลงประนอมหนี้ (ระหว่างลูกหนี้กับเจ้าหนี้) (ก. ฝรั่งเศส)๒. ความตกลงระหว่างสันตะปาปากับรัฐบาล (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
encyclical, papal | สารสันตะปาปา (ใช้ในวงการศาสนา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Holy See | ตำแหน่งสันตะปาปา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Popes | สันตะปาปา [TU Subject Heading] |
Congress of Vienna | เป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว [การทูต] |
Corps Diplomatique หรือ Diplomatic Corps | คณะทูตานุทูตที่ประจำอยู่ในนครหลวง (Capital) ของประเทศ ซึ่งจะมีหัวหน้าคณะทูตพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ทางการทูตใน คณะทูต เจ้าหน้าที่ทางการทูตในคณะทูตนั้นจะประกอบไปด้วย อัครราชทูต (Minister) อัครราชทูตที่ปรึกษา (Minister Counselor) และที่ปรึกษา (Counselor) ซึ่งอาจจะมีคนเดียวหรือหลายคน นอกจากนี้ มีเลขานุการทางการทูตอีกหลายคน คือ เลขานุการเอก โท ตรี และตามปกติยังมีผู้ช่วยทูต (Attaché) อีกหลายคนซึ่งมีฐานะทางการทูต (Diplomatic status) คือผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร (บก เรือ และอากาศ) ผู้ช่วยทูตฝ่ายพาณิชย์ (Commercial Attaché) ผู้ช่วยทูตฝ่ายการแถลงข่าว (Press Attaché) และผู้ช่วยฝ่ายอื่น ๆ ซึ่งกระทรวงทบวงกรมของรัฐบาล (นอกจากกระทรวงการต่างประเทศ) เป็นฝ่ายแต่งตั้งข้าราชการของตนไปประจำในคณะทูต รวมทั้งเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ซึ่งมีฐานะทางการทูตด้วยในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูต (Head หรือ Dean of the Diplomatic Corps) จะได้แก่ผู้แทนทางการทูตอาวุโสที่ได้ประจำการอยู่ในประเทศนั้นเป็นเวลานาน ที่สุด ยกเว้นแต่ในบางประเทศ จะถือเอกอัครราชทูตผู้แทนองค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncio) เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูตตลอดไป โดยไม่คำนึงถึงเรื่องอาวุโสแต่อย่างใด เช่น ฟิลิปปินส์ [การทูต] |
Order of Precedence | หมายถึง ลำดับอาวุโสทางการทูต โดยถือยศหรือตำแหน่งเป็นบรรทัดฐาน โดยเฉพาะในโอกาสที่ไปร่วมพิธีต่าง ๆ ตลอดจนการเลี้ยงอาหารอย่างเป็นทางการ นักการทูตทั่วโลกต่างถือลำดับอาวุโสเป็นเรื่องสำคัญที่ต้องพิถีพิถันกันไม่ น้อย เพราะในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ หากมีการจัดลำดับอาวุโสไม่ถูกต้อง เขาผู้นั้นซึ่งคำนึงถึงศักดิ์ศรีในฐานะตัวแทนของประเทศย่อมต้องรู้สึกว่า นอกจากจะไม่ได้รับความถูกต้องแล้ว ยังเป็นการดูแคลนประเทศของตนด้วยในสมัยก่อน ผู้ที่ทำหน้าที่ชี้ขาดในเรื่องลำดับอาวุโสของบรรดาประมุขของรัฐทั้งหลาย คือสมเด็จพระสันตะปาปา ต่อมาในการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาเมื่อปี ค.ศ. 1815 ที่ประชุมได้ตกลงกันให้ถือวันที่เดินทางมาถึงประเทศผู้รับ และได้แจ้งให้ทราบเป็นทางการว่าเป็นเรื่องลำดับอาวุโส ผู้ที่มาถึงก่อนย่อมมีอาวุโสกว่าผู้ทีมาทีหลัง อย่างไรก็ดี มาในทุกวันนี้มีหลายประเทศถือหลักว่า ผู้แทนทางการทูตที่ยื่นสารตราตั้งก่อนจะมีอาวุโสกว่าผู้ยื่นสารตราตั้งที หลัง และในกรณีที่เกิดความเห็นไม่ลงรอยกันระหว่างบุคคลในคณะทูตเรื่องลำดับอาวุโส ประเทศเจ้าภาพหรือประเทศผู้รับจะเป็นผู้ตัดสินชี้ขาดอนุสัญญากรุงเวียนนาว่า ด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติเกี่ยวกับลำดับอาวุโสของผู้แทนทางการ ทูตไว้ดังนี้ ?ข้อ 16 1. ให้หัวหน้าคณะผู้แทนมีลำดับอาวุโสในแต่ละชั้นของตนตามลำดับวันและเวลาที่ เข้ารับการหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้ง หรือเมื่อได้บอกกล่าวการมาถึงของตนและได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง ต่อกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงตามแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป 2. การเปลี่ยนแปลงในสารตราตั้งของหัวหน้าคณะผู้แทน ซึ่งไม่เกี่ยวพันกับการเปลี่ยนแปลงชั้นใด ๆ จะไม่กระทบกระเทือนลำดับอาวุโสของหัวหน้าคณะผู้แทน 3. ข้อนี้ไม่เป็นที่เสื่อมเสียแก่ทางปฏิบัติใด ซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับ ในเรื่องลำดับอาวุโสของผู้แทนของโฮลี่ซี ข้อ 17 ลำดับอาวุโสของสมาชิกคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายทูตของคณะผู้แทนนั้น ให้หัวหน้าคณะผู้แทนเป็นผู้บอกกล่าวแก่กระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน? [การทูต] |
พระสันตะปาปา | [Phra Santa Pāpā] (n, exp) EN: Pope ; Pontiff FR: Sa sainteté le Pape |
สันตะปาปา | [santa pāpā] (n) EN: Pope ; pontiff FR: pape [ m ] ; pontife [ m ] ; souverain pontife [ m ] |
Holy Father | (jargon) สมเด็จคุณพ่อ เป็นคำทางเลือกที่ใช้กล่าวถึงหรือใช้เรียกพระสันตะปาปา |
antipope | (n) สันตะปาปาที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อค้านกับองค์ที่ถูกเลือกขึ้นตามกฎของคาทอลิก |
encyclical | (n) หนังสือที่พระสันตะปาปาในศาสนาคริสต์นิกายโรมันแคทอลิกมีถึงเหล่าสังฆนายกซึ่งมักเกี่ยวกับหลักคำสอน |
internuncio | (n) อัครสมณทูตขององค์สันตะปาปา |
nuncio | (n) ผู้แทนพระสันตะปาปาในต่างประเทศ, Syn. diplomat |
papacy | (n) ตำแหน่งหรืออำนาจของสันตะปาปา, See also: การสืบตำแหน่งของสันตะปาปา, Syn. popedom, papalism |
papal | (adj) เกี่ยวกับองค์สันตะปาปา, Syn. pontifical, ecclesiastical |
pontiff | (n) สังฆราช, See also: บิชอป, สันตะปาปา, Syn. cardinal, prelate, pope |
pontifical | (adj) เกี่ยวกับองค์สันตะปาปา |
pope | (n) สันตะปาปา, See also: โป๊ป, สังฆราช, Syn. Pontiff, Supreme Pontiff |
Swiss Guard | (n) ผู้อารักขาพระสันตะปาปา |
tiara | (n) มงกุฎของพระสันตะปาปา |
Vatican | (n) สำนักวาติกันซึ่งเป็นที่ประทับพระสันตะปาปา, See also: รัฐบาลของสันตะปาปา, Syn. Rome, papal palace |
Vaticanism | (n) นโยบายและอำนาจของสันตะปาปา |
antipope | (แอน' ทิโพพ) n. ผู้ที่อ้างเป็นสันตะปาปา, การเลือกสันตะปาปาที่ไม่ได้ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ |
catholic church | n. นิกายคาทอลิกที่มีสันตะปาปาเป็นหัวหน้า, Roman Catholic Church |
church of england | n. ศาสนาคริสเตียนประจำชาติของอังกฤษ ไม่นับถือสันตะปาปาเป็นผู้นำศาสนา |
conclave | (คอน'เคลฟว) n. การประชุมลับ, การประชุมส่วนตัว, สถานที่ราชาคณะสงฆ์ของศาสนาโรมันคาทอลิกประชุมกันเพื่อเลือกสันตะปาปา, วิทยาลัยของราชาคณะสงฆ์ของศาสนาโรมันคาทอลิก |
concordat | (คอนคอร์'แดท) n. ข้อตกลงเป็นทางการ, สัญญา, สนธิสัญญาระหว่างสันตะปาปากับรัฐบาลที่เกี่ยวกับเรื่องของสงฆ์, See also: concordatory adj., Syn. concord |
encyclical | (เอนซิค'ลิคัล) n. จดหมายสันตะปาปาที่ส่งไปยังบิชอพทั้งหลาย. |
holiness | (โฮ'ลิเนส) n. ความศักดิ์สิทธิ์, คำเรียกสันตะปาปา, Syn. piety, sanctity |
indult | (อินดัลทฺ') n. การยินยอมจากองค์สันตะปาปาให้ได้รับการยกเว้นจากกฎของศาสนาโรมันคาธอลิค |
internuncio | (อินเทอนัน'ซิโอ) n. ทูตผู้แทนขององค์สันตะปาปา |
legate | (เลก'กิท) n. ทูต, ทูตขององค์สันตะปาปา, ตำแหน่งหรือที่ทำการของทูต, ตำแหน่งหรือที่ทำการของทูตขององค์สันตะปาปา, See also: legationary adj. |
papa | (พา'พะ, พะพา') n. คุณพ่อ, พ่อ, ป๋า, สันตะปาปา |
papacy | (เพ'พะซี่) n. ตำแหน่งของสันตะปาปา |
papal | (เพ'พัล) adj. เกี่ยวกับองค์สันตะปาปา |
papal states | เขตปกครองขององคสันตะปาปา |
pontiff | (พอน'ทิฟ) n. สังฆราช, บิชอพ, สันตะปาปา, Syn. bishop, Pope |
pontifical | (พอนทิฟ'ฟิเคิล) adj. เกี่ยวกับองค์สันตะปาปา, หยิ่งยโส, คุยโว, ทะนง, พลการ, See also: pontificals เสื้อและสัญลักษณ์อื่นของpontiff |
pope | (โพพ) n. สันตะปาปา, สังฆราช |
swiss guard | n. สมาชิกกองคุ้มกันองค์ สันตะปาปาของสวิตเซอร์แลนด์ |
tiara | (เทีย'รา) n. ผ้าโพกศรีษะของชาวเปอร์เซียสมัยโบราณ, มงกุฎขององค์สันตะปาปา, ตำแหน่งหน้าที่และอำนาจขององค์สันตะปาปา |
vatican | (แวท'ทิเคิน) n. สำนักวาติกันอันเป็นที่ประดับขององค์สันตะปาปาในกรุงโรม, อำนาจและการปกครองขององค์สันตะปาปา, See also: Vaticanism n. |
vatican city | n. กรุงวาติกันในกรุงโรมเป็นที่ประทับขององค์สันตะปาปารวมทั้งโบสถ์St. Peterและสำนักวาติกัน |
HOLY Holy See | (n) บัญญัติของสันตะปาปา, ทำเนียบของสันตะปาปา |
nuncio | (n) ทูตของสันตะปาปา |
papacy | (n) ตำแหน่งสันตะปาปา |
pontiff | (n) สังฆราช, สันตะปาปา |
pontifical | (adj) เกี่ยวกับสังฆราช, เกี่ยวกับสันตะปาปา |
pope | (n) สันตะปาปา, สังฆราช |
popish | (adj) เกี่ยวกับสันตะปาปา |
tiara | (n) กะบังหน้า, รัดเกล้า, ตำแหน่งสันตะปาปา |
ローマ法王 | [ろーまほうおう, ro-mahouou] (n) สมเด็จพระสันตะปาปา |